การสื่อสารการตลาดผ่านกิจกรรม ตัวอย่าง

นี่คือตัวอย่างแคมเปญการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จสองตัวอย่างที่สร้างโดยความร่วมมือกับ Amazon Ads

กรณีศึกษา

ที่เทศกาล South by Southwest (SXSW) ปี 2022 ในเมืองออสติน รัฐเท็กซัส Cheetos และ Amazon Ads ได้สร้างบ้านแบบแฮนด์ฟรีที่ขับเคลื่อนโดย Alexa ผู้เยี่ยมชมสามารถสำรวจ Hands-Free House ที่ดื่มด่ำสมจริงของ Cheetos แบบไม่ต้องทิ้งเศษผง Cheetos สีส้มไว้ทุกที่ โดยใช้เทคโนโลยีสำหรับกิจวัตรประจำวัน

กรณีศึกษา

Tyson Foods ทำงานร่วมกับ Snapchat และ Amazon Ads เพื่อเพิ่มการรับรู้ การพิจารณา และคอนเวอร์ชันสำหรับสินค้าในกลุ่มไส้กรอกสดของ Jimmy Dean โดยใช้ความจริงเสริม (AR) และความจริงเสมือน (VR) ผู้บริโภคสามารถใช้ตัวกรองมือถือที่ฝึกฝนโดยแมชชีนเลิร์นนิ่ง สแกนไข่ปลดล็อกคูปองในร้านค้า Amazon เพื่อรับไส้กรอก Jimmy Dean ฟรีหนึ่งชิ้น

สร้างแคมเปญการตลาดเชิงประสบการณ์กับ Amazon Ads

Amazon Ads มีโซลูชันหลากหลายที่ช่วยให้แบรนด์ดำเนินแคมเปญการตลาดเชิงประสบการณ์ได้ประสบความสำเร็จ ต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่าง

แคมเปญการตลาดเชิงประสบการณ์ของแบรนด์ควรจะไม่ซ้ำใคร ทีมปรับแต่งของ Amazon Ads ทำงานอย่างใกล้ชิดกับแบรนด์เพื่อสร้างประสบการณ์ที่น่าจดจำ ไม่ว่าผู้มีโอกาสเป็นลูกค้าจะอยู่ในระดับใดของกรวยการตลาดก็ตาม แคมเปญนวัตกรรมแบบครบวงจรเหล่านี้ใช้ข้อมูลเชิงลึกแบบบุคคลที่หนึ่งของ Amazon เพื่อช่วยให้แบรนด์เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ หรือระดับโลกได้ พูดคุยกับทีมขายของเราเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติม

ร้านค้าช่วยให้แบรนด์สามารถจัดแสดงสินค้าโดยใช้ประสบการณ์การช้อปปิ้งที่ดื่มด่ำสมจริงแบบหลายหน้าบน Amazon และยังเป็นวิธีที่ช่วยผลักดัน การรับรู้ของแบรนด์ ต่อไปหลังจบอีเว้นท์อีกด้วย การตั้งค่าและแก้ไขร้านค้าทำได้ง่ายโดยใช้ไทล์แบบลากและวางหรือแม่แบบที่ออกแบบไว้ล่วงหน้า เพื่อให้คุณสามารถใช้ริชมีเดีย เช่น รูปภาพและวิดีโอได้โดยไม่ต้องเขียนโค้ด แบรนด์ต่าง ๆ สามารถเลือก URL ของ Amazon ที่ไม่เหมือนใครและจดจำได้ง่ายสำหรับร้านค้าของตน ซึ่งทำให้ผู้บริโภคที่ได้รับประสบการณ์แบบออฟไลน์สามารถค้นหาร้านค้าออนไลน์ของแบรนด์ได้ง่ายดายในภายหลัง แบรนด์ต่าง ๆ ยังได้รับรายงานเกี่ยวกับยอดขายของร้านค้า ช่วยให้เห็นข้อมูลเชิงลึกได้อย่างรวดเร็วเกี่ยวกับการเยี่ยมชม จำนวนการเปิดดูหน้าเพจและแหล่งที่มาของจำนวนการเข้าชม ซึ่งช่วยในการประเมินแคมเปญการตลาดเชิงประสบการณ์ของตน

Sponsored Display ช่วยให้แบรนด์สามารถสร้างโฆษณาดิจิทัลที่เป็นส่วนเสริมและเน้นกลยุทธ์การตลาดเชิงประสบการณ์ได้ในพริบตา ไม่ว่าจะมีงบประมาณมากหรือน้อยเท่าใด แบรนด์ต่าง ๆ สามารถสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่ใดก็ตามที่พวกเขาใช้เวลาโดยใช้แคมเปญดิสเพลย์ที่สามารถสร้างขึ้นได้ในไม่กี่นาที

การตลาดเชิงกิจกรรมเป็นกลยุทธ์การตลาดที่ได้ผลทั้งในด้านการสร้างการรับรู้ของตราสินค้าและการสร้างยอดขายหากมีการจัดการส่งเสริมการขายพร้อมกันด้วย จึงเป็นการใช้งบประมาณด้านการตลาดที่ได้ผลกว่าการทำประชาสัมพันธ์ หรือการโฆษณา โดยสรุปการจัดทำกิจกรรมพิเศษต้องพิจารณาหลักการต่อไปนี้ (เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม, 2551)

1. กิจกรรมที่เลือกจัด ต้องมีลักษณะสอดคล้องกับบุคลิกภาพของตราสินค้า

2. ชื่อของกิจกรรมที่จัด ต้องมีชื่อของตราสินค้าร่วมอยู่ด้วย

3. เครื่องหมายและสัญลักษณ์ของกิจกรรม ต้องมีโลโก้ของตราสินค้าร่วมอยู่ด้วย

4. ต้องมีป้ายหรือโลโก้ของตราสินค้าในบริเวณงานอย่างทั่วถึง

5. ควรมีสัญลักษณ์ประจำงาน (Mascot) เพื่อสร้างความสะดุดตา คึกคัก เป็นที่น่าสนใจ

6. ควรเชิญสื่อมวลชนมาร่วมงานมากๆ

7. ต้องมีการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ อย่างเพียงพอ ทั้งก่อนและหลังการจัดกิจกรรม

8. ควรเชิญผู้มีชื่อเสียงหรือผู้ที่สังคมส่วนใหญ่รู้จักมาร่วมกิจกรรมในงาน เช่น ดารา นักร้อง นักกีฬา ที่มีชื่อเสียง

9. ควรใช้ร่วมกับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดอื่นๆ

อีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้การตลาดเชิงกิจกรรมได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วเนื่องมาจากการที่ลูกค้าหรือผู้บริโภคในปัจจุบันมีความแตกต่างกันมากขึ้น ทั้งในรสนิยม กิจกรรม รวมถึงวิธีการรับสื่อ ทำให้ลูกค้าแต่ละกลุ่มต่างมีความต้องการหรือพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไปมากขึ้น อีเว้นท์หรือกิจกรรมจึงเข้ามาทำหน้าที่ตรงนี้แทน เพื่อเจาะลูกค้าเฉพาะกลุ่ม สนองความต้องการได้อย่างแท้จริง ถึงแม้ว่ากลุ่มลูกค้าจะเล็กลงแต่การเข้าถึงลูกค้าตัวจริงได้ ก็ย่อมเพิ่มโอกาสในการขายได้ดีกว่า ดังการศึกษาของจิตรภัทร์(2543,บทคัดย่อ) ที่ดำเนินการศึกษาการมีส่วนร่วม ทัศนคติ การตัดสินใจซื้อ ความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อสินค้าความเกี่ยวพันสูงและสินค้าความเกี่ยวพันต่ำ ที่มีการจัดการตลาดเชิงกิจกรรม ผลการวิจัยพบว่าการมีส่วนร่วมกับการตลาดเชิงกิจกรรม มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภค การศึกษาดังกล่าวจึงยิ่งสะท้อนความสำคัญและประสิทธิผลของการตลาดเชิงกิจกรรมต่อการตลาดเชิงรุกในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น

หากแต่การทำการตลาดเชิงกิจกรรมให้เกิดประโยชน์สูงสุดไม่ใช่เพียงความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับรสนิยมหรือความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเท่านั้น แต่ยังจะต้องเป็นกิจกรรมที่โดดเด่น และน่าสนใจด้วย เพื่อผลในการประชาสัมพันธ์ สามารถดึงดูดสื่อมวลชนให้นำเสนอเป็นข่าว การจัดการตลาดเชิงกิจกรรมจึงต้องมีการวางแผนอย่างเป็นขั้นเป็นตอนด้วย ตัวอย่างเช่น การตลาดเชิงกิจกรรมของบริษัทผู้ผลิตเครื่องประดับแห่งหนึ่งอาจจะจัดงานภาคเช้าให้มีการประกวดหรือแข่งขันออกแบบเครื่องประดับอัญมณี ช่วงบ่ายอาจจะมีการเสวนาเรื่องการลงทุนในอัญมณีหรือเสวนากับนักวิชาการ ส่วนภาคค่ำเป็นการจัดปาร์ตี้เพื่อเป็นข่าวในเชิงสังคมและบันเทิง จึงจะเห็นว่าการจัดการตลาดเชิงกิจกรรมงานหนึ่งๆ มีความจำเป็นจะต้องวางกลยุทธ์ให้ดีเพื่อให้สามารถสร้างประโยชน์กลับมาในเชิงการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ดีที่สุด

การใช้การตลาดเชิงกิจกรรมเพื่อเจาะกลุ่มลูกค้านับวันจะแพร่หลาย แต่ปัญหาที่จะต้องพิจารณาและวางแผนอย่างรอบคอบ คือการสร้างการตลาดเชิงกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าและสามารถเผยแพร่ข่าวสารแก่คนส่วนใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำกิจกรรมอาจจัดขึ้นเพื่อสร้างการรับรู้เกี่ยวกับ “ตราสินค้า”(Brand Awareness) เพียงอย่างเดียวหรือเพื่อส่งเสริมการขายไปพร้อมกันก็ได้ ที่สำคัญคือต้องเตรียมพนักงานผู้รับผิดชอบไปให้พร้อมและพอเพียง การตลาดเชิงกิจกรรมที่ดีจะต้องมีการประสานงานกันระหว่างฝ่ายการตลาด และฝ่ายประชาสัมพันธ์ ต้องวางขั้นตอนและกระบวนการของกิจกรรมก่อนงาน ระหว่างงาน และภายหลังงานเพื่อสร้างความพึงพอใจและสร้างความจดจำในตราสินค้าต่อผู้บริโภคอย่างยั่งยืน และในขณะเดียวกันต้องบรรลุเป้าหมายของการจัดงานที่วางไว้ตอนต้นจึงจะถือได้ว่าเป็นการทำการตลาดเชิงกิจกรรมอย่างเหมาะสม

การสื่อสารการตลาด มีอะไรบ้าง

โดยทั่วไปแล้วส่วนประสมการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication Mix) จะ ประกอบด้วยเครื่องมือสื่อสารหลักส าคัญ 5 ประเภท ประกอบด้วย การโฆษณา (Advertising) การขาย โดยใช้พนักงานขาย (Personal selling) การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) การให้ข่าวและการ ประชาสัมพันธ์ (Publicity and Public Relations) และการตลาดทางตรง ( ...

การจัดกิจกรรมทางการตลาด มีอะไรบ้าง

1. การโฆษณา (Advertising) 2. การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling) 3. การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) 4. การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ (Publicity and Public Relation) 5. การตลาดทางตรง (Direct Marketing)

กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด มีอะไรบ้าง

กลยุทธ์ การส่งเสริมการตลาด มีอะไรบ้าง?.

โฆษณา โฆษณาเป็นวิธีที่ชัดเจนที่สุดในการส่งเสริมการตลาด หากทำได้ถูกวิธี โฆษณาสามารถขับเคลื่อนการรับรู้ของแบรนด์และการซื้อของลูกค้า.

การขายส่วนบุคคล ... .

การส่งเสริมการขาย ... .

การประชาสัมพันธ์ ... .

ตระหนักถึงตัวตน ... .

การกำหนดตัวตนแบรนด์ ... .

การสร้างความประทับใจ ... .

การส่งเสริมแบรนด์.

วัตถุประสงค์ของการสื่อสารการตลาด มีอะไรบ้าง

หน้าที่การสื่อสารการตลาด „ ทาให้เกิดการรับรู้รู้จัก Awareness „ ให้ความรู้Knowledge „ บอกข่าวสาร สร้างความเข้าใจ Linking „ ทาให้เกิดความพึงพอใจ Preference „ สร้างความมั่นใจ Conviction „ ผลักดันการขาย เกิดการซื้อ Purchase „ ดึงดูดสร้างความสนใจ Attention „ โน้มน้าวใจ Persuade „ สร้างแบรนด์ในใจผู้บริโภค Brand Building.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง