การประเม นสภาพผ ป วยท ม อาการผ ดปกต ท ห องตรวจโรคopd

2. กรณีทเ่ี ปนการพมิ พจากระบบคอมพวิ เตอรจ ะตอ งมีการระบผุ รู ับผิดชอบตามระบบการจดั การของหนว ยบรกิ ารหรือโรงพยาบาลนั้น

เกณฑขอที่ 1 3. กรณที ีม่ ีการบันทกึ หลายลายมือ หรือมกี ารแกไ ขเพ่ิมเติมขอ มูลหรือกรณีที่เขียนดวยดนิ สอโดยไมม ีการลงลายมอื ชอ่ื ของเจา หนาที่ กํากบั จะไมนาํ ขอความน้ันมาใชใ นการประเมิน มขี อมูลผูป วยถูกตอง ครบถว น ไดแ ก ขอ มูลชื่อ นามสกลุ เพศ (หรือคํานําหนาช่อื เชน นาย นาง....) HN และอายุ (หรือวันเดอื นปเ กดิ ของผปู ว ย กรณไี มท ราบวนั เดอื นเกิด อนุโลมใหม ีเฉพาะป พ.ศ.ได

เกณฑขอ ท่ี 2

มีขอมูลทอ่ี ยูปจจุบันและขอมูลเลขประจําตัวประชาชนของผปู วย หรือเลขท่ใี บตางดา ว กรณคี นตา งดาวที่เกดิ ในไทยแตไมสามารถทจ่ี ะ ขึน้ ทะเบยี นเปน คนไทยไดใ หระบุ "ไมม ีเลขที่บัตร" สว นชาวตางชาตใิ หระบุเลขทหี่ นังสอื เดนิ ทาง ในกรณีท่ีผปู วยไมรูสึกตัว ตองระบุ รายละเอียดวา "ไมรูสกึ ตัว" กรณผี ปู วยเสียชีวิตและไมพบหลักฐาน ใหระบุ "เสียชีวติ และไมพ บหลักฐาน"

เกณฑข อท่ี 3 มีขอมลู ช่ือและนามสกลุ ของญาติ หรือผูทีใ่ หต ิดตอ ไดใ นกรณีฉุกเฉนิ โดยระบคุ วามสัมพนั ธกบั ผูปวย ทอ่ี ยหู รอื หมายเลขโทรศัพทท ่ีติดตอ

ได (กรณีทเ่ี ปน ท่ีอยเู ดียวกบั ผูปว ย อาจบันทึกวา บ.ด.ก) กรณผี ปู วยไมร ูส กึ ตัวหรอื ไมมญี าติใหร ะบุ "ไมรสู ึกตัว" หรอื "ไมม ีญาติ"

เกณฑข อ ท่ี 4 มขี อมลู ประวตั ิการแพย าและประวัติการแพอืน่ ๆ พรอมระบุช่ือยาและสงิ่ ที่แพ (กรณีไมท ราบชือ่ หรือไมม ปี ระวัติการแพตอ งระบุ "ไม

ทราบ" หรือ "ไมม ีประวตั กิ ารแพ")

เกณฑข อ ท่ี 5 มขี อมลู หมเู ลอื ดหรอื บันทึกวา "ไมท ราบ" หรอื "ไมเ คยตรวจหมูเ ลอื ด"

เกณฑขอท่ี 6 มีขอ มูลวนั เดอื นป ท่บี นั ทึกขอ มลู และชือ่ ผรู ับผิดชอบในการบันทกึ ขอมลู เกณฑข อ ที่ 7 มีขอ มลุ ช่ือ นามสกลุ ,HN ในทุกแผนของเวชระเบยี นที่มกี ารบนั ทกึ ขอมลู การรกั ษา ในกรณที เ่ี วชระเบยี นบนั ทกึ ในรปู ของอิเล็กทรอนกิ ส

ตองมีขอมลู ชื่อ นามสกุล ,HN ทกุ หนาท่สี งใหต รวจสอบ

หกั 1 คะแนน กรณีทีม่ กี ารแกไ ขหรอื เพ่ิมเตมิ ขอ มูล โดยไมมีการลงลายมือชอื่ กํากับการแกไ ขน้นั ยกเวน กรณีท่มี กี าร หมายเหตุ บนั ทึกเลขทะเบยี นการใหบรกิ ารของ

หนวยบรกิ ารหรอื โรงพยาบาล เชน AN , เลขที่ X-rays เปนตน

2. History

เอกสารท่ใี ชป ระเมนิ : เวชระเบยี นผูปว ยนอก โดยใชขอมลู ประวตั ิการเจบ็ ปว ยท่ีบันทกึ ในการเขารบั บริการในครง้ั นั้น กรณีผูปวยทั่วไป : ใชขอมูลการบนั ทกึ ในการเขารับการตรวจการรักษาใน Visit ทต่ี อ งการตรวจ

กรณีผปู ว ยโรคเร้อื รงั : ใชข อ มูลจากการตรวจรักษาโรคเรอ้ื รงั ในครัง้ แรกของปท ตี่ องการตรวจ (ปปฏิทนิ ) ยกเวนกรณที ่ตี รวจพบโรคเร้อื รงั นัน้ มานอยกวา 3 เดือน (ในปป ฏทิ นิ : ตค.-ธค.) ใหใชขอมลู การซักประวัติในการตรวจรกั ษาโรคเร้ือรังนั้นใชในการตรวจประเมิน เกณฑข อท่ี 1 มกี ารบนั ทึก Chief complaint อาการหรอื ปญหาทผ่ี ปู วยตองมาโรงพยาบาล เกณฑข อท่ี 2 มีการบันทึก Present illness ในสว นของอาการแสดงและการรกั ษาที่ไดม าแลว (กรณผี ูปว ยนอกโรคทว่ั ไป)หรอื ในสว นประวตั กิ ารรกั ษาที่

ผานมา (กรณีผูป วยนอกโรคเรอื้ รงั )กรณีไมไ ดร ักษาทีใ่ ดมากอนใหร ะบวุ า "ไมไดร ักษาจากที่ใด"

เกณฑขอ ท่ี 3 มบี ันทกึ Underlying disease และการรักษาทีไ่ ดร ับอยูใ นปจจบุ นั ถกู ตอ งครบถว นตามขอมูลที่ปรากฏในเวชระเบยี น กรณที ีไ่ มม ี Underlying disease หรอื ไมมีการรกั ษาตองระบุ "ไมม ี......." หรือ ขอความอน่ื ท่แี สดงถึงมกี ารซักประวัติและไมพบ Underlying disease หรือไมมกี ารรกั ษา

เกณฑขอ ที่ 4 มีบนั ทึก Past illness ประวตั กิ ารเจบ็ ปวยในอดีตท่ีสําคญั ประวัตกิ ารผาตดั และประวัติการเจบ็ ปว ยในครอบครัวท่ีเก่ียวของกับปญ หา เกณฑข อท่ี 5 ที่มา หรือสอดคลอ งกับปญหาทสี่ งสัย เกณฑข อ ที่ 6 มบี นั ทกึ ประวัติการแพยาและประวตั กิ ารแพอน่ื ๆ พรอ มระบชุ ่ือยาหรือส่งิ ที่แพ

เกณฑขอ ที่ 7 มบี ันทกึ ประวัตปิ ระจาํ เดือน (กรณเี ปน ผหู ญงิ อายุ 11-60 ป) หรอื ประวัติ Vaccination และ Growth development (กรณเี ดก็ อายุ 0-14 ป)หรอื Social history หรือ Personal history (กรณีไมเก่ยี วขอ งใหระบุ NA) มบี ันทึกประวัติการใชสารเสพตดิ การสบู บหุ ร่ี การดื่มสรุ า โดยระบุจาํ นวน ความถี่ และระยะเวลาท่ใี ช ในกรณผี ปู วยเดก็ (0-14 ป) ให ซกั ประวตั กิ ารใชสารเสพตดิ การสบู บหุ รี่ การดมื่ สรุ าของบุคคลในครอบครวั

หมายเหตุ 1. เกณฑการประเมนิ ในขอ 3,4,5,6 และ 7 กรณผี ปู วยไมรูส กึ ตัว ไมมีญาตหิ รอื ไมสามารถซกั ประวัติไดใหบ นั ทึกวา "ไมรูสกึ ตวั และไม มญี าต"ิ ใหร ะบุ NA 2. ใหคะแนนเพิ่ม 1 คะแนน

กรณีทีม่ ีการบันทึก Present illness ครบทั้ง 5W ,2H (what , where, when, why, who, how, how many)

3.Physical examination

เอกสารท่ใี ชป ระเมนิ : เวชระเบยี นผปู วยนอก โดยใชข อมลู ในสวนของการตรวจรา งกายของแพทย พยาบาล และหรอื เจาหนาทส่ี าธารณสขุ ท่เี กี่ยวของกับการใหบ ริการในครง้ั นน้ั

กรณผี ูป วยทัว่ ไป : ใชขอมูลการบันทึกในการเขารบั การตรวจการรกั ษาใน Visit ท่ีตอ งการตรวจในคร้ังนัน้

กรณผี ูปว ยโรคเรอื้ รงั : ใชข อ มูลจากการตรวจรกั ษาโรคเร้ือรังในครั้งแรกของปที่ตองการตรวจ (ปปฏิทนิ ) ยกเวนกรณที ต่ี รวจพบโรคเร้ือรงั น้ันมานอยกวา 3 เดอื น (ในปปฏทิ นิ : ตค.-ธค.) ใหใ ชขอ มลู การตรวจรางกายในการตรวจรักษาโรคเร้อื รังนั้นใชในการตรวจประเมิน

เกณฑขอ ที่ 1 มีบันทึกวนั เดอื นป และ เวลาทีผ่ ูปวยไดรบั การประเมินคร้ังแรก

เกณฑขอ ที่ 2 มีการบันทึกการตรวจรางกายโดยการดู หรือ เคาะ สว นทนี่ าํ ไปสกู ารวินิจฉยั ทสี่ อดคลอ งกบั chief complaint กรณีท่ผี ลการตรวจประเมนิ ปกตอิ าจบนั ทึกโดย ระบุ WNL (within normal limit)

เกณฑข อท่ี 3 มีการบนั ทึกการตรวจรางกายโดยการคลาํ หรือ ฟง สวนทนี่ ําไปสูการวินจิ ฉัยทีส่ อดคลองกบั chief complaint กรณที ผี่ ลการตรวจปกตอิ าจบันทึกโดยระบุ WNL (within normal limit)

เกณฑข อ ที่ 4 มีบันทกึ Palse rate , Respiration rate และ Temperature ทกุ ราย

เกณฑข อ ที่ 5 มบี นั ทึก Blood Pressure ทุกราย ยกเวน ในเด็กเล็กอายุนอ ยกวา 3 ป ใหพิจารณาตามสภาพปญ หาของผปู ว ย กรณไี มจ าํ เปนตองบันทกึ ใหร ะบุ NA

เกณฑข อท่ี 6 มีบนั ทกึ น้ําหนกั ทกุ ราย และสว นสูงในกรณดี ังตอ ไปน้ี 1. 1.กรณีเดก็ บันทกึ สว นสงู ทุกราย 2.2.กรณผี ใู หญ บันทึกสว นสูงในการณีทีม่ คี วามจําเปนตองใชค า BMI(Body Mass Index) หรอื คา BSA(Body Surface Area) ในการวางแผนการรกั ษา เชน ราย ที่ตองใหยาเคมบี าํ บัด เปน ตน (กรณีที่ชั่งน้าํ หนักและวัดสว นสูงไมได ตองระบุ)

เกณฑข อ ที่ 7 มกี ารสรุปการวินิจฉยั โรคทเี่ กีย่ วขอ งและสอดคลองกับผลการซกั ประวตั ิหรอื ผลการตรวจรา งกาย

4. Treatment / Investigation

เอกสารทใ่ี ชป ระเมนิ : เวชระเบียนผปู วยนอก โดยใชขอ มูลในสว นของการรักษา หรือการตรวจเพื่อวนิ จิ ฉยั ของแพทย พยาบาลและหรอื เจาหนาท่ีสาธารณสขุ ทเี่ ก่ยี วของกบั การ ใหบ รกิ ารในคร้งั น้ัน เกณฑข อที่ 1 มบี ันทึกการสงั่ และมผี ลการตรวจทางหอ งปฏิบัตกิ าร หรือ รงั สี หรือการตรวจอื่น ๆ การส่งั ตรวจอาจจะอยูครั้งกอ นหนา ได กรณีท่เี ปน Standing order หนว ย

บริการตองแสดงหลกั ฐาน Standing นั้น

* กรณีทไี่ มมีการสง่ั การตรวจใหเ ปน NA

* กรณีที่ไมมีการบนั ทกึ การส่งั การตรวจวนิ จิ ฉยั แตมผี ลการตรวจและมีบนั ทกึ การสั่งตรวจวินจิ ฉยั แตไ มม ีผลการตรวจ ไมผา นเกณฑ

* กรณีทผี่ ลการตรวจนั้นไดข อ มูลจากใบสง ตอ (ใบ Refer) ตองระบุ

เกณฑขอ ท่ี 2 มบี นั ทกึ การใหก ารรกั ษา การส่งั ยา การทาํ หัตถการ (ถา มี) ท่สี อดคลองกบั การวินิจฉยั ยกเวน กรณที ีแ่ พทยรบั ผปู ว ยเขา พักรกั ษาอยใู นโรงพยาบาล ตอ งมบี นั ทึกวา เกณฑขอท่ี 3 "admit…" มบี ันทึกการสงั่ ยาทรี่ ะบุรายละเอยี ด ช่อื ยา ความแรง ขนาดท่ใี ช จาํ นวนยาท่สี ง่ั จา ย กรณไี มมกี ารสัง่ ยาใหเ ปน NA

เกณฑข อที่ 4 มีบนั ทึกการใหคาํ แนะนาํ เกี่ยวกบั โรคหรือภาวะการเจบ็ ปว ย การปฏบิ ัติตวั หรอื การสังเกตอาการทผี่ ิดปกติ หรือขอควรระวงั เก่ียวกบั การรับประทานยา ยกเวนกรณที ี่ แพทยร บั ผปู วยเขาพักรกั ษาอยใู นโรงพยาบาลตอ งระบุเหตผุ ล หรือแผนการรกั ษา

เกณฑข อ ท่ี 5 กรณีมีการปรกึ ษาระหวางแผนกตองมกี ารบันทกึ ผลการตรวจวนิ ิจฉัยหรือการรกั ษาท่ผี า นมา กรณที ่ไี มมีการสง พบแพทยอืน่ ใหเ ปน NA

เกณฑขอ ที่ 6 มีบนั ทกึ แผนการดแู ลรักษาตอ เน่อื งหรือการนดั มา Follow up

เกณฑข อท่ี 7 มกี ารบนั ทึกดว ยลายมือทอี่ านออกไดแ ละลงลายมือช่อื แพทยห รอื ผทู รี่ บั ผิดชอบในการตรวจรักษาโดยสามารถระบุไดวา เปนผูใด

หมายเหตุ ใหคะแนนเพม่ิ 1 คะแนน

5. Follow up

เอกสารทีใ่ ชประเมิน : เวชระเบียนผูปวยนอก โดยใชข อ มลู ในสวนของการตรวจตดิ ตามทีบ่ นั ทึกในการใหบ ริการในครั้งน้นั

กรณีผปู วยทว่ั ไป : จะตรวจประเมินขอ มูล Follow up ในกรณีทแี่ พทยน ดั มาดูอาการซ้าํ หรือกรณีรักษาตอ เนอื่ ง

กรณผี ปู วยโรคเร้ือรัง : จะทาํ การตรวจประเมินขอ มูล Follow up อกี 3 ครัง้ โดยใชขอ มูลในคร้งั ที่ 1,2 และ 3 ตามลาํ ดบั จากการ Visit ครง้ั แรก ในโรคเรือ้ รังเดียวกัน ในกรณีท่ใี นปนัน้ หรือชวงเวลาทกี่ ําหนดการตรวจประเมินมกี าร Follow up มากกวา 5 คร้ัง ใหใชขอ มูลใน Visit ที่ 1,3 และ 5 ตามลําดับ เกณฑข อ ท่ี 1 มกี ารบนั ทึกประวตั ิ หรือเหตผุ ลในการมา Follow up

เกณฑขอ ที่ 2 มกี ารบันทึกการวนิ จิ ฉยั โรค ท่ีสอดคลองกบั การรักษาทใ่ี ห

เกณฑข อ ท่ี 3 มบี ันทกึ Vital signs ในสว นท่เี ก่ยี วขอ ง หรอื การตรวจรา งกายที่จาํ เปน และเกยี่ วของ (ด,ู คลาํ , เคาะ, ฟง)

เกณฑข อ ท่ี 4 มีบนั ทึกการประเมนิ ผลการรกั ษาในครง้ั ทีผ่ านมา (Evaluation) หรอื สรปุ ปญ หาทเี่ กดิ ขึน้ และมบี ันทึกการรักษาท่ี ใหในครง้ั น้ี (Treatment) **กรณีทแี่ พทยรบั ผูปว ยเขา พักรักษาอยูในโรงพยาบาลตอ งระบเุ หตผุ ล หรอื แผนการรกั ษา**

เกณฑขอที่ 5 มีบันทกึ การสง่ั และมผี ลการตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการ หรือ รังสี และการตรวจอื่น ๆ การสงั่ ตรวจอาจจะอยูครง้ั กอนหนา ได กรณีท่เี ปน Standing order หนวย บริการตองแสดงหลกั ฐาน Standing นน้ั เกณฑขอ ท่ี 6 เกณฑข อท่ี 7 * กรณีทไ่ี มม กี ารสัง่ การตรวจ ใหเ ปน NA * กรณีที่ไมม ีการบันทึกการสงั่ การตรวจวินจิ ฉํย แตมีผลการตรวจ และมีบนั ทกึ การสงั่ ตรวจวินิจฉยั แตไมม ีผลการตรวจไมผ า นเกณฑ * กรณที ี่ผลการตรวจนนั้ ไดขอมูลจากใบสง ตอ (ใบ Refer) ตอ งระบุ มบี นั ทึกการใหคาํ แนะนําเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ัว หรือการสังเกตอาการที่ผดิ ปกติ หรอื ขอ ควรระวงั เก่ียวกบั การรบั ประทานยา แผนการดูแลรกั ษาตอเน่ือง หรือ การนัดมาFollow up คร้งั ตอไป **กรณีที่แพทยรับผูปว ยเขา พกั รกั ษาอยใู นโรงพยาบาล ให NA **

มีการบนั ทึกดว ยลายมือทอ่ี านออกไดและลงลายมอื ชือ่ แพทยห รือผทู ่ีรับผดิ ชอบในการตรวจรักษาโดย สามารถระบุไดว าเปน ผูใด

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง