การบร หารจ ดการเคร อข ายบร การส ขภาพปฐมภ ม cup management

  • 1. เอกสารประกอบห้องย่อยวิชาการ “การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง” การประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน ครั้งที่ 2 จากความรู้สู่ระบบจัดการใหม่ จินตนาการเป็นจริงได้ไม่รู้จบ วันที่ 18 มกราคม 2555 เวลา 13.30 - 17.00 น. ห้อง Sapphire 1
  • 2. เอกสาร การจั ด การความท้ า ทายในเครื อ ข่ า ยบริ ก ารปฐมภู มิ เขตเมื อ ง มี เ ป้ า หมายเพื่ อ เป็ น เอกสารประกอบเวที เ สวนา บทเรี ย น New Systems and Services Management:: การจั ด การความท้ า ทายในเครื อ ข่ า ยบริ ก ารปฐมภู มิ เขตเมือง โดยนำ�เสนอแนวคิด แนวทางดำ�เนินงาน และผลลัพธ์ ปัญหาและอุปสรรคในการ พัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิในเขตเมืองเพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลของ 4 CUP ในงานประชุมประชุมวิชาการ มหกรรมสุขภาพชุมชน ครั้งที่ 2 “จากความรู้สู่ระบบ จั ด การใหม่ จิ น ตนาการเป็ น จริ ง ได้ ไ ม่ รู้ จ บ” ณ อาคารอิ ม แพ็ ค ฟอรั่ ม เมื อ งทองธานี ซึ่งประสบการณ์ของทั้ง 4 CUP จะเป็นประโยชน์ในการประยุกต์ใช้สำ�หรับการพัฒนา คุณภาพบริการปฐมภูมิในเขตเมืองของ CUP อื่น ๆ ต่อไป สำ�นักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) มกราคม 2555 การจัดการความท้าทาย 2 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 3. แก้ปัญหาความแออัด ในโรงพยาบาล CUP พระปกเกล้า การที่ผู้ป่วยมีสิทธิในการเลือกบุคลากรทางการแพทย์ และสถานบริการมีการ เปิดรับข้อร้องเรียนซึ่งสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น รวมทั้งยังมีการขึ้นทะเบียนจ่ายตรงสิทธิบัตร ข้าราชการที่สามารถท�ำได้หลายแห่งไม่จ�ำกัดจ�ำนวน และยังไม่มีระบบการประสานงานการ ให้บริการในเครือข่ายที่เหมาะสมกับระดับการให้บริการสุขภาพ ท�ำให้เกิดความแออัด ในโรงพยาบาล นี่คือปัญหาที่โรงพยาบาลทั่วไปมักพบเจอ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรีก็เช่นกัน จากสถิติในปี 2549 - 2553 ที่นี่มีผู้ป่วยนอกเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 2,168 คน/วัน เป็น 3,067 คน/วัน การที่มีผู้ป่วย เพิ่มมากขึ้นท�ำให้การบริการผู้ป่วยไม่มีคุณภาพมากพอ จึงเกิดการร้องเรียนและฟ้องร้อง เพิ่มมากขึ้น เพื่อลดปริมาณผู้ป่วย และเพิ่มคุณภาพการบริการ โรงพยาบาลพระปกเกล้าจึงได้ มีการด�ำเนินโครงการใกล้บ้านใกล้ใจในปี 2553 - 2554 เพื่อพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ ของอ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ซึงการด�ำเนินโครงการในครังนี้ จะครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ ่ ้ ระบบบริการและปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อการพัฒนาระบบ และประเมินผลการด�ำเนินงาน ให้มีคุณภาพมากกว่าเดิม การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 3
  • 4. โครงสร้างเครือข่งเครือขายระบบบริการสุขภาพอ�ำเภอเมือง โครงสรา ายระบบบริการสุข ภาพอําเภอเมือง บริการทุติยภูมิ ตติยภูมิระดับสูง PCU OPD - สรางระบบเครือขาย - จัดระบบคิว/นัด เชื่อมโยง - จัดตัง้ ศูนยประสานงานสงตอ พัฒนาระบบฐานขอมูลเครือขาย -พัฒนา PCU พัฒนาระบบเครือขาย - บุคลากร - บริการนอกเวลา พัฒนาระบบสงตอ + สงกลับ - สถานที่ พัฒนาระบบ IT และสารสนเทศ - ขยายบริการบางสวนสู PCU พัฒนาระบบสงตอ + สงกลับ - ครุภัณฑ - ระบบ IT - พัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบ IT และสารสนเทศ - ทํางานเชิงรุก - ประชาสัมพันธ - การมีสวนรวมชุมชน อปท. - สรางพลัง Self / Family / Community / Care - ประชาสัมพันธ - GATE KEEPER - สงเสริมสุขภาพปองกันโรคตนเอง - ประชาสัมพันธ - สรางพลังชุมชน - การมีสวนรวมของ ครอบครัว ชุมชน อปท. แผนภูมที่ 1 โครงสรางเครือขายระบบบริการสุขภาพอําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ิ แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างเครือข่ายระบบบริการสุขภาพอ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ผลลัพธ ผลของการทําโครงสรางเครือขายระบบบริการสุขภาพอําเภอเมืองทําใหเห็นภาพเครือขายชัดเจน ผลลัพธ์ ผลของการท�ำโครงสร้างเครือข่ายระบบบริการสุขภาพอ�ำเภอเมืองท�ำให้เห็น เพื่อใชวางแผน ประสาน พัฒนา และงายตอการทําความเขาใจ แกทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ภาพเครือข่ายชัดเจน เพื่อใช้วางแผน ประสาน พัฒนา และง่ายต่อการท�ำความเข้าใจ แก่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง การจัดการความท้าทาย 4 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 5. ดหมาย บ การพัฒนาระบบปรึกลับ ระบบนั ส่งกลั ระบบนัดหมาย 1. การจัด1. การจัดระบบสนับสนุนเป็นพวงละพยาบาลพี่เแ้ยง ระบบสนับสนุนเปนพวง โดยมีแพทยแ โดยมีแพทย์ลีละพยาบาลพี่เลี้ยง มีการจัดโครงสรารจัดนเครือขา้ายชนิดเปนือข่ายชนิดPCUพวง พยาบาล/เจาหนาที่หนวยเวชศาสตรครอบครัว/ มีก างเป โครงสร งเป็นเครพวง จาก เป็น จาก PCU พยาบาล/เจ้าหน้าที่ แพทยเวชศาสตรครอบครัว เพืรอบครัว/ แพทย์เวชศาสตรย รอบครัว เพบปรารและเพิ่มการดูแลผู้ป่วย าหนาที่ PCU หน่วยเวชศาสตร์ค ่อปรึกษาหารือการดูแลผูปว ์คพัฒนาการใหื่อริก ึกษาหารือศักยภาพของเจ ดังแผนภูมิที่ ฒนาการให้บมการและเพิ่มศักยภาพของเจ้าหน้าที่ PCU ดังแผนภูมิที่ 2 และแผนภูมิที่ 3 พั 2 และแผนภู ริ ิที่ 3 เครือขายหนวยบริการ CUP โรงพยาบาลพระปกเกลาจันทบุรี ศูนยเวชศาสตร 89 PCU เกาะขวาง ครอบครัว รพ.พระปกเกลา PCU จันทนิมิต ศูนยบริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองจันทบุร ี CMU หนอง บัว (รอง) 11,644 PCU PCU บานพลับพลา PCU บานเสม็ดงาม PCU คม PCU คม หนองขอน บาง บาง (รอง) 1,093 PCU ทาชาง (รอง) PCU บางกะจะ CMU คลองนารายณ PCU บานเขานอย PCU บาน PCU บานชํา แสลง โสม PCU พลับพลา แผนภูมที่ 2 แสดงการประสานงานสนับสนุนเปนพวง ิ แผนภูมิที่ 2 แสดงการประสานงานสนับสนุคมเปนพวง ้ยง มีพยาบาลเวชศาสตรครอบครัว เวชกรรมสัง นเป็ นพี่เลี มีพยาบาลเวชศาสตร์ครอบครัว เวชกรรมสังคมเป็นพี่เลี้ยง การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 5
  • 6. นพ.ฉัตรชัย พญ.อุไร พญ.กุลวรรณ แผนภูมิที่ 3 แสดงแพทย์รับผิดชอบในพวงเครือข่าย แผนภูมที่ 3 แสดงแพทยรับผิดชอบในพวงเครือขาย ิ ผลลัพธ์ การใช้การสนับสนุนเป็นพวง มีพยาบาลเวชศาสตร์ครอบครัว เวชกรรมสังคม ผลลัพธ การใชการสนับสนุนเปนพวง มีพยาบาลเวชศาสตรครอบครัว เวชกรรมสังคมเปนพี่เลี้ยง ทําใหเกิดระบบพี่ เป็นพีเ่ ลียง ท�ำให้เกิดระบบพีเ่ ลียงทีพบกัน รูจกกัน ปรึกษากันได้อย่างเป็นรูปธรรม ลดช่องว่าง ้ ้ ่ ้ั เลี้ยงที่พบกัน รูจักกัน ารในเครือข่าอยางเปนรูปธรรม ลดชองวางการใหบริการในเครือขาย การให้บริก ปรึกษากันไดย 2. การพัฒนาระบบส่งต่อ – ส่งกลับ ระบบนัดหมาย ● ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อจะมีใบ Refer น�ำมา และเมื่อรับไว้ในโรงพยาบาลจะมี แบบฟอร์ม Discharge plan เพื่อส่งกลับไป PCU / อสม. ในการติดตามต่อและส่งกลับ มาที่ศูนย์เวชศาสตร์ครอบครัว (ส�ำหรับผู้ป่วยในเขตอ�ำเภอเมือง) ส่วนผู้ป่วยนอกเขตอ�ำเภอ เมือง กลุ่มงานเวชกรรมสังคมจะเป็นผู้ติดตาม การจัดการความท้าทาย 6 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 7. 1 คน พยาบาล 1 คน เจ้าหน้าที่ 2 คน ในเวลาราชการ มีโทรศัพท์เคลื่อนที่สายตรง 2 เบอร์ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อบริการให้ค�ำปรึกษาในระบบ ● ระบบนัดหมายต่อไปจะส่งมาที่ศูนย์ประสานบริการปฐมภูมิ เฉพาะใน CUP อ�ำเภอเมืองติดต่อ Online internet และโทรศัพท์สายตรง ยืนยันทั้ง 2 วิธี ผลลัพธ์ การพัฒนาระบบส่งต่อส่งกลับและการนัดหมายดังกล่าว ท�ำให้มีการเตรียม พร้อมในการส่งต่อส่งกลับ ผู้ใช้บริการเสียเวลาน้อย สะดวกในการรับบริการ ได้รับการ บริการที่เหมาะสมทุกระดับ ช่วยลดความแออัด สามารถดูแลการส่งเสริมสุขภาพได้ละเอียด มากขึ้น เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ 3. เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ PCU ● เจ้าหน้าที่ PCU ได้ศึกษาต่อพยาบาลเวชปฏิบัติครบทุกแห่ง ● มีการเพิ่มเติมความรู้ในการประชุม คปสอ. ทุกเดือน ● จัดท�ำ CPG ร่วมกัน ● ทบทวนการช่วยชีวิต (Resuscitation ทุกปี) ผลลัพธ์ การเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ท�ำให้เจ้าหน้าที่มีความมั่นใจในการให้บริการ เกิด การบริการสุขภาพเหมาะสมกับศักยภาพระดับ รพศ. PCU และชุมชน 4. ลดภาระงานที่ซ�้ำซ้อน/งานที่ผู้อื่นช่วยได้ ● การจ้างบุคลากรที่มีความรู้คอมพิวเตอร์ให้ PCU ทุกแห่ง PCU ละ 1 คน และ / PCUเดียว PCU หลัก จ้างเพิ่มให้อีกแห่งละ 1 คน ผลลัพธ์ การจ้างงานในอัตราจ้างเพิ่มช่วยลดภาระงานทั่วๆ ไปที่เจ้าหน้าที่อัตราจ้าง สามารถช่วยได้ เช่น งานธุรการ งานสถิติ รายงานต่างๆ และงานบริการสุขภาพตามความ สามารถ ท�ำให้พยาบาลและเจ้าหน้าที่มีเวลาให้บริการรักษา และท�ำงานส่งเสริมสุขภาพ ถึงในระดับชุมชนได้มากขึ้น การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 7
  • 8. ประจ�ำ ● เครือข่าย พร้อมรถ 1 คัน มีหน้าที่ดังนี้ 1. Key เบิกยา 2. Key เบิกวัสดุ 3. จัด Set ต่างๆ Sterile ไปเปลี่ยน 4. จัดยาไปส่งให้ อ�ำเภอ สสอ. สสจ. โรงพยาบาลศูนย์ 5. รับส่งหนังสือของ PCU ไปที่ต่างๆ 6. เปลี่ยนแทงค์ O2 7. เปลี่ยนเครื่อง Suction ฯลฯ ที่ผู้ป่วยอยู่ที่บ้านยืม 8. รับขยะติดเชื้อ 9. รับเปลี่ยนยาใกล้หมดอายุ 10. บริการอื่นๆ แทนเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ต้องเสียเวลามาท�ำเอง ผลลัพธ์ ช่วยลดภาระงานที่ซ�้ำซ้อนของทุก PCU ท�ำให้เจ้าหน้าที่มีเวลาพัฒนางาน ส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น ● การเพิ่มระดับการรักษาพยาบาลใน PCU o เพิ่ม Item ยาของ PCU จาก 85 Item เป็น 117 Item เพื่อเพิ่มศักยภาพ การให้บริการผู้ป่วย o มีการ Circulate ยา โดยน�ำยาที่ก�ำลังจะหมดอายุภายใน 60 วัน มาแลก กับยาของโรงพยาบาลศูนย์ o จัดครุภัณฑ์ให้ทุก PCU จนครบมาตรฐานก�ำลังจัดซื้อ EKG mobile อ่าน ผลอัตโนมัติ ส่ง EKG ที่ผิดปกติทาง electronic ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เพื่อพิจารณาส่งต่อ ได้รวดเร็ว เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุครอบคลุมอ�ำเภอเมือง ผลลัพธ์ ผู้ป่วยบางส่วนที่ผ่านการคัดกรองจากแม่ข่ายและเตรียมพร้อมการส่งกลับ มีความเต็มใจกลับไปรับบริการใกล้บ้านใกล้ใจ การจัดการความท้าทาย 8 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 9. จากการวิจัยเชิงคุณภาพ “การให้บริการเครือข่ายบริการสุขภาพปฐมภูมิอ�ำเภอ เมืองจันทบุรี” พบว่า PCU หลายแห่งมีปัญหาเรื่องขวัญก�ำลังใจ งานล้นมือ ขาดพลังใจ บางแห่งท�ำไปเรื่อยๆ ไม่ต้องการพัฒนา บางแห่งมีปฏิกิริยาต่อต้านการเพิ่มงานจากส่งผู้ป่วย รับบริการใกล้บ้านใกล้ใจ จากปั ญ หาเหล่ า นี้ จึ ง ได้ ด�ำเนิ น การจั ด ค่ า ย Empowerment 1 ครั้ ง จาก เป้าหมาย 3 ครั้ง ให้ครบทุกคน จึงสามารถพัฒนาโครงการนี้ได้ ผลที่เกิดขึ้นหลังการด�ำเนินโครงการ พบว่ามีการส่งกลับแล้วจ�ำนวน 8 PCU จาก ทั้งหมด 14 PCU ก�ำลังเตรียมส่งกลับ 3 PCU และยังไม่ส่งกลับ 3 PCU นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งเครือข่ายในเขตเทศบาลเพิ่มขึ้น 2 แห่ง แห่งแรกเป็น PCU นอกโรงพยาบาล เพื่อดูแลผู้ป่วยนอกในเขตเทศบาล จัดบริการที่สาธารณสุขจังหวัด เดิม และแห่งที่สองเป็นการพัฒนา PCU ของเทศบาล เพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และเข้า เป็นเครือข่ายดูแลส่งเสริมสุขภาพในเขตเทศบาล การจัดบริการ PCU ในเทศบาลเพิ่มอีก 2 แห่ง ได้ช่วยลดจ�ำนวนผู้ป่วยที่แออัดใน รพศ. โดยเฉพาะประชาชนในเขตเทศบาล ข้อสรุปที่ได้จากโครงการใกล้บ้านใกล้ใจ โครงการพัฒนาการให้บริการเครือข่ายสุขภาพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ได้ ด�ำเนินการพัฒนาโครงสร้าง พัฒนาระบบเครือข่าย พัฒนาศักยภาพบุคลากรและสถาน บริการได้ 12 แห่ง ใน 16 แห่ง อีกทั้งยังได้มีการประสานการดูแลสุขภาพกับองค์กรปกครอง ท้องถิ่นอีกหลายแห่ง โดยผลการด�ำเนินงานพบว่า ✓ จ�ำนวนผู้ป่วยที่ รพศ.ลดลง แต่ไปเพิ่มขึ้นที่ PCU ✓ เกิดความพึงพอใจทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ✓ ผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคง่ายๆหรือป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ที่สามารถรับบริการที่ศูนย์ บริการสุขภาพปฐมภูมิเลือกใช้บริการที่ PCU เพิ่มขึ้น ✓ ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพ สามารถส่งเสริมสุขภาพ ด้วยตนเองโดยชุมชน การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 9
  • 10. ✓ สุขภาพประชาชนดีขึ้น อัตราการป่วยลดน้อยลง ✓ มี ก ารพั ฒ นาระบบและประสานงานสนั บ สนุ น กั น ระหว่ า งเครื อ ข่ า ยแม่ ข ่ า ย (โรงพยาบาลศูนย์พระปกเกล้า) ศูนย์บริการสุขภาพปฐมภูมิ องค์กรส่วนท้องถิ่น และภาค ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม ✓ มีข้อค้นพบว่าเพื่อจะลดความแออัดใน รพศ. ต้องจ้างบุคลากรเพิ่ม ต้องสร้าง เครือข่ายลงไปถึง รพช. เนื่องจากผู้ป่วยนอกจ�ำนวน 2 ใน 3 จะมาจาก รพช. ข้อมูลโดย : นพ.ฉัตรชัย สวัสดิไชยและทีมงาน โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี เรียบเรียงโดย : ทีมวิชาการ สำ�นักงานวิจยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ั สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดการความท้าทาย 10 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 11. ิ ั ้ ั ั ื ่ ภายใต้ CUP เมองอยธยา ื ุ จุดเกิด CUP เมืองอยุธยา “โรงพยาบาลประทับใจ ไร้ความแออัด พัฒนา เครือข่าย” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการพัฒนาระบบการบริการปฐมภูมิเขตเมืองในชื่อ “โครงการอยุธยา” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ก่อให้เกิดระบบบริการปฐมภูมิในเขตเมืองที่มี ศูนย์แพทย์ชมชน เป็นหน่วยบริการทีกระจายในพืนทีจดต่างๆ ในเขตเทศบาล จำ�นวน 4 แห่ง ุ ่ ้ ุ่ ซึ่งแต่ละแห่งมีผู้ไปใช้บริการวันละ 100 – 150 คน ซึ่งช่วยลดภาระงานแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลจังหวัดได้ แต่อย่างไรก็ตามยังพบว่ามีสภาพของความแออัดเกิดขึ้นใน โรงพยาบาลซึ่งเห็นได้จากในปี พ.ศ. 2546 โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยามีผู้ป่วยนอก วันละกว่า 900 คน และเพิมขึนเป็นเกือบวันละ 1,300 คน ในปี พ.ศ. 2548 ทังๆ ทีมศนย์แพทย์ ่ ้ ้ ่ีู ชุมชน หรือ หน่วยบริการปฐมภูมิมาช่วยรองรับผู้ป่วยปฐมภูมิไปได้วันละ 500 – 600 คน แล้ ว ก็ ต าม และจากสภาพของจำ�นวนผู้ป่ว ยในที่เพิ่ มสู ง ขึ้ น จนจำ � นวนเตี ย งที่ ร องรั บได้ ไม่เพียงพอ กล่าวคือ มีผู้ป่วยนอนเตียงเสริมทุกวัน ดังนั้นการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ จึงจะมีบทบาทสำ�คัญที่จะพัฒนาการ บริการเพื่อรองรับการดูแลผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคทั่วไป ไม่ซับซ้อน และโรคเรื้อรัง ใน ระบบการดู แ ลทั้ ง มิ ติ ก ารรั ก ษาพยาบาล การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ การฟื้ น ฟู ส ภาพ และ การป้องกันโรคแบบใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อที่จะบรรเทาปัญหาความแออัดของผู้ป่วยนอก และ ผู้ป่วยในของโรงพยาบาลขนาดใหญ่ จากสภาพปัญหาผนวกกับนโยบายที่ชัดเจนของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การ ประชุมหารือในระดับจังหวัด ร่วมกับโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ได้เริมดำ�เนินการภายใต้ ่ โครงการ “บริการประทับใจ ไร้ความแออัด พัฒนาเครือข่าย” นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา จวบจนปัจจุบัน ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสำ�นักงานหลักประกัน สขภาพแหงชาติ ซงเปาหมายเชงรปธรรมของโครงการฯ คอ การพฒนาระบบบรการปฐมภมิ ุ ่ ึ่ ้ ิ ู ื ั ิ ู เขตเมืองให้เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน ให้สมกับคำ�ว่า “บริการใกล้บ้านใกล้ใจ” โดยมี การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 11
  • 12. เมือเจ็บป่วย ่ ่ ่ ยามใดชาวบ้านจะไปรับบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิใกล้บ้านอย่างมั่นใจและศรัทธา แนวคิดการพัฒนางานซึ่งผู้บริหารเน้นยํ้าตลอดเวลา คือ “สร้างเสริม หน่วยบริการปฐมภูมิให้เข้มแข็ง และสร้างความเชื่อมั่นกับประชาชน โดยคง บทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัวซึ่งดูแลผู้ป่วยได้ดีอยู่แล้วนั้น ถือเป็น กำ�ลังสำ�คัญของหน่วยบริการปฐมภูมิต่อไป” วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการ CUP เมืองอยุธยา เพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิที่มีการบริการเป็นเลิศ (Excellent PCU) ในบริบทบริการสาธารณสุขแต่ละระดับและสร้างความเชื่อมั่น และศรัทธาให้ประชาชน ในพื้นที่รับผิดชอบมาใช้บริการมากขึ้นในบริบทของพื้นที่ โดยการ ● พั ฒ นาเครื อ ข่ า ยบริ ก ารสาธารณสุ ข ทั้ ง ระบบ ตั้ ง แต่ โรงพยาบาลศู น ย์ / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชน ไปถึง PCU และระดับสถานีอนามัย ● เพิ่มความสามารถในการบริการจัดการหน่วยบริการปฐมภูมิผ่าน CUP ● จัดรูปแบบการบริการแบบครอบครัว (เวชศาสตร์ครอบครัว) ปีที่ 1 (2550) พัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ และพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตเมือง จำ�นวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์แพทย์วัดตึก ศูนย์แพทย์วัดอินทาราม ศูนย์แพทย์ป้อมเพชร และสถานีอนามัยวัดพระญาติ ี ปท่ี 2 (2551) พฒนาหนวยบรการปฐมภมิ จ�นวน 4 แหง ไดแก่ สถานอนามยบานใหม่ ั ่ ิ ู ำ ่ ้ ี ั ้ สถานีอนามัยลุมพลี สถานีอนามัยสำ�เภาล่ม และศูนย์แพทย์สำ�นักงานสาธารณสุข จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีท่ี 3 (2552) พัฒนาโดยสนับสนุนเสริมสร้างความแข็งแรงให้กบหน่วยบริการปฐมภูมิ ั ในปีที่ 1 และ 2 การจัดการความท้าทาย 12 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 13. หนา 13 กลไกการด�ำเนินงาน ลไกการดําเนินงาน โครงการบริกวามแออังานพัฒนาเครือขาย ารประทับใจฯ กลไกการดําเนิน โครงการประทับใจ ไรค ด ทีมที่ 6 พัฒนาระบบ IT -เชื่อมโยงขอมูล -จัดระบบขอมูลผูปวย  ทีมที่ 1 วิเคราะห และประเมินผล รพศ. พระนครศรีอยุธยา 2550 ทีมที่ 5 ประชาสัมพันธ -ทําประชาคม 2551 -จัดประชุมเชิงปฏิบติการ ั เพิ่มเติม 5 แหง 2552 รพช. 3 แหง(เพิ่มเติม) ทีมที่ 2 พัฒนา PCU •โครงสรางวัสดุ อุปกรณ ทีมที่ 3 พัฒนา OPD รพศ. ทีมที่ 4 พัฒนาระบบ Refer •อัตรากําลังและศักยภาพ •ระบบนัด - จัดตั้งศูนย Refer •การเชื่อมโยงขอมูล •One Stop Service - จัดประชุมชี้แจงการดําเนินงาน นตอนเตรียมการ ขั้นตอนเตรียมการ 1. วิเคราะหจุดแข็ง และจุ1. วิเนขององคุดแข็เพืและจุโอกาสพัฒนาโครงการ เป็นโอกาสพัฒนาโครงการ ดออ คราะห์จ กร ง ่อเปน ดอ่อนขององค์กร เพื่อ 2. เตรียมบุคลากรโดยการสรางความรูความเขาใจในการพัฒนากิจกรรมที่เาใจในการพัใหแก บุจกรรมที่เกี่ยวของไดรับทราบในท 2. เตรียมบุคลากรโดยการสร้างความรู้ความเข้ ปนเชิงวิจัย ฒนากิ คลากรที ป็น ระดับ ตั้งแตเชิังงหวัด ระดัแก่โรงพยาบาลและสถานีอนามัย จ วิจัย ให้ บ บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับทราบในทุกระดับ ตั้งแต่จังหวัด ระดับโรงพยาบาล 3. กําหนดพื้นที่เปาหมายสําหรัย ปแรกไดแก โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ศูนยเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนยแพทยวัดตึก ศูน และสถานีอนามั บ แพทยวัดอินทาราม ศูนยแพทยปอมเพชร และสถานีอนามัปีแดพระญาติโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา 3. ก�ำหนดพื้นที่เป้าหมายส�ำหรับ ยวั รกได้แก่ 4. จั ด หาบุ ค ลากรในการดู แ ลโครงการ ศูนย์แพทย์้ ง คณะกรรมการโครงการ ประกอบด ว ย แพทย พยาบาล และเจ า หน า ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว โดยแต งตั วัดตึก ศูนย์แพทย์วัดอินทาราม ศูนย์แพทย์ป้อมเพชร สาธารณสุขและสถานีอนามัยวัดพระญาติใหเหมาะสมในสถานบริการปฐมภูมิเปาหมาย โดยมีพยาบาลวิชาชีพประจําหน และมีการจัดสรรอัตรากําลัง บริการปฐมภูมิ และมีแ4. จั ดปนที่ปรึลากรในการดู แแพทยชุมชนตางๆ ่ ง ตั้ ง คณะกรรมการโครงการ พทยเ หาบุ ค กษาประจําศูนยลโครงการ โดยแต 5. แตงตั้งคณะทํางาน กําวย แพทย์ างานเปน 6 คณะเพื่อดําเนิาธารณสุข ่วางไวดังนี้ คณะที่ 1 ราก�ำลัง านวยการทําหนา ประกอบด้ หนดคณะทํพยาบาล และเจ้าหน้าที่ส นกิจกรรมทีและมีการจัดสรรอัต เปนคณะอํ ในการประสานและติดตามประเมินผลโครงการูมคณะที่ 2 พัโดยมีพยาบาลวารปฐมภูมิทําหนาที่ในการพัฒนางานบริการดา ให้เหมาะสมในสถานบริการปฐมภ ิเป้าหมาย ฒนาหนวยบริก ิชาชีพประจ�ำหน่วยบริการ ปฐมภูมิ คณะที่ 3 มิ ฒนาการบริกเารผูที่ปยนอกทําหนาทีนนการเชื่อมตอการบริการกับหนวยบริการปฐมภูมิ คณะที่ 4 กรรมก ปฐมภูพั และมีแพทย์ ป็น ปว รึกษาประจ�ำศู ่ใ ย์แพทย์ชุมชนต่างๆ การสงตอผูปวยทําหนาที่ประสานและคัดกรองผูปวยและเชื่อมประสานการรับสงตอและสงกลับผูปวยที่กําหนดตามมาตรฐา การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 13
  • 14. คณะเพื่อด�ำเนินกิจกรรมที่ วางไว้ดังนี้ คณะที่ 1 เป็นคณะอ�ำนวยการท�ำหน้าที่ในการประสานและติดตามประเมินผล โครงการ คณะที่ 2 พัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิท�ำหน้าที่ในการพัฒนางานบริการด้าน ปฐมภูมิ คณะที่ 3 พัฒนาการบริการผู้ป่วยนอกท�ำหน้าที่ในการเชื่อมต่อการบริการกับ หน่วยบริการปฐมภูมิ คณะที่ 4 กรรมการการส่งต่อผู้ป่วยท�ำหน้าที่ประสานและคัดกรอง ผู้ป่วยและเชื่อมประสานการรับส่งต่อและส่งกลับผู้ป่วยที่ก�ำหนดตามมาตรฐานไว้ คณะที่ 5 กรรมการด้านประชาสัมพันธ์ ท�ำหน้าที่ในการสื่อสารการบริการกับประชาชนในพื้นที่ด้วย รูปแบบบริการต่างๆที่เกิดขึ้น คณะที่ 6 กรรมการด้านพัฒนาระบบสารสนเทศท�ำหน้าที่ หาตัวช่วยในการพัฒนาโดยใช้ระบบ IT มาเป็นส่วนในการพัฒนา ขั้นตอนด�ำเนินงาน 1. การสร้างหน่วยบริการปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง สร้างศรัทธาต่อประชาชน ด�ำเนินการโดยปรับโครงสร้างการบริหารงานภายในกลุ่มภารกิจหลักปฐมภูมิ การปรับปรุง โครงสร้างทางกายภาพ ภูมิทัศน์ และการจัดสรรครุภัณฑ์ การจัดทีมที่ปรึกษา ได้แก่ การจัด แพทย์จากโรงพยาบาลศูนย์ ท�ำหน้าที่เป็น PCU Manager เป็นเสมือนพี่เลี้ยงในแต่ละหน่วย บริการปฐมภูมิ เป็นที่ปรึกษาโดยแบ่งตามโซนครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการคลินิก พิเศษตามบริบทในพื้นที่เพื่อพัฒนาหน่วยบริการ ได้แก่ คลินิกสุขภาพเด็กดี เปิดคลินิก โรคเรื้อรัง คลินิกเลิกสุรา/บุหรี่ ฯ การขยายเวลาการบริการนอกเวลา เพิ่มบริการช่วงเช้ามี แพทย์ตรวจหมุนเวียน-ช่วงบ่ายลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน พัฒนาบัญชีกรอบยาให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน รวมถึงการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ การพัฒนาด้านก�ำลังคน โดยจัดจ�ำนวน บุคลากรในการให้บริการโดยคิดตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ กรณีบุคลากรไม่เพียงพอ จัดอัตราก�ำลังตามภาระงานแต่ละพื้นที่ และจ้างบุคลากร ต�ำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ตามล�ำดับ สร้างเสริมศักยภาพบุคลากร จัดหลักสูตรอบรม ได้แก่ - พยาบาลปฏิบัติครอบครัวในระดับปฐมภูมิครอบคลุมทั้ง CUP - ฟื้นฟูพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว - ทักษะด้านสารสนเทศให้แก่บุคลากร - โครงการพัฒนาทักษะเวชศาสตร์ครอบครัว 5 สัปดาห์ เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างสหสาขา (The 5 Weekend) ได้รับการสนับสนุนคณะวิทยากร จากคณะแพทยศาสตร์ รามาธิบดี การจัดการความท้าทาย 14 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 15. Skills โดยให้บุคลากรของหน่วยบริการปฐมภูมิในแต่ละพื้นที่ มาเรียนรู้กับแพทย์ และระบบการให้บริการผู้ป่วยที่โรงพยาบาลศูนย์ โดยผ่าน โครงการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน (Context based learning) และมีเวที การจั ด การความรู ้ (KM) ระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ พื้ น ที่ ผ่ า นเรื่ อ งเล่ า Case conference ฯลฯ 2. พัฒนาระบบส่งต่อให้เชื่อมโยงทั้งเครือข่าย โดยจัดตั้ง Refer Center มีระบบ ให้ค�ำปรึกษาของแพทย์ในโรงพยาบาลศูนย์กับหน่วยบริการในเครือข่าย ระบบนัดหมาย และส่งตัวผู้ป่วยผ่าน Refer Center พัฒนาคู่มือ และแนวทางการรักษาโรคให้กับหน่วย บริการปฐมภูมิ และมีการส่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลับหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามโครงการส่ง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลับไปรักษาต่อที่หน่วยบริการปฐมภูมิใกล้บ้าน โดยมีการคัดกรองแฟ้ม ประวัติผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. โรงพยาบาลศูนย์พระนครศรีอยุธยา พัฒนาการบริการคลินิกเฉพาะทาง โดย ให้งานผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลจัดระบบคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/โรคทั่วไป จัดรถรับส่ง ผู้ป่วย และจัดตั้งคลินิกเฉพาะทาง ซึ่งประกอบด้วยคลินิกเฉพาะทางแต่ละสาขา เช่น คลินิก โรคหัวใจ คลินิกโรคไต คลินิกกระดูกพรุนฯลฯ คลินิกประกันสังคมนอกเวลาราชการ คลินิก เฉพาะทางเพื่อข้าราชการนอกเวลาราชการ 4. การพัฒนาระบบสารสนเทศ - ติดตั้งระบบ Internet ADSL ปัจจุบันความเร็ว 2 GB - โปรแกรมรายงานผลการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LIS) - โปรแกรมระบบส่งต่อผู้ป่วยในเครือข่าย (Referral System) - โปรแกรมการค้นหาประวัติผู้ป่วย (HN รพศ.) และท�ำบัตรใหม่ - โปรแกรมเบกจายตรงทใชในหนวยบรการปฐมภมครอบคลมศนยแพทยในเขตเมอง ิ ่ ี่ ้ ่ ิ ูิ ุ ู ์ ์ ื 5. การสร้ า งการมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ ชุ ม ชน และความร่ ว มมื อ ทุ ก ภาคส่ ว น มี กระบวนการส�ำหรับภาคประชาชน สร้างความเข้าใจให้กับประชาชน โดยท�ำเวทีประชาคม อย่างต่อเนื่องในพื้นที่ การผลิตสื่อ เพื่อสื่อสารกับประชาชนทุกช่องทาง (แผ่นพับ เคเบิ้ล ท้องถิ่น หนังสือพิมพ์ สื่อวิทยุ และเสียงตามสาย ฯลฯ) มีทีมจิตอาสาบริการประชาชนใน พื้นที่ที่ตนเองอาศัยอยู่ พัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนน�ำผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พัฒนาศักยภาพ อสม. เป็นต้น ภาคองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนงบประมาณ ยาผู้ป่วยเบาหวานให้กับ การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 15
  • 16. บริการปฐมภูมิ และศูนย์แพทย์ ผลลัพธ์การด�ำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาที่เห็นเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน คือ การเพิ่มการ เข้าถึงบริการ (Access to care) ได้แก่ การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้มีแพทย์แบบ เต็มเวลาและบางเวลา ในรูปแบบศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์แพทย์ชุมชน สถานีอนามัย และศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล กระจายอย่างทั่วถึงในอ�ำเภอทั้ง 10 แห่งรวมทั้งการ พัฒนาสถานีอนามัยเป็นหน่วยบริการหลักและการจัดระบบโซน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการทีมศกยภาพในพืนทีใกล้บาน มีการพัฒนาศักยภาพสถานบริการปฐมภูมิ ่ีั ้ ่ ้ ทุกแห่ง โดยมีการพัฒนาพยาบาลเวชปฏิบัติอยู่ประจ�ำทุกแห่ง ซึ่งรูปธรรมที่สะท้อนให้เห็น ได้ชัดเจน คือ การมีจ�ำนวนผู้บริการในสถานบริการปฐมภูมิเพิ่มมากขึ้น ซึ่งพบว่า อัตรา การรับบริการของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคทั่วไปเข้ารับการรักษาที่ศูนย์แพทย์ชุมชน เพิ่มขึ้นชัดเจน ในขณะเดียวกันอัตราการใช้บริการของผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้น ในอัตราที่ลดลง เมื่อพิจารณาในมิติของผู้รับบริการ พบว่า ประมาณร้อยละ 80 ของประชาชน โดยรวมมีความพึงพอใจในการรับบริการซึ่งหมายถึง การบริการที่ประทับใจ ในเรื่องเวลา จะพบว่าผู้รับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกช่วงระยะ 2 ปีแรก ระยะเวลารอคอยใกล้เคียงกัน ประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง แต่เมื่อเข้าปีที่ 3 นั้น พบว่าระยะเวลารับบริการลดลงเท่ากับ 54 นาที ส่วนระยะเวลารอคอยที่หน่วยบริการปฐมภูมิในภาพรวมเฉลี่ยประมาณ 34.28 นาที แสดงให้เห็นว่าการไปใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิผู้รับบริการจะได้รับการบริการที่ รวดเร็ว ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากต้นทุนการพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายหน่วยบริการที่ ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องและการพัฒนาด้านสารสนเทศซึ่งเข้ามามีบทบาทตั้งแต่แรกเริ่ม ซึ่งหากมองในช่วง 1 – 2 ปีแรกถือเป็นช่วงแห่งการพัฒนา ทดลอง เกิดการปรับเปลี่ยน ตลอดเวลาจนกระทั่งปีที่ 3 ถึงเสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้จริง การพัฒนาและใช้ประโยชน์ระบบ สารสนเทศสามารถเข้ามาช่วยสร้างความเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลศูนย์ กับ โรงพยาบาลชุมชน และ สถานีอนามัย/ศูนย์แพทย์ ช่วยลดระยะเวลาการเดินทางเข้ามา การจัดการความท้าทาย 16 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 17. Internet เมื่อมาถึงโรงพยาบาลศูนย์สามารถเข้าพบแพทย์ตามเวลานัด โดยผ่าน ระบบนัดหมายได้เลยไม่ตองเสียเวลานังคอยตรวจทีโรงพยาบาล มีผลท�ำให้ระยะเวลารอคอย ้ ่ ่ ลดลงเหลือประมาณ 30 – 40 นาที แสดงให้เห็นถึงบรรยากาศที่ไร้ความแออัด ซึ่งจาก ที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการด�ำเนินงานภายใต้บริบทพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตลอด ระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมานั้น ท�ำให้เห็นว่าการด�ำเนินดังกล่าวได้สอดคล้องและเหมาะสม ดังชื่อ “บริการประทับใจ ไร้ความแออัด พัฒนาเครือข่าย” ได้อย่างแท้จริง ปัญหาและอุปสรรค 1. จากปัจจัยภายใน บุคลากรมีจ�ำกัด และต้องการพัฒนาศักยภาพ เช่น - แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว มีไม่ครบตามเกณฑ์ที่จะให้บริการในทุกหน่วย บริการปฐมภูมิ จึงต้องให้แพทย์เป็นที่ปรึกษาประจ�ำโซน - พยาบาลเวชปฏิ บั ติ มี ศั ก ยภาพไม่ เ พี ย งพอ ท�ำให้ ต ้ อ งจั ด อบรมเพิ่ ม เติ ม ใน หลักสูตรต่างๆ เช่น การพัฒนาทักษะเวชศาสตร์ครอบครัว 5 สัปดาห์เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างสหสาขา (5 – weekend), การเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน (Context based learning) - วัสดุอุปกรณ์บางรายการไม่เพียงพอ 2. จากปัจจัยภายนอก - ความเข้าใจภาคประชาชน ที่มิได้ไปใช้สิทธิตามที่ระบุไว้ในบัตรทอง เช่น การไปใช้บริการข้ามเขต - ระบบสารสนเทศที่ยังใช้ต่างระบบท�ำให้การรวบรวมข้อมูลมีปัญหา - การส่งตัวที่ไม่เป็นไปตามระบบ เช่น ผู้ป่วยไปรักษาที่มหาวิทยาลัยโดยไม่มีการ ดูแลตามระบบ การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 17
  • 18. 1. การเตรียมความพร้อม ความเข้าใจ ประเด็นในโครงการมีความส�ำคัญยิ่ง ต่อทั้งคณะท�ำงานกลาง ผู้ให้บริการในหน่วยปฐมภูมิ ผู้ป่วย และประชาชนทั่วไป ซึ่งต้อง สร้างความเข้าใจในการด�ำเนินการก่อนเริ่มโครงการและควรจะมีการประเมินปัญหาและ อุปสรรคเป็นระยะ 2. การพัฒนาระบบบริการ : ควรก�ำหนดแผนการพัฒนาให้ชัดเจน (Service Plan) โดยก�ำหนดให้ระดับปฐมภูมิ มุ่งเน้นสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ระดับทุติยภูมิ มุ่งพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนให้มีศักยภาพสูงขึ้น และตติยภูมิ มุ่งพัฒนาไปสู่ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ตรงกับบริบทของพื้นที่ 3. การติดตามผลลัพธ์การด�ำเนินงานควรมีการประเมินเป็นระยะและตัวชี้วัดใน แต่ละพื้นที่จะมีความแตกต่างกันการเปรียบเทียบผลส�ำเร็จจะต้องประกอบด้วยบริบทของ ในแต่ละพื้นที่ สรุปบทเรียนการพัฒนางานระบบบริการปฐมภูมิในเขตเมือง ผ่านโครงการพัฒนาบริการประทับใจฯ ด้านการบริหารและการจัดการ บทเรียนที่ 1 การมีทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยที่ให้ชุมชนและภาคท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในรูปคณะกรรมการ บทเรียนที่ 2 ผู้ทำ�งานมีใจร่วมกันและมีศักยภาพเข้าใจแนวคิด (คนทำ �งานมีใจ ยอมรับเข้าใจเป้าหมายร่วมกัน) “มีการดูแลเฉพาะทาง/คลินิกเฉพาะทางมี ระบบการส่งต่อและปรึกษาเฉพาะทางมีแพทย์ออกตรวจ พยาบาลได้พัฒนา ตนเองเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติ HHCที่มีการดูแลครอบคลุม เป็นทีมสหสาขา จัดการดูแลสมบูรณ์มากขึ้น” การจัดการความท้าทาย 18 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 19. การออกแบบโครงการที่ มี ค วามชั ด เจนในแต่ ล ะระยะทำ � ให้ เ กิ ด แนวทางการพัฒนาที่มีรูปธรรมชัดเจนทำ�ให้เป็นขั้นตอน 1. ให้เจ้าหน้าทีในหน่วยบริการแต่ละระดับได้ออกแบบกิจกรรมโครงการร่วมกัน ่ ออกแบบติดตามประเมินผลและร่วมกิจกรรม 2. ระดมสมองทำ � ประชาคมจากท้ อ งถิ่ น และทำ � กิ จ กรรมร่ ว มกั น โดยของ งบประมาณสนับสนุนจากท้องถิ่น บทเรียนที่ 4 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยสนับสนุนการสร้างเครือข่ายการ ดูแลรักษาที่เป็นรูปธรรมมีโปรแกรมเมอร์ในการพัฒนาฐานข้อมูลให้สมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน จัดระบบพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแม่ข่าย (รพศ.) ผู้ปฏิบัติ จัด ระบบฐานข้อมูลของหน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลศูนย์ให้เป็นระบบ เดียวกันที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ บทเรียนที่ 5 การจัดระบบการสื่อสารทั้ง Formal และ Informal ให้มีขั้นตอนที่ ชัดเจนและลดความซับซ้อนเน้นการสื่อสารในลักษณะ Two way การประสาน เชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารต่างกำ�หนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน มีการฟังเสียงสะท้อน ของเจ้าหน้าที่ก่อนที่จะกำ�หนดนโยบาย และในเวทีของการจัดประชุมที่ต้อง ตัดสินใจ ผู้ที่เข้าประชุม (ที่เป็นตัวแทน) ต้องเป็นผู้แทนที่สามารถตัดสินใจได้เข้า ประชุมเพื่อให้ที่ประชุมสามารถตัดสินใจสนับสนุนได้ในการพัฒนาต่อไปได้ บทเรียนที่ 6 การพัฒนา PCU อย่าเน้นรูปแบบเดียวกันให้เน้น ความชอบ ถูกใจ ถนัด การมีส่วนร่วมคิดและองค์ความรู้ในการดูแลรักษาต้องมีการฟื้นฟูความรู้ และทักษะเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องและ/หรือ ปฐมนิเทศฝึกปฏิบัติก่อนการ ปฏิบัติในแต่ละมาตรฐานการดูแลรักษา (ระบบยา การทำ�หัตถการ การใช้ อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์) การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 19
  • 20. บทเรียนที่ 1 นโยบาย การดูแลรักษาระดับปฐมภูมเิ ป็นทางออกของการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพ ช่วยลดจำ�นวนผ้ป่วยท่ไม่จำ�เป็นต้องมาโรงพยาบาล ประชาชน ู ี มีสขภาพแข็งแรง ลดการรักษาโรค “การพัฒนาบริการ ถ้าปฐมภูมเิ ป็นทางออกของ ุ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จะช่วยป้องกันให้เขามีสุขภาพแข็งแรง ไม่เกิด โรค ลดการรักษา แพทย์พยาบาลมีสัมพันธภาพกันมากขึ้น รู้จักกันกว้างขวางขึ้น จากโครงการต่าง ๆ เช่น งานพัฒนาการเด็กที่สถานีอนามัยตำ�บลลุมพลี” บทเรียนที่ 2 บริหารจัดการ ระบบบริหารจัดการแบบ Autonomous เพราะ ระบบการทำ�งานต่างกันกับ Secondary care การจัดสรรงบประมาณในแต่ละ ระดับต้องชัดเจน ควรแยก Primary Secondary และ Tertiary เพราะจะช่วย ตอบโจทก์การพัฒนาได้รวมทั้งการสนับสนุนบุคลากรอย่างเพียงพอ บทเรียนที่ 3 งานปฐมภูมิเป็นคำ�ตอบของการดูแลประชาชนที่เหมาะสม ดำ�เนินการ บริการรักษาที่เหมือนกับรักษาที่โรงพยาบาล จะช่วยให้การดูแลประชาชนได้ อย่างสมบูรณ์ ลงช่องว่างการเข้าถึงบริการที่ได้รับได้อย่างสมบูรณ์ทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ บทเรียนที่ 4 อยากให้ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริหารงานส่วนท้องถิ่น ผู้นำ�ชุมชน ได้เข้ามามีส่วนร่วม จะได้เกิดการพัฒนาและดูแลกันอย่างถูกต้อง และสมบูรณ์ ข้อมูลโดย : CUP เมืองอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา เรียบเรียงโดย : ทีมวิชาการ สำ�นักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดการความท้าทาย 20 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 21. โรงพยาบาลศรีสะเกษ เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 500 เตียง เพียงแห่งเดียวใน จังหวัดศรีสะเกษ ประชากรทั้งจังหวัดจ�ำนวนประมาณ 1,440,000 คน มีประชากรในเขต พื้นที่รับผิดชอบ คือในเขตเทศบาล เขตอ�ำเภอเมือง และอ�ำเภอพยุห์ ประมาณ 166,000 คน รวมทั้งต้องรับรักษาต่อในผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนทั้ง 18 แห่ง ในจังหวัดศรีสะเกษ รวมทั้งผู้ป่วยจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น อ�ำเภอค้อวัง จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งท�ำให้เกิดจ�ำนวน ผู้ป่วยนอกที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลศรีสะเกษมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้เกิด ความแออัด คับคั่งของการรับบริการที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ เกิดการรักษาที่อาจจะไม่ทัน เวลาส�ำหรับการรักษาในเวลาราชการ สาเหตุอาจเกิดจากหลายปัจจัย อย่างเช่น ตึกผู้ป่วย นอก โรงพยาบาลศรีสะเกษ ในแบบแปลนเดิมที่มีขนาดเล็กและเก่ามาก ทรุดโทรม มีรอย แตกร้าวหลายที่ แต่ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณมานาน อีกสาเหตุหนึ่งก็คือ การ บริหารจัดการผู้ป่วยในระบบส่งต่อที่ส่งผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนทั้ง 18 แห่ง ก็เป็น สาเหตุหนึ่งของการเกิดความแออัดในผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลศรีสะเกษ เพราะ ผู้ป่วย ที่ส่งต่อมาที่เรานั้น ไม่ใช่ผู้ป่วยในระบบนัดหมายของห้องตรวจโรคเฉพาะทาง อย่าลืมว่าเรา เป็นโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ ที่ก�ำลังจะก้าวไปเป็นตติยภูมิและเป็นโรงเรียนแพทย์ ฉะนั้น ผู้ป่วยที่มาพบแพทย์เฉพาะทางที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ ควรมีระบบการคัดกรองที่เป็น ระบบ ในการแยกคนไข้มาที่เรานั้น อาจจะแยกผู้ป่วยตามโรคที่แพทย์โรงพยาบาลชุมชน เขียนใบส่งตัวมา แต่ท�ำยังไง โรงพยาบาลศรีสะเกษจะรูวาคนไข้ทจะมาหาหมอทีนี่ จะเดินทาง ้่ ี่ ่ มาวันไหน แล้วถ้ามาถึงจะได้ตรวจกับคุณหมอได้ทันในวันที่มาหรือเปล่า ซึ่งแน่นอนก็ ไม่มีทางทราบได้ก่อน บางทีมาถึงก็ลืมใบส่งตัวมาด้วยก็มี ก็เป็นปัญหาเรื่องสิทธิ์การรักษา อีก ไม่มีเงินจ่ายค่ายาเองบ้าง เป็นภาระให้โรงพยาบาลเราต้องสงเคราะห์ค่าใช้จ่ายให้บ้าง บางรายต้องท�ำสัญญาค้างช�ำระค่าบริการไว้ คราวหน้าค่อยมาจ่ายค่ารักษาก็มี ท�ำให้ความ รู้สึกที่มีต่อโรงพยาบาลศรีสะเกษ บางครั้งกลายเป็นลบทันทีในการรักษาที่มีปัญหาจากการ ส่งต่อที่ขาดข้อมูลใบส่งตัว เพราะปัญหามักจะเกิดอยู่ที่ปลายทางมากกว่าต้นทางอยู่แล้ว การจัดการความท้าทาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง 21
  • 22. คือผู้ป่วยที่ มีระดับความเจ็บป่วยอยุ่ในขั้นฉุกเฉินถึงฉุกเฉินมาก ส่วนใหญ่มักจะรีบเดินทางมาด้วย ความเร่งด่วน บางครังขาดข้อมูลทีส�ำคัญทีโรงพยาบาลศรีสะเกษ ควรจะได้ทราบก่อนล่วงหน้า ้ ่ ่ เพื่อเตรียมการ หรือ โรงพยาบาลชุมชนควรจะทราบว่าเครื่องมือของเราตอนนี้มีเพียงพอ ส�ำหรับคนไข้ทีก�ำลังจะเดินทางมาหรือไม่ บางครั้งท�ำให้ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจจะเสีย เวลาในการเดินทางมาที่เรา ถ้าในวันนั้นเครื่องมือเราไม่เพียงพอ เนื่องจากจ�ำนวนคนไข้ ที่มากเกินไป ถ้าโรงพยาบาลชุมชนรู้ข้อมูลนี้ ก็สามารถเดินทางผ่านไปที่โรงพยาบาล สรรพสิทธิ์ประสงค์ที่ จ.อุบลฯได้เลย นั้นคือปัญหาในระบบส่งต่อของเราก็คือ ขาดการ สื่อสารข้อมูลของผู้ป่วย รวมทั้งข้อมูลเครื่องมือทางการแพทย์ รวมทั้งแพทย์บุคลากรต่างๆ ของแต่ละโรงพยาบาล ว่ามีเพียงพอหรือไม่ ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เป็ น ปั ญ หาที่ ท�ำให้ เ กิ ด เป็ น โอกาสพั ฒ นาของโรงพยาบาล ศรีสะเกษ เริ่มต้นที่ นพ.ชาย ธีระสุต ได้ย้ายมาเป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลศรีสะเกษ ประกอบกับช่วงนั้นระบบการรักษาด้วยบัตรทอง 30บาท ต้องมีระบบการส่งต่อการรักษา และมีระบบการเรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์ จากโรงพยาบาลชุมชนที่ส่งต่อผู้ป่วย มารับการรักษาที่เรา รวมทั้งเรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์จากผู้ป่วยในระบบส่งต่อ ที่ต้อง Admission หรือนอนโรงพยาบาลที่เรา ท�ำให้เกิดความคิดว่าจะท�ำยังไงถึงจะรู้ว่า คนไข้แต่ละคนที่มานั้น มีสิทธิ์การรักษายังไง มีเลขที่ใบส่งตัวที่ต้องบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ในการเรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์ การบันทึกข้อมูลคนไข้ที่ถูกส่งตัวมาที่ต้องนอน โรงพยาบาลนั้น ต้องมีขั้นตอนยังบ้างที่คนไข้จะไม่ต้องเสียเงินเอง ในช่วงแรกของการเริ่มต้นการพัฒนาระบบส่งต่อของเรา จึงเริ่มต้นด้วยการท�ำให้ เกิดระบบการตรวจสอบสิทธิ์คนไข้ทุกคน 100 % โดยจัดตั้งศูนย์ Admit.-Refer ขึ้นมา ในปี 2546 ซึ่งเป็นแนวคิดของท่าน ผอ.ชาย ธีระสุต ที่ให้คนไข้ทุกคนที่มารักษาที่เรานั้น ได้รับสิทธิประโยชน์ตามสิทธิที่ถูกต้องของตนเอง เราเปิดบริการ 24 ชั่วโมง มีเจ้าหน้าที่ ให้บริการตรวจสอบสิทธิ์ ลงทะเบียนออกเลขที่ใบส่งตัว หรือลงทะเบียนนอนโรงพยาบาล ด้วยเช่นกัน มีพยาบาลวิชาชีพเป็นหัวหน้าศูนย์ฯ คอยให้ค�ำแนะน�ำเรื่องการปฏิบัติตัวเมื่อจะ การจัดการความท้าทาย 22 เครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง