Ppt ฟ ส กส ม.4 เทอม2 เร องสมด ล

  • 1. 4 ิ 1 รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนรูที่ 1 รหัสวิชา ว 32204 ใบงาน 1.1 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ธรรมชาติของเสียง และคุณสมบัติของเสียง ใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นวา เสียงที่นักเรียนไดยิน แลวประทับใจ รูสึกชอบเกิดขึ้นไดอยางไร รายวิชา ฟสิกส 4 แผนจัดการเรียนรูที่ 1 ใบความรู 1 รหัสวิชา ว 32204 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1 หัวขอเรื่อง ธรรมชาติของเสียง และคุณสมบัติของเสียง ธรรมชาติของเสียง เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่มีการสั่นแลวทําใหเกิดเสียงเรียกวา แหลงกําเนิดเสียง สําหรับมนุษย เสียงพูดเกิดจากการสั่นสะเทือนของสายเสียงซึ่งอยูภายในกลองเสียงบริเวณดานหนาของลําคอเรียกวาลูกกระเดือก มนุษยสามารถควบคุมเสียงที่พูดพูดขึ้นโดยใชฟน ลิ้น ริมฝปาก ทําใหเกิดเสียงที่แตกตางกัน แตเสียงจะมีประโยชน อยางสมบูรณตองมีการไดยิน เมื่อเสียงเกิดจากสั่นสะเทือนของวัตถุ แสดงวาวัตถุไดรับพลังงาน พลังงานนี้ก็จะถูก ถายโอนผานอากาศมายังหูผูฟง ถาไมมีอากาศเปนตัวกลางในการถายโอนพลังงาน เราจะ ไมไดยินเสียงเลย เราสามารถทดสอบความจริงนี้ได โดยการทดลองใชกระดิ่งไฟฟาที่สงเสียงตลอดเวลา ใสไวในครอบแกว แลวคอยๆสูบอากาศออก เราจะไดยินเสียงกระดิ่งไฟฟาคอยลงๆ จนในที่สุด จะไมไดยินเสียงกระดิ่งไฟฟาในครอบแกวอีกเลย เมื่อภายในครอบแกวเปนสุญญากาศ จากสถานะการณขางตน สรุปไดวา การเคลื่อนที่ของเสียง ตองอาศัยตัวกลางในการ ถายโอนพลังงานการสั่นไปยังที่ตางๆ สูบอากาศออก จะเห็นไดวา เสียงที่เราไดยินนี้ เปนพลังงานรูปหนึ่งและถือวาเปนคลื่นประเภทหนึ่งดวย และพิจารณาจากอากาศที่เปนตัวกลางนั้นการถายโอนพลังงานเสียง อนุภาคของตัวกลางคืออากาศจะมีการสั่นใน ลักษณะอัดขยายสลับกันไป จึงถือไดวา เสียงเปนคลื่นตามยาว อัตราเร็วของเสียง ชวงเวลาที่เสียงเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดเสียงผานอากาศมาถึงหูผูฟง ขึ้นกับระยะทาง ระหวางตนกําเนิดเสียง กับผูรับฟง ถาระยะหางมาก เสียงตองใชชวงเวลานานกวาจะไดยินเสียง แตถาระยะใกล เสียงใชชวงเวลาสั้นกวา เมื่อนักฟสิกสศึกษาอัตราเร็วของเสียงในอากาศ เขาไดพบวาอัตราเร็วของเสียงในอากาศมีความสัมพันธกับ อุณหภูมิของอากาศโดยประมาณ ตามสมการ vt = 331 + 0.6 t เมื่อ vt เปนอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ t ใดๆ และมีหนวยเปนเมตรตอวินาที t เปนอุณหภูมิของอากาศ มีหนวยเปนองศาเซลเซียส ตวอยาง ั  จงหาอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และ 30 องศาเซลเซียส วิธีทํา จากสมการ vt = 331 + 0.6 t v25 = 331 + ( 0.6 x 25 ) m/s = 346 m/s v30 = 331 + ( 0.6 x 30 ) m/s = 349 m/s ตอบ อัตราเร็วของเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ 25 และ 30 องศาเซลเซียส เทากับ 346 และ 349 เมตรตอวินาที ตามลําดับ
  • 2. 4 ิ 2 การเคลื่อนที่ของเสียงในตัวกลางหนึ่งๆ จะคงตัว เมื่ออุณหภูมิของตัวกลางคงตัว ดังในตาราง ตาราง อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตางๆที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ตัวกลาง อัตราเร็ว(เมตร/วนาที) ิ แกสคารบอนไดออกไซด ( 0°C ) 258 อากาศ 346 แกสไฮโดรเจน 1,339 น้ํา 1,498 น้ําทะเล 1,531 แกว 4,540 อะลูมิเนียม 5,000 เหล็ก 5,200 คุณสมบัติของเสียง เสียงเปนคลื่นชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่โดยอาศัยตัวกลาง ดังนั้นจึงมีคุณสมบัติเหมือนคลื่น คือ 1. การสะทอน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน การสะทอนของเสียง เนื่องจากเสียงเปนพลังงานชนิดหนึ่ง เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง จะทําใหเกิดการสะทอนของ เสียง และปจจัยที่มีผลตอการสะทอนของเสียง ไดแก 1. ลักษณะพื้นผิวที่คลื่นเสียงไปกระทบ ( ผิวเรียบและแข็ง สะทอนไดดี สวนผิวออนนุมเนื้อพรุน จะดูดซับ เสียงไดดี 2. มุมตกกระทบกับระนาบสะทอนเสียง ( เสียงจะสะทอนไดดี เมื่อ มุมของเสียงสะทอนเทากับมุมของเสียง ตกกระทบ ) มนุษยและสัตว ไดอาศัยประโยชนจากการสะทอนของเสียง หลายอยางเชน การเดินเรือ การประมง หา ความลึกของทองทะเล หาระดับของเรือดําน้ํา หาฝูงปลา โดยการสง คลื่นอัลตราโซนิกออกไป แลวรอรับฟงคลื่นที่สะทอน จากเครื่องรับ การ สงคลื่นชนิดนี้เรียกวา โซนาร ( Sonar – Sound Navigation and Ranging ) คางคาว เปนสัตวสายตาไมดี ใชหลักการสะทอนเสียง โดย โซนาร์ สงและรับความถี่สูง อุตสาหกรรมใชในการตรวจสอบรอยราว ทาง การแพทยใชตรวจสอบเนื้อเยื่อของอวัยวะตางๆ ใชในการสลายนิ่วในไต ใชทําลายเชื้อโรคบางชนิดในอาหาร และน้ํา เราทราบวาเสียงเปนคลื่นชนิดหนึ่ง ดังนั้น ถาเราทราบความถี่ f ของเสียง และความยาวคลื่นเสียง λ ที่ผานตัวกลาง เราจะสามารถหาอัตราเร็วของคลื่นเสียงในตัวกลางนั้นไดจากความสัมพันธตอไปนี้ v = fλ ตวอยาง กําหนดใหเสียงมีอัตราเร็ว 1500 เมตรตอวินาทีในน้ําทะเล เรือลําหนึ่งปลอยคลื่นโซนาร ขนาดความถี่ 4.5 ั  กิโลเฮริตซ ลงไปจากผิวน้ํา จะตรวจสอบพบปลาขนาดเล็กที่สุดไดเทาไร วิธีทํา จาก v = fλ v 1500 m/s λ = = = 0.33 เมตร f 4500 Hz ตอบ ปลาตัวเล็กที่สุดที่จะตรวจสอบไดตองยาว 0.33 เมตร
  • 3. 4 ิ 3 การหักเหของเสียง คลื่นเสียงเมื่อเดินทางผานตัวกลางที่มีความหนาแนนแตกตาง เส้นตั้งฉาก กันจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางความเร็วและความยาวคลื่น แต อากาศ รอยต่อระหว่าง ความถี่คลื่นยังคงที่กลาวคือเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความ ตวกลาง ั หนาแนนนอย (อากาศ) เขาสูตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวา (น้ํา ) นํ้า เสียงจะหักเหออกจากเสนตั้งฉาก หลักการนี้ใชอธิบาย การเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง เพราะเมื่อเกิดฟาแลบ แมจะมีเสียงเกิดขึ้นแตเราไมไดยินเสียง ทั้งนี้เพราะอากาศใกลพื้นดินมี อุณหภูมิสูงกวาอากาศเบื้องบน ทําใหการเคลื่อนที่ของเสียงเคลื่อนที่ไดในอัตราที่ตางกัน คือ เคลื่อนที่ในอากาศที่มี อุณหภูมิสูงไดเร็วกวาในอากาศที่มีอุณหภูมิต่ํา ดังนั้น เสียงจึงเคลื่อนที่เบนขึ้นทีละนอยๆ จนขามหัวเราไป จึงทําใหไมได ยินเสียงฟารอง ในการคํานวณเกี่ยวกับการหักเหของเสียง ยังคงใชกฎการหักเหของสเนลล คือ sin θ1 v1 λ1 T1 = = = sin θ2 v2 λ2 T2 ตวอยาง ั  เสียงเคลื่อนที่ในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียส โดยมีมุมตกกระทบ 30 องศา ถาอากาศในบริเวณทั้งสองมีความดันเทากัน จงหามุมหักเหของเสียง วิธีทํา จากสมการ vt = 331 + 0.6 t v5 = 331 + ( 0.6 x 5 ) = 334 m/s v25 = 331 + ( 0.6 x 25 ) = 346 m/s sin θ1 v1 จาก = sin θ2 v2 sin 30° 334 = sin θ2 346 1 346 sin θ2 = x = 0.517 2 334 sin 31° = 0.515 θ2 ≈ 31° ∴ มุมหักเหของเสียงมีคาประมาณ 31 องศา 3 ตวอยาง ั  ถาความยาวของคลื่นเสียงบริเวณอากาศรอนเปน เทาของความยาวคลื่นเสียงบริเวณอากาศเย็น 2 จงหามุมหักเห เมื่อเสียงเดินทางจากอากาศรอนไปยังอากาศเย็น โดยมีมุมตกกระทบ 27 องศา sin θ1 λ1 วิธีทํา จาก = sin θ2 λ2 3 λ sin 27° 2 = sin θ2 λ 2λ sin θ2 = 0.454 x = 0.302 3λ sin 17.5° = 0.301 θ2 ≈ 17.5° ∴ มุมหักเหของเสียงมีคาประมาณ 17.5 องศา
  • 4. 4 ิ 4 ตวอยาง ั  คลื่นเสียงในอากาศหนึ่ง วิ่งจากบริเวณที่มีอุณหภูมิ T1 เขาสูบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํากวา คือ T2 โดยมี มุมตกกระทบเทากับ θ1 และมุมหักเหเทากับ θ2 จงหาอัตราสวนระหวาง sin θ1 กบ sin θ2 กําหนดให T1 = ั 2T2 เคลวิน sin θ1 T1 วิธีทํา จาก = sin θ2 T2 sin θ1 2T2 = sin θ2 T2 sin θ1 = 2 sin θ2 sin θ1 = 1.4141 sin θ2 ∴ อัตราสวนระหวาง sin θ1 กบ sin θ2 มีคาเทากับ 1.4141 ั การแทรกสอดของเสียง การแทรกสอดของเสียงเปนปรากฏการณที่เกิดจากคลื่นเสียงที่มาจากแหลงกําเนิดเสียงตั้งแต 2 แหลงขึ้นไป รวมกัน จึงเกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันและหักลางกัน ทําใหเกิดเสียงดัง และ เสียงคอย เสี ยงความถี่ f1 เสี ยงความถี่ f2 ั เสี ยงความถี่ f1 และ f2 รวมกน เสริม เสริม เสริม เสริม หักล้าง หักล้าง หักล้าง หักล้าง เกิดการแทรกกน ( เสริม , หักล้าง ) ั บีตส ในกรณีที่เปนเสียงเสริมกัน ตําแหนงที่มีการเสริมกันจะมีเสียงดัง สวนตําแหนงที่แทรกสอดแลวหักลางกันจะมี เสียงคอย แตการเกิดปรากฏการณแทรกสอดเกิดจากแหลงกําเนิดเสียงที่มีความถี่ตางกัน ทําใหเกิดเสียงดัง เสียงคอย เปนจังหวะๆ เรียกวา บีตส ( Beats ) ประโยชนจากการแทรกสอดและบีตสนี้ นํามาใชเทียบเครื่องดนตรี โดยมีเครื่อง เทียบเสียงมาตรฐาน ใชหลักวาเมื่อความถี่เสียงเทากันจะไมเกิดบีตส ถายังมีบีตสอยูแสดงวา ความถี่เสียงยังไมเทากัน ตองปรับจนเสียงทั้งสองมีความถี่เทากันจึงไมทําใหเกิดบีสต ถาเราตั้งลําโพงลักษณะเหมือนๆกัน 2 ตัว ใหหางกันระยะหนึ่ง ดังรูป แลวเดินในแนวขนานกับลําโพงทั้งสอง ตามแนว AB A B การแทรกสอดของเสียง S1 S2
  • 5. 4 ิ 5 จากการเดินในแนว AB ดังกลาว เราจะรูสึกไดวา เสียงที่เราไดรับจะมีลักษณะดัง -คอย สลับกันไป ในการคํานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดของคลื่นเสียง ในกรณีที่เปนแหลงกําเนิด อาพันธ เฟส ตรงกัน จะไดดังนี้ ในกรณีที่ S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธ ทุกจุดบนเสนปฏิบัพ เสียงจะแทรกสอดแบบเสริม เสียงจะดัง และผลตางระหวาระยะทางจากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองไปยังจุดใดๆบนเสนปฏิบัพจะเทากับจํานวนเต็ม ของความยาวคลื่นเสมอ ดังรูป S2P - S1P = nλ A1 N1 A0 N1 A 1 เมื่อ n = 0 , 1 , 2 , 3 , … P n คือ แนวเสนปฏิบัพ 0 คือ แนวเสนกลาง S1 S2 ในกรณีที่ S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธ ทุกจุดบนเสนบัพ เสียงจะแทรกสอดแบบหักลาง เสียงจะคอย และผลตางระหวาระยะทางจากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองไปยังจุดใดๆบนเสนบัพจะเทากับจํานวนเต็มคลื่นลบกับ ครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นเสมอ ดังรูป A1 N1 P A0 N1 A1 1 S2P - S 1P = ( n - ) λ 2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … n คือ แนวเสนบัพ S1 S2 ตวอยาง ั  S1 และ S2 เปนลําโพงเสียงสองตัววางหางกัน 4 เมตร ในที่โลง P เปนตําแหนงที่ผูฟงหางจาก S1 7 เมตร และหางจาก S2 5.5 เมตร ถาผูฟงอยูตรงตําแหนงที่เสียงหักลางกันครั้งแรก เขาจะไดยินเสียงที่มีความถี่เทาใด เมื่ออัตราเร็วของเสียงในอากาศขณะนั้นเปน 330 เมตรตอวินาที 1 P วิธีทํา จาก S2P - S1P = (n- )λ 2 1 7m 5.5 m 7 m - 5.5 m = (n- )λ 2 λ = 3 m S2 4 m S1 จาก v = fλ v 330 m/s f = = = 110 Hz λ 3 m ตอบ เขาจะไดยินเสียงที่มีความถี่เทากับ 110 เฮิรตซ ในกรณีที่ตําแหนงผูฟง อยูหางจากแหลงกําเนิด S1 และ S2 โดยไมทราบระยะหางจากแหลงกําเนิดทั้งสอง แต ทราบมม θ จากแนวกลาง ระหวางตําแหนงทั้งสอง จะไดสมการปฏิบัพและบัพดังนี้ ุ P S1 θ S2
  • 6. 4 ิ 6 d sin θ = nλ ปฏิบัพ 1 d sin θ = (n- )λ บัพ 2 เมื่อ d คือ ระยะหางระหวางแหลงกําเนิดทั้งสอง มีหนวยเปน เมตร ( m ) θ คือ มุมที่จากแนวกลาง ทํากับ ตําแหนงที่สังเกต ตวอยาง ั  S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดเสียงอาพันธ ใหเสียงที่มีความถี่ 140 เฮิรตซ และอยูหางกัน 7 เมตร จง หาวาบนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพเกิดขึ้นกี่ตําแหนง ถากําหนดใหอัตราเร็วเสียงใน อากาศขณะนั้นเปน 350 เมตรตอวินาที 1 วิธีทํา จาก d sin θ = (n- )λ 2 1 v ( 7 ) sin 90° = (n- ) 2 f 1 350 ( 7 )( 1 ) = (n- )( ) 2 140 140 1 n = (7)( )+ 350 2 = 3.3 = 3 ∴ บนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพเกิดขึ้น = 3 + 3 ตําแหนง ตอบ บนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพเกิดขึ้น = 6 ตําแหนง การเลี้ยวเบนของเสียง นอกจากการหักเหของเสียงที่เกิดขึ้น เมื่อผานตัวกลางตางชนิดกันแลวยังมีการเลี้ยวเบนได การเลี้ยวเบนของ เสียงมักจะเกิดพรอมกับการสะทอนของเสียง เสียงที่เลี้ยวเบน จะไดยินคอยกวาเดิม เพราะพลังงานของเสียงลดลง ในชีวิตประจําวันที่เราพบไดอยางเสมออยางหนึ่งคือการไดยินเสียงของผูอื่นไดโดยไมเห็นตัวผูพูด เชน ผูพูดอยู คนละดานของมุมตึก ปรากฏการณดังนี้ แสดงวาเสียงสามารถเลี้ยวเบนได การอธิบายปรากฏการณนี้สามารถจะ กระทําไดโดยใชหลักการของฮอยเกนทอธิบายวา “ทุกๆจุดบนหนาคลื่นสามารถทําหนาที่เปนตนกําเนิดคลื่นอันใหมได ” ดังนั้นอนุภาคของอากาศที่ทําหนาที่สงผานคลื่นเสียงตรงมุมตึกยอมเกิดการสั่น ทําหนาที่เหมือนตนกําเนิด เสียงใหม สงคลื่นเสียไปยังผูฟงได เราสามารถทดลอง การเลี้ยวเบนของเสียงไดโดย ใหผูฟง ลาโพง ํ ฟงเสียงลําโพงจากนอกหองดังรูปที่ตําแหนง ก. ข. ค. ง. ผูฟงยอมไดยินเสียงลําโพง ที่อยูในหองไดทุกคน แสดงวาเสียง สามารถเลี้ยวเบนไดตามแบบของคลื่น ผนงหอง ั ้ ประตู ผนงหอง ั ้ ก. ข. ค. ง. การเลี้ยวเบนของเสียงจะเกิดไดดีเมื่อชองกวางที่ใหเสียงผานมีขนาดเทากับความยาวคลื่นของเสียงนั้น เนื่องจาก ชองกวางนั้นจะทําหนาที่เหมือนเปนแหลงกําเนิดเสียงขนาดนั้นไดพอดีนั่นเอง
  • 7. 4 ิ 7 ตวอยาง ั  ชองหนาตางกวาง 0.60 เมตร สูง 1.20 เมตร ในวันที่อากาศมีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ความถี่ ของเสียงที่มากที่สุด ที่จะทําใหเกิดการเลี้ยวเบนในแนวราบมากที่สุดเปนกี่เฮริตซ วิธีทํา การเลี้ยวเบนของเสียงจะเกิดไดดีที่สุด เมื่อ ชวงกวางเทากับความยาวคลื่นของเสียง ดังนั้น λ = 0.60 เมตร จาก v = 331 + 0.6 t v = 331 + (0.6 )( 20 ) = 342 เมตรตอวินาที v 342 m/s f = = = 570 เฮิรตซ λ 0.60 m รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนรูที่ 1 รหัสวิชา ว 32204 ใบงาน 1.2 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที เรื่อง ธรรมชาติของเสียง และคุณสมบัติของเสียง 1. ใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญที่ไดจากการสืบคน ขอมูล และบันทึกลงในสมุ ด 1. ธรรมชาติของเสียง 2. อัตราเร็วของเสียง 3. คุณสมบัติของเสียง 2. ใหนักเรียนเติมคํา หรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง 1. เสียงเกิดขึ้นจาก……………………………………………………………………………………………………………..…………………… 2. เสียงเปนคลื่นชนิดใด…………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เสียงเดินทางจากแหลงกําเนิดไปยังผูฟงตองอาศัย ………………………………………………………………..………………… 4. อากาศ น้ํา เหล็ก เสียงสามารถเดินทางผานสิ่งใดไดเร็วที่สุด………………………………………………..………………. 5. จากสมการ v = f λ , λ เปนสัญลักษณ ใชแทน……………………………………………………………………….……… 6. จากสมการ v = f λ , f ในเรื่องเสียง เปนสัญลักษณใชแทน…………………………………………………..………… 7. จากสมการ v = 331 + 0.6t เปนสมการหนึ่ง เมื่อตองการหาคา v แสดงวาตองการหาคาอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. จากขอ 7. t เปนสัญลักษณ ใชแทน…………………………………………………………………………………………………….  9. สิ่งที่ทําให อัตราเร็วของเสียง เปลี่ยนไปมีอะไรบาง ( 1 อยาง )……………………………………….………………………… 10. ใหนักเรียนบอกคุณสมบัติของเสียง มา 1 อยาง ……………………………………….……………………………………………. รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนรูที่ 1 รหัสวิชา ว 32204 ใบงาน 1.3 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ธรรมชาติของเสียง และคุณสมบัติของเสียง 1. ในวันที่ลมสงบอุณหภูมิสม่ําเสมอประมาณ 15 องศาเซลเซียส ชายคนหนึ่งตะโกนเขาใสหนาผาสูง แลวปรากฏวา ไดยินเสียงสะทอนกับในเวลา 3 วินาที หนาผานั้นอยูหางจากเขาเปนระยะเทาใด วิธีทํา จาก v = 331 + ……... v = 331 + 9 v = ………. เมตรตอวินาที จาก S = vt S = (………….)( 3 ) S = ………….. เมตร S .......... .. ระยะหางระหวางชายคนนี้กับหนาผา = = = ……….. เมตร 2 2
  • 8. ………. เมตรตอวนาที  ิ 8 2. กําหนดใหเสียงมีอัตราเร็ว 1400 เมตรตอวินาทีในน้ําทะเล เรือลําหนึ่งปลอยคลื่นโซนาร ขนาดความถี่ 4.2 กิโลเฮิรตซ ลงไปจากผิวน้ํา ปรากฏวารับคลื่นสะทอนผิวขนาดใหญไดในเวลา 1.5 วินาที น้ําทะเลตรงนั้นลึกเทาไร และ จะตรวจสอบพบปลาขนาดเล็กที่สุดไดเทาไร วิธีทํา จาก S = vt S = ( 1400 m/s )( …… ) S = ………….. เมตร S .......... .. ความลึกประมาณ = = = ……….. เมตร 2 2 จาก v = fλ v 1400 m/s λ = = ………….. เมตร f ........ ปลาตัวเล็กที่สุดที่จะตรวจสอบไดตองยาว …………… เมตร 3. เสียงเคลื่อนที่ในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส โดย มมมตกกระทบ 30 องศา ถาอากาศในบริเวณทั้งสองมีความดันเทากัน จงหามุมหักเหของเสียง ีุ วิธีทํา จากสมการ vt = 331 + 0.6 t v15 = 331 + ( 0.6 x …. ) = ……… m/s v35 = 331 + ( 0.6 x …. ) = ……… m/s sin θ1 v1 จาก = sin θ2 v2 sin 30° ........ m/s = sin θ2 .......... m/s 1 ........ m/s sin θ2 = x = …….. 2 .......... m/s θ2 = sin – 1 ( …….. ) ∴ มุมหักเหของเสียงมีคาเทากับ ………….. องศา 5 4. ถาความยาวของคลื่นเสียงบริเวณอากาศรอนเปน เทาของความยาวคลื่นเสียงบริเวณอากาศเย็น จงหามุม หักเห 3 เมื่อเสียงเดินทางจากอากาศรอนไปยังอากาศเย็น โดยมีมุมตกกระทบ 35 องศา sin θ1 λ1 วิธีทํา จาก = sin θ2 λ2 ....... λ sin 35° ........ = sin θ2 λ ........ λ sin θ2 = 0.574 x = ……… ......... λ –1 θ2 = sin ( …….. ) ∴ มุมหักเหของเสียงมีคาเทากับ ………….. องศา
  • 9. ………. เมตรตอวนาที  ิ 9 5. คลื่นเสียงในอากาศหนึ่ง วิ่งจากบริเวณที่มีอุณหภูมิ T1 เขาสูบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํากวา คือ T2 โดยมมมตกกระทบ ีุ เทากับ θ1 และมุมหักเหเทากับ θ2 จงหาอัตราสวนระหวาง sin θ1 กบ sin θ2 กําหนดให T1 = 3T2 เคลวิน ั sin θ1 T1 วิธีทํา จาก = sin θ2 T2 sin θ1 ........T2 = sin θ2 T2 sin θ1 = ....... sin θ2 sin θ1 = ………. sin θ2 ∴ อัตราสวนระหวาง sin θ1 กบ sin θ2 มีคาเทากับ ………… ั 6. S1 และ S2 เปนลําโพงเสียงสองตัววางหางกัน 4 เมตร ในที่โลง P เปนตําแหนงที่ผูฟงหางจาก S1 8 เมตร และหาง จาก S2 6 เมตร ถาผูฟงอยูตรงตําแหนงที่เสียงหักลางกันครั้งแรก เขาจะไดยินเสียงที่มีความถี่เทาใด เมื่ออัตราเร็ว ของเสียงในอากาศขณะนั้นเปน 340 เมตรตอวินาที 1 P วิธีทํา จาก S2P - S1P = (n- )λ 2 1 8m 6m (….. m) - ( …. m) = (n- )λ 2 λ = ……. m S2 4 m S1 จาก v = fλ v .......... m/s f = = = ……… Hz λ ......... m ตอบ เขาจะไดยินเสียงที่มีความถี่เทากับ …….. เฮิรตซ 7. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดเสียงอาพันธ ใหเสียงที่มีความถี่ 150 เฮิรตซ และอยูหางกัน 9 เมตร จงหาวาบน เสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพเกิดขึ้นกี่ตําแหนง ถากําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศ ขณะนั้นเปน 360 เมตรตอวินาที 1 วิธีทํา จาก d sin θ = (n- )λ 2 1 v ( ….. m ) sin 90° = (n- ) 2 f 1 .......... m/s ( ….. m )( 1 ) = (n- )( ) 2 .......... .. Hz ....... Hz 1 n = ( ….. m ) ( )+ ......... m/s 2 n = ……… n = …… ( คิดเฉพาะจํานวนเต็ม ) ∴ บนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพเกิดขึ้น = …. + …… ตําแหนง ตอบ บนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพเกิดขึ้น = …….. ตําแหนง
  • 10. 10 รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 1 รหัสวิชา ว 32204 แบบฝกทักษะ 1 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 คะแนน 5 คะแนน เวลา 20 นาที เรื่อง ธรรมชาติของเสียง และคุณสมบัติของเสียง ตอนที่ 1 จงเลือกกากบาท ( X ) ตัวเลือก ก, ข, ค และ ง ที่เห็นวาถูกตองที่สุด 1. เมื่อคลื่นเสียงเดินทางผานอากาศ จะทําใหความดันอากาศ ณ บริเวณนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง คือ ก. เมื่อเกิดคลื่นอัด ความดันอากาศจะสูงกวาปกติ ข. เมื่อเกิดคลื่นอัด ความดันอากาศจะต่ํากวาปกติ ค. เมื่อเกิดคลื่นขยาย ความดันอากาศจะสูงกวาปกติ ง. เมื่อเกิดคลื่นขยาย ความดันอากาศจะปกติ 2. ทุกครั้งที่เกิดเสียงจากวัตถุ วัตถุนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร ก. วัตถุเกิดการสั่นสะเทือน ข. ตัวกลางเกิดการสั่นสะเทือน ค. โมเลกุลของอากาศเกิดการสั่นสะเทือน ง. วัตถุไมมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ 3. “ ทุกครั้งที่วัตถุเกิดการสั่นสะเทือน เราจะตองไดยินเสียงจากวัตถุนั้น ” คํากลาวนี้ถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด ก. ถูกตอง เพราะเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ข. ไมถูกตอง เพราะเสียงตองเดินผานตัวกลาง ค. ไมแนนอน แลวแตชนิดของวัตถุที่เกิดการสั่นสะเทือน ง. ไมแนนอน ขอมูลไมเพียงพอ 4. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับคลื่นเสียง ก. เปนคลื่นตามขวาง เดินทางโดยอาศัยตัวกลาง ข. เปนคลื่นตามขวาง เดินทางโดยไมอาศัยตัวกลาง ค. เปนคลื่นตามยาว เดินทางโดยอาศัยตัวกลาง ง. เปนคลื่นตามยาว เดินทางโดยไมอาศัยตัวกลาง 5. วิธีการสื่อสารของมนุษยอวกาศบนดวงจันทร ถาไมใชอุปกรณอิเล็กโทรนิก นาจะตองใชวิธีใด ก. สัญญาณควัน ข. ตีกลอง ค. เคาะพื้น เอาหูแนบพื้น ง. ถกทกขอ ู ุ  6. ขณะนั่งอยูทามกลางธรรมชาติใตตนไม จะสังเกตไดวาขอใดทําใหเกิดเสียงได ก. สายลมที่ปะทะรางกายอยางแผวเบา ข. สายลมที่พัดพาใบไมใหหลนรวงอยางสงบ ค. สายลมที่ปะทะสายน้ําทําใหเกิดระลอกคลื่นในสระน้ํา ง. สายลมที่ปะทะกิ่งไมจนไหวเอน 7. เราไดยินเสียงฝนตกกระทบกองใบไมบนพื้นดิน เพราะเหตุใด ก. อนุภาคของน้ําฝนสั่นสะเทือนเนื่องจากการกระทบ ข. อนุภาคของใบไมสั่นสะเทือนเนื่องจากการกระทบ ค. มีการสั่นสะเทือนของอนุภาคน้ําฝนและอนุภาคใบไม ง. อากาศใตใบไมถูกอัดจึงสั่นสะเทือนกอใหเกิดเสียง 8. ในตัวกลางตอไปนี้ ตัวกลางใดที่เสียงเคลื่อนที่ผานโดยมีอัตราเร็วมากที่สุด ก. เหล็ก ข. น้ํา ค. อากาศ ง. สุญญากาศ 9. เสียงเดินทางไปในตัวกลางใดดวยอัตราเร็วมากที่สุด ก. กาซ ข. ของเหลว ค. ของแขง ็ ง. สุญญากาศ 10. ขอใดผิด  ก. วัตถุสั่นสะเทือนเปนแหลงกําเนิดเสียง ข. เสียงเดินทางผานตัวกลางตางชนิดไดดีไมเทากัน ค. เมื่อเสียงเดินทางผานตัวกลางจะทําใหตัวกลางเกิดการสั่นสะเทือน ง. อัตราเร็วของเสียงในอากาศลดลงเมื่ออุณหภูมิของอากาศเพิ่มขึ้น
  • 11. 11 ตอนที่ 2 ใหนักเรียนนําอักษรหนาขอความทางขวามือ มาใสหนาขอที่มีความหมายตรงกันที่ซายมือ ………1. คลื่นเสียงเปน A. ไดดีไมเทากัน ………2. เสียงดังมากแสดงวา B. วัตถุที่มีการสั่นสะเทือน ………3. ถาอุณหภูมิของอากาศยิ่งสูงขึ้น C. คลื่นตามยาวเทานั้น ………4. อัตราเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ 0° ซ. D. ความยาวคลื่นของคลื่นเสียงจะต่ําลง ………5. เมื่ออุณหภูมิของอากาศต่ําลง E. 349 เมตรตอวินาที ………6. ในสภาวะที่อากาศมีอุณหภูมิเทากัน F. มีแอมพลิจูดมาก ………7. เสียงเดินทางผานตัวกลาง G. อัตราเร็วของเสียงก็ยิ่งสูงขึ้น ………8. แหลงกําเนิดเสียง H. อุณหภูมิ ………9. อัตราเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ 30° ซ. I. 331 เมตรตอวินาที ………10 อัตราเสียงจะแปรผันตาม J. เสียงที่มีความถี่สูงและต่ํามีอัตราเร็วเทากัน ตอนที่ 3 จงหาคําตอบ 1. อัตราเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส จะมีอัตราเร็วเปนกี่เมตรตอวินาที 2. ในวันที่ลมสงบอุณหภูมิสม่ําเสมอประมาณ 25 องศาเซลเซียส ชายคนหนึ่งตะโกนเขาใสหนาผาสูง แลวปรากฏวาได ยินเสียงสะทอนกับในเวลา 2 วินาที หนาผานั้นอยูหางจากเขาเปนระยะเทาใด 3. กําหนดใหเสียงมีอัตราเร็ว 1500 เมตรตอวินาทีในน้ําทะเล เรือลําหนึ่งปลอยคลื่นโซนาร ขนาดความถี่ 5 กิโลเฮริตซ ลงไปจากผิวน้ํา ปรากฏวารับคลื่นสะทอนผิวขนาดใหญไดในเวลา 1.6 วินาที น้ําทะเลตรงนั้นลึกเทาไร และจะ ตรวจสอบพบปลาขนาดเล็กที่สุดไดเทาไร รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนรูท่ี1 รหัสวิชา ว 32204 แบบทดสอบ ประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 ( กอนเรียน – หลงเรยน ) เวลา 15 นาที ั ี ผลการเรียนรูท่1 ี สํารวจตรวจสอบ อภิปราย และคํานวณสิ่งที่เกี่ยวกับ ธรรมชาติของคลื่นเสียง คุณสมบัติของคลื่นเสียง คําสั่ง จงเลือกกากบาท ( X ) ตัวเลือก ก, ข, ค และ ง ที่เห็นวาถูกตองที่สุด 1. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ 1. เมื่อคลื่นเสียงเดินทางผานอากาศ จะทําใหความดันอากาศ ณ บริเวณนั้นเกิดคลื่นอัด ความดันอากาศจะสูง กวาปกติ 2. ทุกครั้งที่เกิดเสียงจากวัตถุ วัตถุจะเกิดการสั่นสะเทือน 3. เสียงเปนคลื่นตามขวาง เดินทางโดยอาศัยตัวกลาง คําตอบที่ถูกตองคือ ก. ขอ 1 และ 2  ข. ขอ 1 และ 3  ค. ขอ 2 และ 3  ง. ขอ 1 , 2 และ 3 
  • 12. 12 2. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับคลื่นเสียง 1. อัตราเร็วของเสียงในอากาศลดลงเมื่ออุณหภูมิของอากาศเพิ่มขึ้น 2. เสียงเดินทางผานตัวกลางตางชนิดไดดีไมเทากัน 3. เมื่อเสียงเดินทางผานตัวกลางจะทําใหตัวกลางเกิดการสั่นสะเทือน ก. ขอ 1 และ 2  ข. ขอ 1 และ 3  ค. ขอ 2 และ 3  ง. ขอ 1 , 2 และ 3  3. ในวันที่ลมสงบอุณหภูมิสม่ําเสมอประมาณ 25 องศาเซลเซียส ชายคนหนึ่งตะโกนเขาใสหนาผาสูง แลวปรากฏวา ไดยินเสียงสะทอนกับในเวลา 3 วินาที หนาผานั้นอยูหางจากเขาเปนระยะกี่เมตร ก. 352 ข. 346 ค. 519 ง. 1,038 4. กําหนดใหเสียงมีอัตราเร็ว 1,500 เมตรตอวินาทีในน้ําทะเล เรือลําหนึ่งปลอยคลื่นโซนาร ขนาดความถี่ 5 กโล ิ เฮิรตซ ลงไปจากผิวน้ํา จะตรวจสอบพบปลาขนาดเล็กที่สุดไดเทาไร ก. 15 เซนติเมตร ข. 20 เซนติเมตร ค. 25 เซนติเมตร ง. 30 เซนติเมตร 5. เสียงเคลื่อนที่ในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิประมาณกี่องศา เซลเซียส เมื่อมีมุมตกกระทบ 30 องศา และมุมหักเหของเสียงเทากับ 45 องศา ถาอากาศในบริเวณทั้งสองมี ความดันเทากัน ( sin 30° = 0.500 , sin 45° = 0.707 ) ก. 20 ข. 25 ค. 30 ง. 35 6. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ 1. ในทางการแพทยอุลตราโซนิกตรวจดูอวัยวะภายใน ใชคุณสมบัติของเสียง คือ การสะทอน 2. การเทียบเสียงของกีตารใหมีความถี่เทากับความถี่ของหลอดเสียงมาตรฐานที่ตองการ นักดนตรีอาศัยหลักการ แทรกสอดของเสยงี 3. การหักเหของเสียง มีประโยชนในการตรวจหาแหลงแรธาตุ ขอใดถูกตอง ก. ขอ 1 และ 2  ข. ขอ 1 และ 3  ค. ขอ 2 และ 3  ง. ขอ 1 , 2 และ 3  7. S1 และ S2 เปนลําโพง 2 ตัว ใหความถี่ 510 เฮริตซเทากัน เฟสเทากัน อยูหางกัน 6 เมตร ผูที่ยืนอยูที่จุด P ไดยิน เสียงชัดเจน ระหวางที่เขาเดินจาก P ไปยัง Q เขาจะรูสึกวาเสียงจางหายไปจํานวนกี่ครั้ง ถาอัตราเร็วเสียง ขณะนั้นเทากับ 340 เมตรตอวินาที ก. 4 ครั้ง S1 54 เมตร P ข. 5 ครั้ง 30 เมตร ค. 6 ครั้ง 3 เมตร 6 เมตร Q ง. 7 ครั้ง S2 8. ชองหนาตางกวาง 0.80 เมตร สูง 1.20 เมตร ในวันที่อากาศมีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความถี่ของเสียงที่มาก ที่สุด ที่จะทําใหเกิดการเลี้ยวเบนในแนวราบมากที่สุดเปนกี่เฮริตซ ก. 276.5 ข. 346.0 ค. 432.5 ง. 692.0 9. จงหาความยาวคลื่นของเสียงซึ่งมีความถี่ 1,000 เฮริตซ ขณะคลื่นเสียงผานน้ําทะเล กําหนดใหอัตราเร็วของเสียง ในน้ําทะเลเทากับ 1,500 เมตรตอวินาที ก. 1.5 เมตร ข. 1.0 เมตร ค. 0.67 เมตร ง. 0.50 เมตร 10. จงหาความถี่ของคลื่นเสียง ขณะคลื่นเสียงผานอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ถาความยาวคลื่นเสียงเทากับ 0.17 เมตร ก. 1 กิโลเฮริตซ ข. 2 กิโลเฮริตซ ค. 3 กิโลเฮริตซ ง. 4 กิโลเฮริตซ สรุป คะแนนที่ทําได ดวยตนเอง ................................ คะแนนที่ไดมาโดยเพื่อนชวย ...........................
  • 13. 4 ิ 13 รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนรูที่ 2 รหัสวิชา ว 32204 ใบงาน 2.1 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 2 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ความเขมของเสียง และการไดยิน ใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นวา เสียงดังตางจากเสียงสูงอยางไร และเสียงคอยตางจากเสียงต่ําอยางไร รายวิชา ฟสิกส 4 ผลการเรียนรูที่ 2  รหัสวิชา ว 32204 ชั้น ม.5 ใบความรู 2 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความเขมของเสียง และการไดยิน ความเขมของเสียงและการไดยิน เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดเสียงและในการทําใหวัตถุสั่นจําตองใชพลังงาน ถาพลังงานที่ ใชมีคามากแอมพลิจูดของการสั่นก็มีคามาก และถาใชพลังงานนอย แอมพลิจูดของการสั่นก็จะนอยตามไปดวย พลังงานการสั่นของตนกําเนิดเสียงจะถูกถายโอนใหแกโมเลกุลของอากาศที่อยูรอบ ๆ แหลงกําเนิดเสียงซึ่งพลังงานจะ ถูกถายโอนผานโมเลกุลของอากาศตอกันไปถึงหูผูฟง ทําใหแกวหูสั่นสะเทือน เปนผลใหผูฟงไดยินเสียง การไดยินเสียง ของผูฟง ขึ้นกับปจจัยหลายประการ ซึ่งจะศึกษาตอไป ความเขมของเสยง  ี แหลงกําเนิดที่มีชวงกวางของการสั่น ( amplitude ) กวางมาก จะเกิดเสียงดังกวาเสียงที่มี amplitude นอย ในทางวิทยาศาสตร เรียกความดังของเสียงวา ความเขมของเสียง การวัดความเขมของเสียงวัดไดจากพลังงานของเสียง ที่ตกตั้งฉากบน 1 หนวยพื้นที่ใน 1 หนวยเวลา มีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตร ( Watt/m2 ) และหาไดจากสมการ ดังตอไปนี้ เมื่อ I คือ ความเขมของเสียงที่จุดใดจุดหนึ่ง ( Watt/m2 ) P คือ กําลังของเสียงจากแหลงกําเนิด ( Watt ) R คือ ระยะระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับจุดที่พิจารณา ( m ) R A A คือ พื้นที่ของเสียงที่ตกตั้งฉากกับแหลงกําเนิด S S คือ จุดกําเนิดคลื่นเสียงที่มีหนาคลื่นเปนรูปทรงกลม ∴ พื้นที่ ๆ เสียงตกตั้งฉากก็คือ พื้นที่ผิวทรงกลม ซึ่งมีพื้นที่ = 4πR2 W P P I = = = tA A 4 πR 2 1 ∴ I α R2 ความเขมเสียงสูงสุดที่มนุษยไดยิน ( เสียงดัง ) 1 watt / m2 ความเขมเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน ( เสียงเบา ) 10- 12 watt/m2
  • 14. 4 ิ 14 ตวอยาง ชายคนหนึ่งขณะอยูหางจากแหลงกําเนิด 3 เมตร จะไดยินเสียงมีความเขม 10- ั  8 watt / m2 แหลงกําเนิดเสียงมีกําลังเสียงกี่วัตต P วิธีทํา จาก I = ⇒ P = 4πR2 ( I ) 4 πR 2 แทนคา P = 4π(3 )2 ( 10- 8 ) = 36x10- 8 π วัตต ตอบ แหลงกําเนิดเสียงมีกําลังเสียงเทากับ 36x10- 8 π วัตต เมื่อหูไมสามารถใชเปนมาตรฐานในการวัดความเขมของเสียงได จึงมีการวัดความเขมของเสียงดัง สมการ และตัวอยางขางตน ระดับความเขมของเสียง เมื่อหาอัตราสวนระหวางความเขมเสียงที่ดังที่สุดที่มนุษยทนฟงไดกับความเขมเสียงเบาที่สุดที่มนุษยไดยินมีคา มากถง 1012 ดังนั้นเพื่อความสะดวกในทางปฏิบัติ จึงนิยมใช ระดับความเขมเสียง เปนปริมาณที่บอกความดังของ ึ เสียงแทน ความเขมเสียง และเปนเกียรติแก อเลกซานเดอร เกรแฮม เบล ระดับความเขมของเสียงและมีหนวย เรียกวา เบล แตเนื่องจากเบลเปนหนวยที่ใหญเกินไป ไมสามารถบอกความละเอียดที่จะบอกคาความดังของเสียงตาง ๆ ได จึงแบงเปนหนวยยอยลงไป เรียกวา เดซิเบล ( dB ) มนุษยสามารถไดยินเสียงที่มีความดังที่ระดับความเขมของเสียงตั้งแต 0 – 120 เดซิเบล เสียงที่ดังมากเกินไป อาจทําใหหูหนวกได เชน เสียงฟาผาใกลๆตัว ที่มีคาความดังเกิน 120 dB เปนตน เสียงที่มีความดังไมมากแตไดยิน เปนเวลานานหลายชั่วโมงก็อาจเปนอันตรายได เชน เสียงเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ( มลภาวะทางเสยง ) ี องคการอนามัยโลกจึงกําหนดวาเสียงที่ปลอดภัยตองมีความเขมไมเกิน 85 dB เมื่อตองไดยินติดตอกันวันละ 8 ชั่วโมง ขึ้นไป เสียงที่ดังไมถึงขั้นเปนอันตรายกับหู แตอาจมีผลกระทบทางดานจิตใจได เชน ทําใหเกิดความเครียด ไมมีสมาธิ เปนตน เราสามารถหาระดับความเขมของเสียง ไดดังนี้ เมื่อ β คือ ระดับความเขมของเสียงที่จุดพิจารณา ( dB , เดซิเบล ) I คือ ความเขมของเสียงขณะใดขณะหนึ่งที่จุดพิจารณา ( watt/m2 ) I0 คือ ความเขมของเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน = 10- 12 watt/m2 I β = 10 log I0 ตวอยาง หนาตางแหงหนึ่ง มีคลื่นเสียงผานวัดระดับความเขมของเสียงได 80 dB จงหาวา ขณะนั้นมีความเขมของ ั  เสียงกี่วัตตตอตารางเมตร I วิธีทํา จาก β = 10 log I0 I แทนคา  80 = 10 log = 10 ( log I – log 10-12 ) 10 - 12 80 = 10 ( log I – (-12)log 10 ) 80 = log I + 12 10 8 – 12 = log I -4 = log I -4 10 = I I = 10- 4 watt/m2 ตอบ คลื่นเสียงขณะที่ผานหนาตางมีความเขมของเสียงเทากับ 10- 4 วัตตตอตารางเมตร
  • 15. 15 ตาราง แสดงระดับความเขมเสียงจากแหลงกําเนิดตาง ๆ ระดับความเขมเสียง แหลงกําเนิด ผลการรับฟง ( เดซิเบล , dB ) การหายใจปกติ 10 แทบจะไมไดยิน การกระซิบแผวเบา 30 เงียบมาก สํานักงานที่เงียบ 50 เงียบ การพูดคุยธรรมดา 60 ปานกลาง เครื่องดูดฝุน 75 ดัง โรงงานทวไป , ถนนที่มีการจราจรหนาแนน ่ั 80 ดัง เครื่องเสียงสเตอริโอในหอง 90 รับฟงบอย ๆ เครื่องเจาะถนนแบบอัดลม การไดยินจะเสื่อม เครื่องตัดหญา 100 อยางถาวร ดิสโกเธค การแสดงดนตรีประเภทรอค 120 ไมสบายหู ฟาผาระยะใกล 130 เครื่องบินไอพนกําลังขึ้นที่ระยะใกล 150 เจ็บปวดในหู จรวดขนาดใหญกําลังขึ้นที่ระยะใกล 180 แกวหูชํารุดทันที มลภาวะของเสยง ี เมื่อเราอยูใกลบริเวณที่กําลังมีการตอกเสาเข็มหรือมีการขุดเจาะถนนดวยเครื่องเจาะหรือบริเวณโรงงาน อุตสาหกรรมที่มีเครื่องจักรขนาดใหญ หรือแมแตในบริเวณสนามบิน เสียงที่เกิดขึ้นในบริเวณเหลานี้ จะเปนเสียงที่มี ระดับความเขมเสียงสูง ถาหูรับฟงเสียงเหลานี้ติดตอกันนาน ๆ จําทําใหสภาพหูและสภาพจิตใจของผูฟงผิดปกติได ดังนั้นผูที่ทํางานในบริเวณที่มีระดับความเขมสูง จึงตองมีจุกอุดหูหรือที่ครอบหูหรือวัสดุเก็บเสียงอื่นๆ เพื่อชวยลดระดับ ความเขมเสียงใหหูปลอดภัย เนื่องจากเสียงที่มีระดับความเขมเสียงสูง เปนอันตรายตอผูฟงที่อยูใกล กระทรวงมหาดไทยจึงไดออกประกาศ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานในบริเวณที่มีเสียงดังโดยมีเกณฑ ดังแสดงในตาราง ตาราง ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับเสียง เวลาในการทํางานตอวัน ระดับความเขมเสียงที่คนทํางานไดรับอยางตอเนื่องตองไมเกิน ( ชวโมง ) ่ั ( เดซิเบล ) นอยกวา 7 91 7–8 90 มากกวา 8 80 เสียงที่มีระดับความเขมเสียงสูง และเสียงที่ทําความรําคาญแกหูผูฟง คือ มลภาวะของเสยง ี การปรับปรุงหรือแกไข แหลงกําเนิดเสียงใหมีกําลังเสียงลดลง จะทําใหระดับความเขมของเสียงลดลงดวย จึง จัดเปนการลดมลภาวะของเสียงวิธีหนึ่ง ในกรณีที่เราไมสามารถแกไขความดังของเสียงที่แหลงกําเนิดเสียงได การ ปองกันโดยวิธีอื่น ๆ เชน การใชจุกอุดหู หรือที่ครอบหู หรือการติดตั้งวัสดุเก็บเสียง จะสามารถชวยลดมลภาวะของ เสียงได หูกับการไดยิน หูเปนอวัยวะสําคัญในการรับเสียง แบงออกเปน 3 สวนคือ 1 ) หูสวนนอก ( external ear ) ประกอบดวยใบหู รูหูหรือชองหู จนถึงแกวหู ทําหนาที่รับเสียงจาก ภายนอก คลื่นเสียงเดินทางไปทางรูหู โดยมีชองหูทําหนาที่รวมเสียงไปสูแกวหู 2 ) หูสวนกลาง ( middle ear ) อยูถัดจากแกวหูเขาไป มีลักษณะเปนโพรงอากาศ ภายในมีกระดูก 3 ชิ้น ไดแกกระดูกคอน อยูชิดแนบกับแกวหู กระดูกโกลนมีฐานวางปดชองที่ตอไปยังหูชั้นใน และกระดูกทั่งทําหนาที่สงตอ แรงสั่นสะเทือนของเสียงไปยังหูสวนใน และหูสวนกลาง นอกจากนี้ยังทําหนาที่ปรับความดันอากาศภายในใหเทากับ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง