ตัวอย่าง data flow diagram แต่ละ level

ก่อนการสร้างบ้าน ผู้สร้างย่อมมีความต้องการทราบรายละเอียดถึงตัวอาคารที่จะจัดสร้าง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของผู้อยู่อาศัย

  • เช่นเดียวกันกับระบบ ก่อนจะมีการสร้างระบบ ผู้สร้างระบบก็ย่อมต้องการทราบความเป็นไปและเป็นมาของระบบ เพื่อการออกแบบระบบใหม่ที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด

*

ความสำคัญของการวิเคราะห์ (ต่อ)

  • อุปกรณ์ที่มักนำเอามาพิจารณาและวิเคราะห์ระบบ (แบบแปลนระบบ)
    • Context Diagram
    • Data Flow Diagram
    • E-R Diagram
    • System Flow Chart / Flow Chart
    • etc.
  • ความผิดพลาดของโปรแกรมเมอร์มากมายที่ออกแบบระบบโดยไม่ผ่านการวิเคราะห์ ก่อให้เกิดผลเสียมากมาย เช่น เวลา, ค่าใช้จ่าย

*

แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram)

  • DFD คือ แผนภาพกระแสข้อมูลที่มีการวิเคราะห์แบบในเชิงโครงสร้าง (Structure) ซึ่งเป็นแผนภาพที่บอกถึงรายละเอียดของระบบ โดยเฉพาะข้อมูล และผังการไหลของข้อมูล
  • สิ่งที่ DFD บอกเรา
    • ข้อมูลมาจากไหน
    • ข้อมูลไปที่ใด
    • ข้อมูลเก็บที่ใด
    • เกิดเหตุการณ์ใดกับข้อมูลบ้าง

*

DFD (ต่อ)

  • ขั้นตอนของการวิเคราะห์เพื่อสร้าง DFD

1. ศึกษารูปแบบการทำงานในลักษณะ Physical ระบบงานเดิม

2. ดำเนินการวิเคราะห์เพื่อให้ได้แบบจำลอง Logical ระบบงานเดิม

3. เพิ่มเติมการทำงานใหม่ภายในแบบจำลอง Logical ระบบงานเดิม

4. พัฒนาระบบงานใหม่ในรูปแบบของ Physical

*

วัตถุประสงค์ของ DFD

  • เป็นแผนภาพสรุปรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการวิเคราะห์
  • เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่าง SA และ User
  • เป็นแผนภาพที่ใช้ในการพัฒนาต่อในขั้นตอนออกแบบ
  • เป็นแผนภาพที่ใช้ในการอ้างอิง หรือเพื่อใช้พัฒนาต่อ
  • ทราบที่ไปที่มาของกระบวนการต่าง ๆ

*

ดังนั้น DFD จึงมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาระบบ

ซึ่ง SA หรือ Programmer ไม่สามารถมองข้ามได้

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนภาพกระแสข้อมูล

*

DFD Format (เปรียบเทียบ)

*

กฎเกณฑ์การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูล

  • สัญลักษณ์ของแผนภาพไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้โดยตรง ซึ่งต้องมี Flow บอกทิศทางของกระแส (Flow ระบุข้อมูล)
  • และการ Flow ทุกครั้งจะต้องผ่าน Process ก่อนทุกครั้ง (ไม่ผ่านไม่ได้)
    • Process = กิริยา
    • Flow = ข้อมูล
    • Boundaries, Entity = องค์กร, หน่วยงาน

*

ขั้นตอนการเขียน DFD

1. วิเคราะห์ให้ได้ว่าระบบประกอบไปด้วย Boundaries ใดบ้างที่เกี่ยวข้อง

2. ดำเนินการออกแบบระบบในระดับหลักการ หรือ Context Diagram

3. วิเคราะห์ข้อมูลในระบบว่าควรมีข้อมูลใดบ้าง

4. วิเคราะห์กระบวนการหรือ Process ในระบบว่า ควรมี Process หลักใด และประกอบไปด้วย Process ย่อยใดบ้าง (ควรสร้างแบบมีหลักการของระบบ)

5. ดำเนินการเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลในระดับต่าง ๆ

6. ทำการตรวจสอบ Balancing และปรับแก้ Redraw จนได้แผนภาพที่สมบูรณ์

7. อาจใช้ CASE Tools ช่อยในการเขียนแผนภาพ

*

Boundaries

  • สามารถเป็นได้ทั้ง บุคคล, องค์กร, หน่วยงาน
  • ซึ่งในการพิจารณาเพื่อระบุลงไปใน DFD จะพิจารณาถึงส่วนที่ระบบไม่สามารถควบคุมได้ แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบ

*

Data Store

  • คือแหล่งเก็บข้อมูล เช่น ข้อมูลนักศึกษา, ข้อมูลบุคลากร
  • โดยภายในสัญลักษณ์สามารถที่จะมีเลขประจำข้อมูลระบุได้
    • ลูกศรจาก Data Store หมายถึง Input
    • ลูกศร Process ไปยัง Data Store หมายถึง Output
    • ลูกศรสองทาง หมายถึง Input/Output

*

Process

  • คือ กระบวนการที่ต้องทำในระบบ
  • โดยจะพิจารณาจะกิริยาหรือการกระทำภายในระบบเป็นหลัก
  • ซึ่งภายใน 1 แผนภาพ ไม่ควรมี Process มากเกินไป(7-2)
  • ในการเขียน Process จะต้องมีหมายเลขกำกับอยู่ด้วย เป็นลำดับชั้นไล่ไปเรื่อย ๆ เพื่อให้ทราบว่า Process ใด มาจาก Process ใด

*

Context Diagram (แผนภาพสิ่งแวดล้อม)

  • คือการออกแบบในระดับบนสุดของ DFD
  • เป็นแผนภาพที่แสดงภาพรวมสูงสุดของระบบ ซึ่งจะแสดงถึงสิ่งแวดล้อมของระบบและองค์ประกอบหลัก ๆ เท่านั้น
  • โดยที่จะมีเพียง 1 Process ซึ่งเป็นชื่อของระบบ (0) และจะไม่มี Data Store ปรากฏอยู่ใน Context Diagram โดยเด็ดขาด

*

ตัวอย่าง Context Diagram

*

DFD Level 1

  • จะนำ Context Diagram มาแตกรายละเอียดภายใน ซึ่งจะแสดงถึง Process หลัก ๆ, ผู้เกี่ยวข้อง, ข้อมูลภายใน ที่มีความละเอียดมากขึ้น (Top down Design)
  • ในระดับนี้จะปรากฎทุก ๆ ชนิดของ Object DFD
  • ต้องมีการกำกับหมายเลข Process ด้วยทุกครั้ง
  • หลักการ
    • เขียนในกระดาษแผ่นเดียว
    • ลูกศรไม่ทับกัน โดยนำเอามาเฉพาะ Object ที่จำเป็น
    • ควรจัดการลำดับแผนภาพเป็นลำดับแบบ Process Hierarchy Chart (นำภาพออกมาทีละลำดับขั้น ลดความสับสน)

*

ตัวอย่างการแบ่งหมวดหมู่เพื่อ PHC

  • List of Object in DFD

*

หลักการแบ่ง PHC

  • แบ่งตามลักษณะของกิจกรรม
  • โดยแบ่งตามความสำคัญเป็นลำดับชั้นในลักษณะของ Sub Set
  • ข้อควรระวัง !!
    • ไม่ควรนำเอารายละเอียดที่ต่างความสำคัญมาไว้ในชั้นเดียวกัน (ความสัมพันธ์ต่างระดับ เพราะจะทำให้เกิดความสับสน ในการออกแบบหรือเขียน DFD ในระดับอื่น ๆ)

*

DFD Level 2

  • เป็นแผนภาพ DFD ในระดับย่อยลงมา ที่แสดงรายละเอียด Data Flow และ Process ย่อยลงมาของ Level 1 เพื่อเพิ่มความละเอียดของกระบวนการมากยิ่งขึ้น แต่ตั้งแต่ Level ที่ 2 ลงไป จะมีแผนภาพนี้ขึ้นตามความจำเป็นเท่านั้น (ซึ่งขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของข้อมูล และกิจกรรมที่ต้องการแตกรายละเอียด)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง