การฝ กท กษะการต อวงจรโดยการสอนเร ม ว จ ย

กฎของโอห์มเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถทำการวิเคราะห์วงจรได้อย่างสะดวกนัก ในบางครั้งวงจรไฟฟ้าอาจมีความซับซ้อน ซึ่งการใช้กฎของโอห์มแต่อย่างเดียวอาจจะทำได้ยุ่งยากมาก ในปี ค.ศ. 1845 นักศึกษา ภาควิชาฟิสิกส์ ในเยอร์มัน ชื่อ กุสสตาฟ เคอร์ชอฟฟ์ ได้ทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกฎพื้นฐานทางฟิสิกส์อิเล็กโทรนิกส์

กฎของ เคอร์ชอฟฟ์ นั้นสามารถแยกได้เป็นสองข้อหลักๆ คือ

กฎทางด้านกระแสไฟฟ้า (Kirchhoff’s Current Law, KCL) และ

กฎในเรื่องแรงดันไฟฟ้า (Kirchhoff’s Voltage Law, KVL) กฎทั้งสองนั้นมีสาระสำคัญคือ

  1. กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ กล่าวว่า “ กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าจุดใดจุดหนึ่งใน วงจรไฟฟ้าจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดนั้น”
  2. กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ กล่าวว่า “ ผลบวกของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้ในวงจรไฟฟ้าปิดจะมีค่าเท่ากับผลบวกของแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทานในวงจรไฟฟ้าปิดนั้น”

กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s current Law)

กล่าวว่า “ กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าจุดใดจุดหนึ่งในวงจรไฟฟ้าจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดนั้น”

ในทางไฟฟ้าเรานิยมให้ปริมาณไฟฟ้าที่ไหลเข้ามายังจุดที่สนใจเป็น + และไหลออกจากจุดที่สนใจเป็น – ดังนั้น กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ (KCL) จึงสามารถเขียนในรูปทั่วไปได้

ตัวอย่างที่1จากรูปให้คำนวณค่าI1,I2,I3,I4

วิธีทำหาค่าความต้านทานรวมของวงจร

กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s voltage Law)

กล่าวว่า “ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับวงจร มีค่าเท่ากับผลรวมของแรงดันไฟฟ้าค่าเท่ากับผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่ตกคล่อมความต้านทานในวงจรไฟฟ้านั้น”

ลูป (Loop) ของวงจรไฟฟ้า หมายถึงเส้นทางใด ๆ ก็ตามในวงจรไฟฟ้า ถ้าหากเริ่มจากจุดหนึ่งไปตามเส้นทางนั้นแล้วสามารถกลับมายังจุดนั้นได้อีกเรียกว่า ลูป (Loop) เช่น

จากนิยามกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์จะได้ว่า

แรงดันตกคร่อม R หรือ Vr = -V

เราสามารถเขียนสมการแรงดันได้ในรูปสมการ KVL

เครื่องหมายของ แรงดันในสมการ KVL จะมีค่าไปตามเครื่องหมายที่ กระแสเดินทางไปเจอ

จากสมการ KVL

จากนิยามกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์จะได้ว่า

-V1 + Vr1 + V2 = 0 สมการที่ 1

-V2 + Vr2 = 0 สมการที่ 2

จากสมการสรุปกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ได้อีกอย่างหนึ่งว่า “ผลรวมของแรงดัน -ไฟฟ้าทั้งหมดในวงจรไฟฟ้าปิดใด ๆ จะเท่ากับศูนย์”

โครงการสอน รหัสวิชา 20105-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟŜากระแสตรง ระดับชั้น ปวช. 1 สาขาวิชา อิเล็กทรอนิกสŤ ทฤษฎี-ปฏิบัติ-จำนวนหนŠวยกิต 1-3-2 ภาคเรียนที่ 1 ครูผูšสอน นายสิทธิศักดิ์ ในทอง จุดประสงคŤรายวิชา 1. เขšาใจกฎและทฤษฎีวงจรไฟฟŜากระแสตรง 2. มีทักษะในการวิเคราะหŤวงจรไฟฟŜากระแสตรง 3. มีทักษะในการประกอบวงจร และใชšเครื่องมือวัดและทดสอบวงจรไฟฟŜากระแสตรง 4. มีกิจนิสัยในการปฏิบัติงานดšวยความละเอียดรอบคอบ ถูกตšองและปลอดภัย สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูšเกี่ยวกับความสัมพันธŤของคŠาพารามิเตอรŤตŠางๆ ในวงจรไฟฟŜากระแสตรง 2. ประกอบและทดสอบวงจรไฟฟŜากระแสตรง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับแหลŠงกำเนิดไฟฟŜากระแสตรง แรงดันไฟฟŜา กระแสไฟฟŜา กำลังและพลังงานไฟฟŜา การอŠานคŠาตัวตšานทาน การตŠอวงจรตัวตšานทานและเซลลŤไฟฟŜาแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม การคำนวณหาคŠาความตšานทาน กระแสไฟฟŜา แรงดนัไฟฟŜาและกำลังไฟฟŜา โดยใชšกฎของโอหŤม วงจรแบŠงแรงดนัและกระแสไฟฟŜา วงจรบริดจŤ กฎของเคอรŤชอฟฟşทฤษฎีของเทวินนิและนอรŤตัน โนดโวลเตจ เมชเคอรŤเรน ทฤษฎีการวางซšอน การสŠงถŠายกำลังไฟฟŜาสูงสุดในวงจรไฟฟŜากระแสตรง การประกอบวงจรและวัดหาความสัมพันธŤของแรงดันไฟฟŜา กระแสไฟฟŜาและความตšานทานตามทฤษฎีวงจรไฟฟŜากระแสตรง

รายละเอยีดการสอน สัปดาหŤที่ สอนครั้งที่ ชั่วโมงที่ ชื่อหนŠวย จำนวนชั่วโมง 1-2 1-2 1–8 ตัวตšานทาน 8 3-5 3-5 9–20 การตŠอตัวตšานทาน 12 6 6 21–24 ความรูšเบื้องตšนเกี่ยวกับไฟฟŜา 4 7–8 7–8 25–32 กฎของโอหŤม 8 9 9 33-36 ทดสอบประมวลความรูš (กลางภาค) 4 10–11 10-11 37–44 วงจรไฟฟŜา 8 12-13 12-13 45–52 ประกอบวงจรไฟฟŜาบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 8 14 14 53–56 วงจรแบŠงแรงดันและแบŠงกระแส 4 15-17 15-17 57–68 ทฤษฎีโครงขŠายวงจรไฟฟŜากระแสตรง 12 18 18 69–72 ทดสอบประมวลความรูš(ปลายภาค) 4 รวมทั้งหมด 72 กิจกรรมการเรียนการสอน สอนครั้งที่ ชื่อหนŠวย จำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน 1-2 ตัวตšานทาน 8 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ 3-5 การตŠอตัวตšานทาน 12 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ 6 ความรูšเบื้องตšนเกี่ยวกับไฟฟŜา 4 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ 7–8 กฎของโอหŤม 8 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ 9 ทดสอบประมวลความรูš (กลางภาค) 4 ทดสอบประมวลความรูš 10-11 วงจรไฟฟŜา 8 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ 12-13 ประกอบวงจรไฟฟŜาบูรณาการหลักปรัชญาของเ ศรษฐกิจพอเพียง 8 บรรยาย, ฝřกปฏิบัติ 14 วงจรแบŠงแรงดนัและแบŠงกระแส 4 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ 15-17 ทฤษฎีโครงขŠายวงจรไฟฟŜากระแสตรง 12 บรรยาย, สรุป , ฝřกปฏิบัติ

18 ทดสอบประมวลความรูš(ปลายภาค) 4 ทดสอบประมวลความรูš รวมทั้งหมด 72 สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 2. สื่อคอมพิวเตอรŤ (โปรแกรมนำเสนอ : PowerPoint) 3. หนังสือเกี่ยวกับรายวิชาที่เรยีน 4. ชุดทดลอง 5. ชุดคิทประกอบวงจร การวัดและประเมินผล การวัดผล 1. งานที่ไดšมอบหมาย 2. การทดสอบ ประจำหนŠวย 3. สังเกตพฤติกรรมระหวŠางปฏิบัติงาน/ในชั้นเรียน (รายบุคคล) 3.1 การแตŠงกาย 3,2 การตรงตŠอเวลา 3.3 ความรบัผิดชอบ/ความตั้งใจ การประเมินผล 1. การใหšคะแนน 1.1 ทดสอบ 40 % 1.2 ใบงาน / แบบฝřกหัด 20 % 1.3 ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสŤ 10 % 1.4 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม 10 % 1.5 สอบประมวลความรูš 20 % รวม 100 % 2. การประเมินผล ประเมินตามเกณฑŤ ดังนี้ 80 – 100 คะแนน มีผลการเรยีน 4 75 – 79 คะแนน มีผลการเรียน 3.5 70 – 74 คะแนน มีผลการเรียน 3 65 – 69 คะแนน มีผลการเรียน 2.5 60 – 64 คะแนน มีผลการเรียน 2 55 – 59 คะแนน มีผลการเรียน 1.5 50 – 54 คะแนน มีผลการเรียน 1

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง