Shapefile ข อม ลสารสนเทศภ ม ศาสตร จ นทบ ร shp

- 4444 -

3.4 การกําหนดคา เริ่มตน ของโปรแกรม

3.4.1 ระบบอางอิงพิกดั ทางภูมิศาสตร ระบบอางอิงทางภูมิศาสตร หรือ CRS (Coordinate Reference System)

มีความสาํ คญั ในการกําหนดตําแหนงบนแผนท่ีหรือภาพถาย เพ่ือระบุตําแหนงของพ้ืนที่จริงในภูมิประเทศ โดยระบบพิกดั ภูมศิ าสตรท่ปี ระเทศไทยใชหลกั ๆ มีอยู 4 ชนดิ คือ

1. EPSG : 24047 Indian 1975 / UTM Zone 47N 2. EPSG : 24048 Indian 1975 / UTM Zone 48N 3. EPSG : 32647 WGS 84 / UTM Zone 47N 4. EPSG : 32648 WGS 84 / UTM Zone 48N

3.4.2 การกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตรของโครงการ

ดังตอ ไปน้ี การกาํ หนดระบบอางอิงภูมิศาสตรของโครงการ สามารถดําเนินการได ตามขั้นตอน

1 1. เลอื กแถบ Project ท่ี Menu Bar จากนนั้ เลือกคําสง่ั Properties…

- 4455 -

3 2

4

5 6

จากหัวขอ 3.4.1 2. เลือกแถบ CRS ทหี่ นา ตา ง Project Properties – CRS 3. ชอง Filter พิมพรหัส EPSG เพ่ือกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตร โดยสามารถดูได 4. เลือกระบบอา งอิงภูมิศาสตรทป่ี รากฏขึ้นมาใหเ ปนแถบสฟี า 5. เลอื ก Apply 6. เลือก OK

ตรวจสอบที่ Status Bar วา ระบบอา งอิงภูมิศาสตรไดเ ปลยี่ นไปตามท่ีเลือกแลว

3.4.3 การกําหนดระบบอางองิ ภูมิศาสตรข องชัน้ ขอ มูลทนี่ ําเขา การกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตรของชั้นขอมูลที่นําเขา สามารถดําเนินการได

ตามขนั้ ตอนดงั ตอ ไปนี้

 46 

- 46 -

1

1. เลอื กแถบ Settings ที่ Menu Bar จากน้นั เลือกคําสัง่ Options…

4

23

2. เลอื กแถบ CRS ทห่ี นาตา ง Options  CRS 3. ทหี่ ัวขอ CRS for Projects ใหทาํ เครอื่ งหมาย  หนา Use a default CRS 4. เลือก Select CRS เพื่อกาํ หนดระบบอางอิงภูมิศาสตร

 47 

- 47 -

5

6

7 5. จะปรากฏหนาตาง Coordinate Reference System Selector ข้ึนมา ในชอง Filter พมิ พรหสั EPSG เพ่อื กําหนดระบบอางองิ ภมู ศิ าสตร โดยสามารถดูไดจากหวั ขอ 3.4.1 6. เลอื กระบบอา งองิ ภมู ศิ าสตรทีป่ รากฏขน้ึ มาใหเ ปน แถบสีฟา 7. เลือก OK

8

10 9

เลอื กแลว 8. ตรวจสอบระบบอางองิ ภมู ิศาสตรใ นหวั ขอ CRS for Projects วา ไดเปล่ยี นไปตามท่ี 9. ทีห่ ัวขอ CRS for Layers ใหทําเครื่องหมาย  หนา Use default layer CRS 10. เลอื ก Select CRS เพื่อกําหนดระบบอางอิงภมู ิศาสตร

 48 

- 48 -

11

12 13

11. จะปรากฏหนาตาง Coordinate Reference System Selector ขึ้นมาอีกคร้ัง ในชอ ง Filter พิมพรหัส EPSG เพือ่ กําหนดระบบอางองิ ภมู ิศาสตร โดยสามารถดไู ดจ ากหัวขอ 3.4.1

12. เลอื กระบบอางองิ ภมู ิศาสตรทีป่ รากฏขน้ึ มาใหเ ปนแถบสฟี า 13. เลือก OK

14

15

เลอื กแลว 14. ตรวจสอบระบบอางอิงภูมศิ าสตรใ นหัวขอ CRS for Layers วา ไดเปล่ียนไปตามที่ 15. เลอื ก OK

 49 

- 49 -

3.5 การนําเขาขอมูล 3.5.1 การนําเขา ขอมลู ประเภทเชิงเสน (Vector) ชัน้ ขอมลู แบบเชงิ เสน (Vector) จะมีอยดู วยกัน 3 รูปแบบ คือ ช้ันขอมูลเชิงตําแหนง

หรือจุด (Point) ชั้นขอมูลแบบเสน (Line) และช้ันขอมูลแบบรูปปด (Polygon) โดยการนําเขาขอมูล ประเภทน้ี สามารถนําเขาไดหลายนามสกุล เชน *.shp (Shapefile) และ *.kml (Keyhole Markup Language) เปนตน การนําเขาจะตองมีการเลือกการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซึ่งตัวที่อาน ภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรือจะเลือกเปนแบบ systems ก็ได ข้ันตอนการนําเขา สามารถดําเนนิ การได ตามข้นั ตอนดงั ตอ ไปน้ี

12

1. เลอื กคาํ สัง่ Add Vector Layer… 2. จะปรากฏหนา ตาง Data Source Manager I Vector ข้ึนมา

34 5

3. ทาํ เครื่องหมาย  หนา File 4. เลือกการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซ่ึงตัวท่ีอานภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรือจะเลอื กเปนแบบ systems กไ็ ด 5. เลอื ก Browse ไปหาทีเ่ กบ็ ไฟลขอมูลเชิงเสน ทีต่ องการนาํ เขา

- 50 -

6 7

6. เลอื กไฟลข อมูลเชงิ เสน ทต่ี องการนําเขา (Shape File) 7. เลือก Open

98 8. เลอื ก Add ทหี่ นาตา ง Data Source Manager I Vector 9. เลอื ก Close เพ่อื ปดหนาตาง Data Source Manager I Vector

- 51 -

10

10. จะปรากฏชื่อชั้นขอมูลที่นําเขาใน Layer Panel และรูปแผนที่จะปรากฏใน Map View ดงั รปู

การจัดการกับขอมูลเชิงเสน ไดแก การเปลี่ยนชื่อชั้นขอมูล การเปลี่ยนระบบอางอิง ภูมศิ าสตรข องช้นั ขอมูล การเปลีย่ นสญั ลกั ษณ (สี) ของชัน้ ขอมลู และการแสดงปา ยช้นั ขอมูล มดี ังน้ี

 การเปลีย่ นช่ือชั้นขอมูล

1 1. เลอื กช้ันขอมูลทีต่ องการเปล่ียนชื่อ และคลิกขวาท่ีเมาส เลือกคําสั่ง Rename Layer

- 52 -

2 2. พมิ พชื่อช้นั ขอมลู ใหมต ามตอ งการ จากนัน้ กด Enter  การเปลี่ยนระบบอางองิ ภมู ศิ าสตรข องชั้นขอมลู

1 1. เลือกชั้นขอมูลท่ีตองการเปล่ียนระบบอางอิงภูมิศาสตร และคลิกขวาที่เมาส เลือกคาํ สัง่ Properties…

- 53 -

23

2. จะปรากฏหนาตาง Layer Properties ขึน้ มา เลือกแถบ Source 3. เลือกคําสัง่ Select CRS เพื่อกําหนดระบบอา งอิงภมู ิศาสตรทตี่ อ งการ

4 5 6

- 5544 -

4. ท่ีหนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหสั EPSG เพอ่ื กาํ หนดระบบอางองิ ภูมิศาสตร โดยสามารถดูไดจ ากหวั ขอ 3.4.1

5. เลือกระบบอางองิ ภมู ิศาสตรทป่ี รากฏข้นึ มาใหเ ปนแถบสีฟา 6. เลอื ก OK

87

7. เลือก Apply ทีห่ นาตาง Layer Properties 8. เลอื ก OK ที่หนา ตา ง Layer Properties  การเปลย่ี นสัญลักษณ (สี) ของชัน้ ขอมลู

1

Properties… 1. เลอื กชั้นขอมูลท่ีตองการเปลี่ยนสัญลักษณ (สี) และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง

- 5555 -

3 2

4

5 2. เลอื กแถบ Symbology ที่หนาตา ง Layer Properties 3. เลอื ก Simple Fill 4. จากนั้นเราจะสามารถทําการเปลยี่ นสชี ั้นขอมูลไดโดย

 Fill color เปล่ียนสีพนื้ ของชัน้ ขอมลู  Fill style เปล่ยี นลักษณะของพื้นหลังขอมูล โดยสามารถเลือกเปน

No Brush คอื การเอาสีพื้นหลังออกได  Stroke color เปลย่ี นสเี สนขอบ  Stroke width ความหนาเสนขอบ  Stroke style ลกั ษณะของเสนขอบ เชน เสนทบึ เสนประ เปนตน 5. เลือก Apply และ เลือก OK เมื่อทําการปรบั แตงชัน้ ขอมูลเสร็จ

- 56 -

6 6. จะไดช ัน้ ขอมลู ท่ปี รับแตงสัญลกั ษณ (สี) ตามตองการ

- 57 -

 การแสดงปายชนั้ ขอ มลู กอนจะทําการแสดงปายช้ันขอมูล ใหตรวจสอบขอมูลในตาราง Attribute กอน

ดังน้ี

1

1. เลือกชั้นขอมูลที่ตองการแสดงปาย และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง Open Attribute Table

23

2. จะปรากฏขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) ข้ึนมา ใหจําช่ือหัวขอที่ตองการ แสดงปาย เชน ตอ งการตดิ ชอ่ื จังหวัด (PROV_NAM_T)

3. ปดตารางขอมูลเชงิ บรรยาย

 58 

- 58 -

4 4. เลอื กชั้นขอมูลท่ตี อ งการแสดงปา ย และคลกิ ขวาท่ีเมาส เลอื กคาํ สง่ั Properties…

6 5

5. เลอื กแถบ Labels ทห่ี นาตาง Layer Properties 6. ท่ีชองดานบนสดุ ใหเ ปล่ยี นจาก No Labels เปน Single Labels

 59 

- 59 -

7

7. ทแ่ี ถบ Value กดที่ลูกศรลง ใหเลือก Field ท่ีตองการแสดงปายขอมูล ดูไดจ ากตาราง Attribute ในขอ 2

8 9

8. ทาํ การปรับแตงลักษณะของปายขอมูล โดยการปรับแตงมีใหเลือกปรับได 9 ประเภท ดังนี้

- 60 -

 Text ปรบั Font ขนาด สี ความโปรงใสของตัวอักษร  Formatting ปรบั การตัดคาํ ระยะหางระหวา งบรรทัด จํานวนจดุ ทศนยิ ม  Buffer ปรับสี การเนนขอความตวั อักษร (Text Highlight)  Mask เพม่ิ ขอบตัวอักษร ขนาดความหนาของขอบตวั อักษร  Background ปรับพื้นหลัง  Shadow ปรบั ความเขม ความโปรง ใส แสงเงาของตวั อักษร  Callouts การใสเสน ชต้ี ําแหนงตัวขอมลู กับปา ยขอมูล  Placement ปรบั ตาํ แหนง ท่ีจะวาง Label  Rendering ปรับการแสดงผลของปา ยขอ มลู 9. เสร็จเรยี บรอ ยแลว เลอื ก Apply และ เลือก OK

10

10. จะไดช ้ันขอมูลที่ไดจ ัดแสดงผลปายขอมูลแลว ดงั รูป

- 61 -

3.5.2 การนําเขา ขอมลู ประเภทเชิงภาพ (Raster) ขอมูลแบบเชิงภาพ (Raster) มีลักษณะเปนตารางสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ (Grid cell or

pixel) เทากันและตอเน่ืองกัน ที่สามารถอางอิงคาพิกัดทางภูมิศาสตรได ขนาดของตารางกรดิ หรอื ความละเอียด (Resolution) ในการเกบ็ ขอ มลู จะใหญหรือเลก็ ขน้ึ อยูกับการจัดแบงจํานวนแถว (Row) และจาํ นวนคอลัมน (Column) ตัวอยางเชน ภาพดาวเทียม, ภาพถายทางอากาศ และขอมูลระดับคา ความสูง (DEM) โดยนามสกุลของขอมูลเชิงภาพท่ีสามารถใชงานไดมีอยูหลายนามสกุล ตัวอยางเชน *.sid, *.tif, *.jpg และ *.png เปนตน ขั้นตอนการนําเขา สามารถดําเนนิ การได ดงั นี้

1 2

1. เลือกคําสัง่ Add Raster Layer… 2. จะปรากฏหนาตาง Data Source Manager I Raster ข้ึนมา

34 3. ทําเคร่ืองหมาย  หนา File 4. เลอื ก Browse ไปหาท่ีเก็บไฟลขอมลู เชิงภาพที่ตองการนําเขา

- 6622 -

5 6

5. จะปรากฏหนาตาง Open GDAL Supported Raster Dataset(s) ขึ้นมา เลอื กไฟลที่ตองการ

6. เลอื ก Open ทีห่ นาตา ง Open GDAL Supported Raster Dataset(s)

87 7. เลือก Add ที่หนา ตาง Data Source Manager I Raster 8. เลอื ก Close เพือ่ ปด หนาตาง Data Source Manager I Raster

- 6633 -

9

9. จะไดชั้นขอมลู แบบเชงิ ภาพทตี่ องการ การจัดการกับขอมูลเชิงภาพ ไดแก การเปล่ียนชื่อชั้นขอมูล การเปลี่ยนระบบอางอิง ภูมิศาสตรของช้ันขอมูล การปรับแตงความสวาง ความคมชัดของช้ันขอมูล และการปรับความโปรงแสง ของช้นั ขอ มลู มดี งั น้ี

 การเปลยี่ นชื่อช้นั ขอมูล

1 1. เลือกชั้นขอ มูลทีต่ อ งการเปล่ียนชื่อ และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําส่ัง Rename Layer

 64 

- 64 -

2 2. พิมพช ่อื ช้นั ขอ มลู ที่ตองการ จากน้ัน กด Enter  การเปลี่ยนระบบอางอิงภูมิศาสตรของชั้นขอมูล

1 1. เลอื กช้ันขอมูลท่ีตองการเปล่ียนระบบอางอิงภูมิศาสตร และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําส่ัง Properties…

 65 

- 65 -

23

2. จะปรากฏหนาตา ง Layer Properties ขน้ึ มา เลอื กแถบ Source 3. เลอื กคาํ สงั่ Select CRS เพอ่ื กาํ หนดระบบอางอิงภมู ิศาสตรท ตี่ องการ

4

5 6

4. ท่ีหนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหัส EPSG เพื่อกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตร โดยสามารถดไู ดจ ากหัวขอ 3.4.1

 66 

- 66 -

5. เลือกระบบอางอิงภูมศิ าสตรทีป่ รากฏข้นึ มาใหเ ปน แถบสีฟา 6. เลือก OK

87 7. เลอื ก Apply ท่หี นาตา ง Layer Properties 8. เลือก OK ทหี่ นาตา ง Layer Properties  การปรบั แตงความสวา ง ความคมชดั ของชัน้ ขอมูล

1 1. เลอื กชัน้ ขอมลู ทตี่ องการปรับแตง ความสวาง ความคมชัด และคลิกขวาท่ีเมาส เลือกคําสง่ั Properties…

 67 

- 67 -

2 3 4

2. จะปรากฏหนาตา ง Layer Properties ขึน้ มา เลือกแถบ Symbology 3. ทาํ การปรับแตงชั้นขอมูลโดย

Brightness = ความสวาง และ Contrast = ความคมชัด 4. เลือก Apply และ เลอื ก OK  การปรบั ความโปรงแสงของชนั้ ขอมูล

1 1. เลอื กชน้ั ขอมูลท่ีตองการปรับความโปรงแสง และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง Properties…

- 68 -

3

2

4 2. เลอื กแถบ Transparency 3. ปรบั ความโปรง แสงท่ี Global Opacity โดย

100% = ทบึ แสง และ 0% = โปรงแสง 4. เลอื ก Apply และ เลอื ก OK 3.5.3 การนําเขาขอมูลประเภทไฟล CSV CSV ยอมาจาก Comma Separated Value เปนไฟลขอความประเภทหนึ่ง ที่ใช สําหรับเกบ็ ขอมูลในรูปแบบตาราง ใชเครื่องหมายจุลภาค หรือคอมมา (,) ในการแบงแตละคอลัมน โดยปกติเราสามารถบันทึกไฟลจาก Microsoft Excel ออกมาเปนไฟล CSV ไดโดยตรง หรือ อาจได ไฟล CSV จากการ export ไฟลจ ากระบบฐานขอมูลอ่ืน ๆ เชน export ออกจากเครือ่ งควบคุม (Controller) จากการรบั สญั ญาณดาวเทียม เปนตน ขน้ั ตอนการนาํ เขาสามารถดําเนินการได ตามขั้นตอนดังตอไปน้ี

- 69 -

2 3 1

1. เลอื กคาํ สั่ง Add Delimited Text Layer 2. จะปรากฏหนา ตา ง Data Source Manager I Delimited Text ขน้ึ มา 3. เลือก Browse เพ่อื เลือกไฟล CSV ทต่ี อ งการ

4

5

4. เลือกไฟลข อมลู CSV ที่ตองการนาํ เขา 5. เลือก Open

- 7700 - 6

7

8 9

6. เลอื กการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซึ่งตัวท่ีอานภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรือจะเลือกเปนแบบ systems ก็ได

7. ทาํ เครอื่ งหมาย  หนา CSV (comma separated values) 8. หวั ขอ Geometry Definition ใหทําเครื่องหมาย  หนา Point coordinates

 ชอง X field เลือกใหเ ปน คา X_coor หรือคาพิกดั E  ชอง Y field เลือกใหเปน คา Y_coor หรือคาพิกดั N 9. เลอื กคาํ สัง่ Select CRS เพอื่ กําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตร

 71 

- 71 -

10

11 12

10. ที่หนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหัส EPSG เพอื่ กําหนดระบบอา งอิงภมู ศิ าสตร โดยสามารถดูไดจ ากหวั ขอ 3.4.1

11. เลือกระบบอางองิ ภมู ิศาสตรทปี่ รากฏข้นึ มาใหเปนแถบสีฟา 12. เลือก OK

14 13

13. เลอื ก Add 14. เลอื ก Close

- 7722 -

15

15. จะปรากฏเปน จดุ ข้นึ ตามคา พิกัดที่นําเขามา ดังรปู 3.5.4 การนาํ เขาขอ มูลจากโปรแกรม DOLCAD

3.5.4.1 การสงออกขอมูล Shape File ออกจากโปรแกรม DOLCAD การสงออกขอ มูล Shape File ออกจากโปรแกรม DOLCAD จะตองเปนงาน

UTM (ช้ัน 1) โดยสามารถดาํ เนินการได ตามขั้นตอนดังตอไปน้ี

1

2 3 4

1. เปดโปรแกรม DOLCAD จากนัน้ เลือก คนหางาน 2. ทําเครือ่ งหมาย  หนา UTM (ชั้น 1) ท่ีหนาตา ง SVCPINF002 (คนหางานรังวดั )

- 7733 -

3. เลอื กงานชน้ั 1 ท่ตี องการสงออก Shape File (บรรทัดสเี ขยี ว) 4. คลกิ เลอื ก

5

6 5. จะปรากฏงานที่เราตองการขึ้นมา จากน้นั เลอื กฟงกช ัน นาํ เขา/สง ออก 6. จะปรากฏหนาตาง SVCPINF003 (นําเขา/สงออก ขอมูล) ขึ้นมา จากน้ัน เลือก สงออก  Shape File

7 8

7. จะปรากฏหนาตางสงออกขอมูลงานรังวัดขึ้นมา ทําเคร่ืองหมาย  ช่ือไฟล ตามท่ีตอ งการสง ออก

8. เลอื กสงออกขอ มลู

- 74 -

9

10

9. เลอื กท่เี ก็บ Shape File 10. จากนน้ั เลือก Save

11 11. เมื่อทําการสงออกขอมูลรูปแบบ Shape File เสร็จเรียบรอยแลว เลือก OK จากนนั้ ออกจากโปรแกรม DOLCAD

- 75 -

3.5.4.2 การนาํ Shape File จากโปรแกรม DOLCAD เขา โปรแกรม QGIS ขอมูล Shape File ท่ีสงออกจากโปรแกรม DOLCAD เปนขอมูลประเภท

เชงิ เสน (Vector) ดังนนั้ การนําเขา จึงใชคาํ ส่งั เดียวกันกับขอ มูลประเภทเชิงเสนแบบอื่น ๆ โดยสามารถ ดาํ เนนิ การได ตามขั้นตอนดังตอไปน้ี

12

1. เลือกคําสัง่ Add Vector Layer… 2. จะปรากฏหนา ตาง Data Source Manager I Vector ขนึ้ มา

34 5

3. ทําเครอื่ งหมาย  หนา File 4. เลือกการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซึ่งตัวที่อานภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรอื จะเลอื กเปนแบบ systems กไ็ ด 5. เลอื ก Browse ไปหาทีเ่ ก็บไฟลข อมูล DOLCAD ท่ตี อ งการนําเขา

- 76 -

6 7 6. จะปรากฏหนาตาง Open OGR Supported Vector Dataset(s) ข้ึนมา เลือก Shape File ตามตําแหนง ทีเ่ กบ็ ไวในหวั ขอ 3.5.4.1 (ขอ ท่ี 9) (ในกรณีนีเ้ ลือกเปนรปู ปด Polygon) 7. จากนน้ั เลือก Open

98 8. เลือก Add ทีห่ นาตาง Data Source Manager I Vector 9. เลือก Close เพือ่ ปด หนา ตาง Data Source Manager I Vector

- 77 -

10

10. จะไดรูปแปลงทด่ี นิ เปน รูปปด Polygon บนแผนท่ใี นโปรแกรม QGIS ดงั รูป 3.5.5 การนําเขาขอมูลประเภท Web Map Service

ขอมูลประเภท Web Map Service เปนการดึงขอมูลมาจากระบบใหบริการขอมูล ภูมิสารสนเทศผานเครือขาย Internet ซ่ึงมีมาตรฐานกําหนดและสรางข้ึนโดย Open GIS Consortium (OGC) ทไี่ ดก าํ หนดการบรกิ ารขอ มูลภมู สิ ารสนเทศใน Format ตาง ๆ ประกอบดวย PNG, GIF, JPEG และ ชน้ั ขอมลู ประเภทแผนที่ภาพถายดาวเทยี ม

ขนั้ ตอนการนําเขาขอ มลู แผนทภี่ าพถายดาวเทียม Google Satellite ดวย Plugin : HCMGIS

Plugin : HCMGIS เปน Plugin ท่ีมฐี านขอ มูลแผนที่ภาพถายดาวเทียมตาง ๆ ทสี่ ามารถดูเพื่อเปนแนวทางในการทํางาน หรือศึกษาขอมูลรวมกับงานภูมิสารสนเทศท่ีเราทํางานได การนําเขา ขอมูลแผนท่ภี าพถา ยดาวเทียม Google Satellite ดว ย Plugin : HCMGIS สามารถดําเนินการได ดังน้ี

- 7788 - 1

1. ตดิ ต้งั Plugin : HCMGIS สําหรับโปรแกรม QGIS ใหไปท่ี แถบเมนู Plugins จากนั้น เลือก Manage and Install Plugins… ดังรปู

2 2. จะปรากฏหนาตาง Plugins ขึน้ มา ใหทําการติดต้ัง Plugin : HCMGIS โดยพิมพ “HCMGIS” ในชองคนหา จากน้ัน เลือก HCMGIS แลวเลือก Install Plugin รอสักครู เม่ือเสร็จแลว ใหเลือก Close เพอ่ื ปดหนาตา ง Plugins

- 7799 -

3

3. หลังจากตดิ ตัง้ Plugin : HCMGIS เสร็จแลว ท่ี Menu Bar จะปรากฏเมนู HCMGIS เพิม่ ขึ้นมา ใหเ ลอื กเมนู HCMGIS แลวไปที่ BaseMap จากน้นั เลือก Google Satellite Hybrid

4 4. จะปรากฏหนาตาง Select Transformation for Google Satellite เพ่ือเลือก การแปลงระบบพ้ืนหลักฐานแผนท่ี โดยใหเลือก Inverse of Popular Visualisation PseudoMercator + Inverse of Indian 1975 to WGS 84 (2) + UTM zone 48N และดูที่ Scope : For military purposes จากนัน้ เลอื ก OK

- 80 -

5 5. จะไดช ัน้ ขอมลู ภาพถา ยดาวเทียม Google Satellite Hybrid มาใชง านได ดงั รปู

- 81 -

3.6 การตรึงคา พกิ ัดภมู ิศาสตร (Registration) การตรงึ คา พกิ ดั ภมู ศิ าสตร (Registration) คือ กระบวนการกําหนดพิกัดโลกแหงความเปนจริง

ใหก ับแตละพิกเซลของขอมูลเชิงภาพ (Raster) โดยพิกัดเหลาน้ีไดจากการทําแบบสาํ รวจภาคสนาม รวบรวมพิกัดดวยอปุ กรณ GPS เพือ่ ระบคุ ุณสมบัติท่สี ามารถระบไุ ดง า ยในภาพหรือแผนที่ เชน การทํา GCPs (Ground Control Points) สําหรับในงานบริหารจัดการท่ีดินสามารถใชการตรึงคาพิกัดภูมิศาสตร ในการตรึงแผนท่แี นบทา ยกฤษฎีกา การตรงึ ภาพจาก ร.ว. 9 ในงานรงั วดั ช้นั 2 เพ่ือจัดทาํ รูปแผนที่ เปนตน

ในการตรงึ คาพิกัดภูมิศาสตร เราใชเคร่ืองมือที่เรียกวา Georeferencer... โดย Georeferencer เปนเครื่องมือสาํ หรับสรางไฟลของขอมูลเชิงภาพ (Raster) ใหผูใชงานสามารถอางอิงขอ มลู เชงิ ภาพ (Raster) ไปยังระบบทางภมู ิศาสตรท ่ีเกี่ยวของโดยการสรางไฟล GeoTiff ใหม โดยการเพิ่มไฟลลงในภาพ ที่มีอยู วิธกี ารพน้ื ฐานในการกําหนด Georeferencer ในขอมูลเชิงภาพ (Raster) สามารถดําเนินการได ตามขัน้ ตอนดงั ตอไปน้ี

1

1. ท่ี Menu Bar เลอื ก Raster จากน้นั เลอื กคําสัง่ Georeferencer…

 82 

- 82 -

2

2. จะปรากฏหนาตาง Georeferencer ใหเลือกฟงกชัน Open Raster เพ่ือเปด ไฟลร ปู ภาพที่จะทาํ การตรึงคาพิกัด (กรณีไมมีฟงกชัน Open Raster ใหไปที่ File แลว เลือก Open Raster)

3 4

5 3. จะปรากฏหนา ตาง Open Raster ขนึ้ มา ใหเ ลือกตาํ แหนง ทเ่ี กบ็ ไฟลร ูปภาพ 4. เลือกไฟลร ปู ภาพท่ตี องการตรงึ คา พิกดั ภมู ิศาสตร 5. เลือก Open

 83 

- 83 -

6 6. ภาพจะถกู เปด ขน้ึ มา ใหทาํ การตรงึ ภาพ โดยเลอื กที่ฟงกชัน Add Point

7 7. ขยายภาพไปยังตําแหนงที่เราทราบคาพิกัด จากน้ัน เล่ือนตาํ แหนงของเมาสไปจุดที่ ทราบคา และคลิกซา ยทเ่ี มาส (ตําแหนงเมาสจ ะตอ งแนบสนิทกับตาํ แหนงของกริดที่ทราบคา พิกดั )

- 8844 -

8 9

8. ปอนคาพิกัด โดยปอนคาทิศเหนอื ลงในชอง Y / North และคาทศิ ตะวนั ออกในชองคา X / East 9. เลอื ก OK จากน้ัน ทาํ ซํ้าขอ 79 จนครบทุกจดุ ทท่ี ราบคา พิกดั ในภาพ (ควรมีอยา งนอย 4 จดุ )

10 11

10. จดุ ท่ีเราทาํ การตรงึ คาพิกัดแลว จะปรากฏเปน จดุ สีแดง 11. จุดทเ่ี ราทาํ การตรงึ คาพิกัดแลว จะแสดงรายละเอียดการแปลงคาพิกัดจากพิกัดเดิม (Source X, Y) ไปเปนพิกัดใหม (Dest. X, Y) ในตาราง GCP table

- 8855 -

13

12

12. เม่ือทาํ การตรึงคาพิกัดครบทุกจุดแลว ใหไปที่แถบ Tool Bar จากน้ัน เลือกคําส่ัง Transformation Settings

13. จะปรากฏหนาตา ง Transformation Settings ขึน้ มา 14

14. ในหัวขอ Transformation Parameters ใหท าํ การเลือกสวนตา ง ๆ ดังน้ี  Transformation type = Polynomial 1  Resampling method = Nearest Neighbour  Target SRS ใหเลือก Select CRS เพอ่ื กาํ หนดระบบอา งอิงภมู ิศาสตร

- 8866 -

15

16

17 15. ที่หนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหสั EPSG เพือ่ กาํ หนดระบบอา งองิ ภูมศิ าสตร โดยสามารถดูไดจ ากหวั ขอ 3.4.1 16. เลือกระบบอา งอิงภูมิศาสตรท ี่ปรากฏขึน้ มาใหเปนแถบสฟี า 17. เลอื ก OK

18

18. ในหวั ขอ Output Settings ใหทาํ การเลือกสว นตาง ๆ ดงั น้ี

คาพกิ ัดแลว  Output raster ใหก ด Browse เพื่อเลือกท่ีจัดเก็บไฟลภาพใหมท่ีทําการตรึง  Compression = None

- 8877 -

19 19. เลือก Save ทห่ี นาตาง Destination Raster (โดยปกติหลังจากเลือก Browse โปรแกรมจะเลือกท่ีเก็บไฟลและต้ังชื่อไฟลใหมให อัตโนมัติ โดยเก็บที่เดียวกับไฟลรูปที่เราเลือกกอนทําการตรึง และชื่อไฟลใหมจะเปนช่ือเดิมแตมี _modified ตอ ทาย) 20

21 20. ในหวั ขอ Reports ใหทําการเลือกสว นตา ง ๆ ดังน้ี

 ทาํ เคร่ืองหมาย  หนา ขอ ความ Load in QGIS when done 21. เลือก OK

 88  23

- 88 -

22 24

22. ที่หนาตาง Georeferencer เลอื กฟงกชัน Start Georeferencing เพื่อประมวลผล 23. เลือก Close เพื่อปด หนา ตาง Georeferencer 24. จะปรากฏหนาตาง Save GCPs ข้ึนมา โดยจะเลือกจัดเก็บ (Save) หรือไมจัดเก็บ (Discard) กไ็ ด ในกรณนี ี้เลือกไมจ ดั เก็บ (Discard)

25 26

25. จะปรากฏชั้นขอมูลที่ทําการตรึงคาพิกัดบน Layers Panel เลือกชั้นขอมูล และ คลิกขวาทีเ่ มาส เลือก Zoom to Layer

26. ภาพที่ทําการตรงึ คาพิกัดแลว จะปรากฏขึน้ บน Map View

 89 

- 89 -

3.7 การสรางชน้ั ขอมูล และการดจิ ิไทซรูปแปลงทีด่ นิ (Digitizing) การสรางชั้นขอมูล และการดจิ ิไทซ (Digitizing) เปนวธิ ีการคัดลอกลายจากแผนที่ตนฉบับ

เชน ภาพถายดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ แผนท่ีภูมิประเทศ และแผนที่โฉนดท่ีดิน เปนตน ซึ่งแผนที่ ดงั กลา วนี้ เปนขอ มลู เชงิ ภาพ (Raster) ทําใหอยูในระบบขอมูลเชิงเสน (Vector) ในรูปแบบจุด (Point) เสน (Line) หรอื พน้ื ที่ (Polygon) ดว ยระบบคอมพวิ เตอร

หลังจากการตรึงคาพิกัดภูมิศาสตร (Registration) กับขอมูลเชิงภาพ (Raster) ในหัวขอที่ 3.6 แลว หากตอ งการสรางชัน้ ขอมลู รปู แปลงทด่ี นิ ดังกลา ว สามารถดําเนนิ การได ตามข้นั ตอนดงั ตอไปน้ี

1

1. ที่ Menu Bar เลือกแถบ Layer จากน้ัน เลือกคําสัง่ Create Layer แลวเลือก New Shapefile Layer…

2

2. จะปรากฏหนาตาง New Shapefile Layer ขึ้นมา ที่ชอง File name ใหเลือก Browse เพือ่ ตงั้ ช่อื และท่ีเกบ็ ชั้นขอ มูลท่ีจะสรางข้ึนใหม

- 90 -

3 4

3. เลือกท่ีเก็บไฟลและตั้งชื่อไฟลที่จัดเก็บ โดยทั่วไปจะตั้งช่ือโดยอางอิงจากช่ือเดิมของ ขอมลู Raster แตเพิ่มตัว p นาํ หนา ซ่ึงยอมาจาก Pacel ดงั รปู

4. เลอื ก Save 5 6

5. ที่ File encoding ใหเลือกการเขารหัสของตัวอกั ษร (Encoding) ซึ่งตวั ทอ่ี านภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรอื จะเลอื กเปนแบบ systems ก็ได

6. ที่ Geometry type เปนการเลือกประเภทของขอมูลท่ีจะทําการสราง คือ จุด (Point หรือ MultiPoint) เสน (Line) หรือรูปปด (Polygon) ในกรณีน้ีรูปแปลงที่ดินเปนรูปปด จึงตองเลือก แบบ Polygon

- 91 -

7

7. เลอื ก Select CRS เพื่อกาํ หนดระบบอางองิ ภูมิศาสตร 8

9

10 8. ที่หนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพรหัส EPSG เพือ่ กําหนดระบบอางองิ ภูมศิ าสตร โดยสามารถดูไดจากหัวขอ 3.4.1 9. เลอื กระบบอา งอิงภูมิศาสตรท ปี่ รากฏขน้ึ มาใหเปน แถบสีฟา 10. เลือก OK

- 9922 -

11 11. ท่หี นาตา ง New Shapefile Layer เลือก OK 13 14

12 12. ท่ี Layer Panel จะปรากฏช่อื ช้ันขอ มูลที่สรางขน้ึ มาใหม ใหคลิกชื่อช้ันขอมูลใหเปน แถบสฟี า 13. ที่แถบ Tool Bar เลอื กคําสง่ั Toggle Editing เพ่อื เริ่มทําการ Digitizing 14. ที่แถบ Tool Bar เลือกคําส่ัง Add Polygon Feature เพ่ือทาํ การสราง รูปปด (Polygon)

- 9933 -

15 15. เลื่อนตาํ แหนงเมาสไ ปทกี่ ง่ึ กลางหมุดแลว กดคลกิ ซาย ทําไลห มุดถัดไปจนครบท้ังรูปแปลง ทีด่ นิ โดยไมต องคลกิ ท่หี มดุ เรมิ่ ตน ซํา้ อกี จากน้นั ใหคลกิ ขวาเพือ่ จบการทํางาน

16 17

16. กรอกหมายเลขรูปแปลงท่ีดิน 17. เลือก OK

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง