องค์ประกอบของการสื่อสาร ตัวอย่าง


 

ͧ���Сͺ�ͧ���������â�����

      ���������â�������ͧ���Сͺ 5 ���ҧ (�ѧ�ٻ) ����


      1. ����� (Sender) ���ػ�ó�����㹡���觢������ (Message) �繵鹷ҧ�ͧ���������â�������˹�ҷ����������ҧ������ �� ���ٴ �÷�ȹ� ���ͧ�Դ��� �繵�
      2. ����Ѻ (Receiver) �繻��·ҧ���������� ��˹�ҷ���Ѻ�����ŷ��������� �� ���ѧ ����ͧ�Ѻ�÷�ȹ� ����ͧ����� �繵�
      3. ���͡�ҧ (Medium) ���͵�ǡ�ҧ ����鹷ҧ�������������͹Ӣ����Ũҡ�鹷ҧ��ѧ���·ҧ �����觢������Ҩ����¤��Դ����� �����͡���� �������ǹ��ʧ ���ͤ��蹷���觼�ҹ�ҧ�ҡ�� �� ������ ���������ǿ �����Է���Ҥ��鹴Թ ���ͤ����Է�ؼ�ҹ�������
      4. �����Ţ������ (Message) ����ѭ�ҳ����硷�͹ԡ�����觼�ҹ���к�������� ����Ҩ�١���¡��� ���ʹ�� (Information) ������ 5�ٻẺ �ѧ���
         4.1 ��ͤ��� (Text) ��᷹����ѡ��е�ҧ � ��觨�᷹�������ʵ�ҧ � �� ������ʡ� �繵�
         4.2 ����Ţ (Number) ��᷹����Ţ��ҧ � ��觵���Ţ�����١᷹����������ʡ���ж١�ŧ���Ţ�ҹ�ͧ�µç
         4.3 �ٻ�Ҿ (Images) �����Ţͧ�ٻ�Ҿ��᷹���¨ش�����§�ѹ仵����Ҵ�ͧ�ٻ�Ҿ
         4.4 ���§ (Audio) ���������§��ᵡ��ҧ�ҡ��ͤ��� ����Ţ ����ٻ�Ҿ���Т��������§�����ѭ�ҳ������ͧ�ѹ�
         4.5 �Դ��� (Video) ���ʴ��Ҿ����͹��� ����Դ�ҡ�������ѹ�ͧ�ٻ�Ҿ���� � �ٻ
      5. ��ⵤ�� (Protocol) ��� �Ըա�����͡�����º�����㹡��������â���������������Ѻ��м��������ö���㨡ѹ���ͤ�¡ѹ�������ͧ �·���ͧ��觷�駼���Ѻ��м�����鵡ŧ�ѹ����͹��ǧ˹������ 㹤�����������ⵤ���������ǹ�ͧ�Ϳ����������˹�ҷ�������ô��Թ�ҹ 㹡��������â�������仵�����������˹���� ������ҧ�� X.25, SDLC, HDLC, ��� TCP/IP �繵�

 

องค์ประกอบของกระบวนการติดต่อสื่อสาร

องค์ประกอบของกระบวนการติดต่อสื่อสาร

        สิ่งสำคัญที่จะให้การสื่อสารประสบความสำเร็จ คือ องค์ประกอบของกระบวนการ การติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับเรื่องนี้ อารมณ์ ฉนวนจิตร     (2556 : 132) สรุปได้ว่า "การติดต่อสื่อสารจะโดยวิธีทางตรง เช่น การพูด การอธิบาย การสนทนา หรือการติดต่อโดยใช้อุปกรณ์อื่นๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ อีเมล์ เป็นต้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ"

        1. ผู้ส่ง คือ ผู้ทำหน้าที่กระจายข้อมูล เริ่มต้นในการสื่อสาร เช่น ครูถ่ายทอดเนื้อหาวิชาของบทเรียนแก่นักเรียน

        2. สาร คือ ข้อมูล ข้อความ เนื้อหาสาระ ข้อเท็จจริง ที่จะถูกส่งไปยังผู้รับ

        3. สื่อ คือ ตัวกลางที่จะช่วยนำสารไปยังผู้รับ สื่ออาจสรุปได้ว่าเป็นช่องทางในการนำข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ

           สื่ออาจมีหลายๆ ชนิด เช่น คำพูด หนังสือ ในสมัยโบราณเราใช้ควันไฟส่งข้อความ ปัจจุบันเราใช้แสง ใช้เสียง มาเป็นสัญญาณในการส่งข้อความมากยิ่งขึ้น

        4. ผู้รับ คือ ผู้ที่รับข้อมูลจากผู้ส่งโดยผ่านรายการที่เรียกว่าสื่อชนิดต่างๆ

           "ในทางปฏิบัติจริงๆ แล้วจะพบว่าการสื่อสารเพื่อจะให้ได้ผลดี จำเป็นต้องมีการตอบโต้ระหว่างผู้รับและผู้ส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลจะทำให้การสื่อสารมีความสมบูรณ์มากเพิ่มขึ้น ฉะนั้น จึงไม่แปลกว่าบางครั้งผู้ส่งจะกลายเป็นผู้รับ และผู้รับจะเปลี่ยนเป็นผู้ส่งเสียเอง"

        ในทำนองเดียวกัน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2553 : 173-178) ได้เสนอรูปแบบกระบวนการติดต่อสื่อสารว่า

มีองค์ประกอบหลัก ได้แก่ ผู้ส่งสาร ข่าวสาร และผู้รับสาร ซึ่งแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน อธิบายได้ดังนี้

        1. ผู้ส่ง (Sender) หมายถึง ผู้พูด ผู้เขียน ผู้แสดงมีข่าวสาร ความคิดเห็นหรือความจริงที่ต้องการส่งไป ซึ่งเรียกว่า ความคิด (Ideation) ความคิดเห็นนี้สำคัญที่สุดจะเป็นพื้นฐานของข่าวสาร ความคิดเกิดขึ้นตามเหตุผล ความคิดจะลึกซึ้งเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้คิดจะสงสาร ผู้สมควรคิดเป็นลำดับขั้น คิดให้แจ่มชัดและตีความหมายก่อนจะส่งข่าวสารไปและการสื่อข่าวสารขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของผู้ส่ง ตัวอย่างเช่น ขณะที่อาจารย์กำลังสอนอยู่ถือว่าเป็นผู้ส่งสาร หรือขณะที่ผู้นิเทศดำเนินการนิเทศ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครู ผู้นิเทศก็ถือว่าเป็นผู้ส่งสารเช่นเดียวกัน
        2. ลงรหัส (Encoding) ผู้ส่งพยายามเรียบเรียงความคิดนั้นออกมาเป็นคำพูด สัญลักษณ์ การแสดง การส่งรหัสเป็นสิ่งจำเป็นเพราะข่าวสารจะส่งผ่านไปผู้อื่นได้ด้วยการมีสื่อด้วยเหตุนี้ถ้าผู้ส่งสารสามารถใช้ซื้อได้ถูกแบบก็จะง่ายและสะดวกแก่ผู้รับ ตัวอย่างเช่น ขณะที่ผู้นิเทศได้ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครูผู้รับการนิเทศนั้น ได้เรียบเรียงข้อมูลก่อนที่จะพูดโดยผ่านลำดับความคิดที่ได้รับการกลั่นกรองและพิจารณาข้อมูลมาแล้ว เพื่อให้ครูเกิดความเข้าใจที่ง่ายและชัดเจนมากยิ่งขึ้น
        3. ข่าวสาร (Message) ข่าวสารที่ใช้เป็นรูปแบบได้ 2 ประเภท คือ
           3.1 สื่อที่ใช้วาจา (Verbol Communication) ได้แก่ การใช้คำพูด การเขียน ซึ่งมักง่ายต่อการแปลความหมายถ้าผู้รับผู้ส่งเข้าใจตรงกัน
           3.2 สื่อที่ไม่ใช้วาจา (Non- Verbol Communication) เป็นการใช้สัญลักษณ์เป็นสื่อในการส่งข่าวสาร มีทั้งง่ายและยาก ขึ้นอยู่กับผู้รับและผู้ส่งที่จะแปลความหมายตรงกัน เช่น การพยักหน้าตอบรับ การยิ้ม การโบกมือ เป็นต้น
        4. ช่องทางข่าวสาร (Channel) ช่องทางเป็นการถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง เช่น อากาศสำหรับคำพูด กระดาษสำหรับจดหมาย ซึ่งจะไปพร้อมกับข่าวสารการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จำเป็นต้องมีช่องทางข่าวสารที่เหมาะสมกับข่าวสารที่ส่งไป การพูดจากันทางโทรศัพท์อาจจะไม่เหมาะสมกับการอธิบายให้เขียนเป็นแผนผังไดอะแกรม (Diagram) ทำให้จำเป็นต้องเลือกช่องทางข่าวสารที่เหมาะสม ผู้ที่อ่านหนังสือไม่ได้การส่งข่าวสารทางหนังสือพิมพ์ก็จะไม่มีประโยชน์ เป็นต้น
        5. ผู้รับ (Receiver) ผู้รับข่าวสารได้ดีต้องสอดคล้องกับสื่อ เช่น ถ้าสื่อด้วยคำพูดผู้รับต้องเป็นผู้ฟังที่ดี ฟังแล้วจับใจความได้ ถ้าสื่อด้วยการเขียน ผู้รับต้องอ่านจับใจความและเข้าใจได้ ข้อควรพิจารณาถึงคุณสมบัติของผู้รับ ได้แก่ วัยของผู้รับ เพศ การศึกษา ฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ บริเวณที่อยู่อาศัย ศาสนา เชื้อชาติ และภาษาที่แตกต่างกันไป เป็นต้น
        6. การถอดรหัส (Decoding) เป็นกระบวนการตีความหมายของผู้รับและแปลความหมายเป็นข่าวสาร เป็นกระบวนการ เป็นขั้นตอน ขั้นตอนแรกผู้รับต้องเป็นผู้รับรู้ข่าวสารก่อนแล้วจึงตีความ การถอดรหัสมีผลขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้รับ การประเมินของผู้รับ ภาษาท่าทาง และความคาดหวังของผู้รับ เช่น คนมีแนวโน้มที่จะฟังข่าวที่เขาต้องการจะฟังและความสามารถในการ ที่ผู้รับสามารถถอดรหัสให้เข้ากับผู้ส่งได้ ก็จะทำให้การติดต่อสื่อสารมีประสิทธิภาพ
        7. เสียง (Noise) หมายถึง สิ่งที่รบกวนที่ทำให้การส่งสารเกิดความเข้าใจผิดและตีความหมายผิดไป เสียงอาจหมายถึง ความไม่ตั้งใจฟัง สื่อที่ขาดประสิทธิภาพ เช่น เสียงวิทยุ ถูกรบกวนด้วยอากาศที่ไม่ดีแต่อย่างไรก็ตาม เสียงมันจะถูกรบกวนในช่วงของการส่งรหัสและถอดรหัส
        8. การป้อนกลับ (Feedback) เป็นการตีกลับของกระบวนการติดต่อสื่อสารถึงความรู้สึกของผู้รับสารและผู้รับสารก็กลายเป็นผู้ส่งสาร ซึ่งมีรูปแบบของการป้อนกลับแตกต่างกันไป บางทีก็เป็นการป้อนกลับทางตรงจากผู้รับ บางทีผู้รับไม่แสดงออกแต่ก็มีทางต้อนกลับทางอ้อมจัดการผ่านบุคคลอื่น ถ้าไม่มีข้อมูลป้อนกลับ ฝ่ายจัดการจะไม่รู้หรือรู้สายเกินไปที่จะแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้รับการนิเทศนำเสนอข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาการสอนของตนเองให้ผู้นิเทศฟัง ผู้นิเทศอาจให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้วยการให้ข้อมูลย้อนกลับด้วยวาจา หรือในรูปแบบของการเขียนรายงานผลการนิเทศให้ผู้นิเทศรับทราบ เป็นต้น
จากที่กล่าวมาข้างต้น แสดงดังแผนภูมิต่อไปนี้

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

อุปสรรคของการสื่อสาร

อุปสรรคของการสื่อสาร         การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพนั้น นอกจากขึ้นอยู่กับผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเรื่องนี้ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2550 : 29) ได้กล่าวถึง อุปสรรคที่ทำให้การสื่อสารไม่ประสบความสำเร็จ 4 ประการ ดังนี้         อุปสรรคของผู้ส่งสาร เช่น ขาดความรู้ในเรื่องที่นำเสนอ ความบกพร่องของผู้ส่งสารอาจเกิดจากสภาพร่างกายหรือจิตใจไม่ปรกติ ผู้ส่งสารขาดความสามรถในการสื่อสาร ทำให้การสื่อสารไม่ประสบผลสำเร็จ         อุปสรรคที่สาร เช่น สารเป็นเรื่องยากเกินไป ใช้รูปแบบที่ซับซ้อน สารนั้นขัดแย้งกับความเชื่อและค่านิยมของผู้รับสาร ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จในการสื่อสารเท่าที่ควร         อุปสรรคที่สื่อ เช่น สื่อถูกรบกวนหรือสื่อชำรุดบกพร่อง สื่อเทคโนโลยีส่วนมากจะเกิดปัญหาความชำรุดของสื่อ เช่น โทรศัพท์ขัดข้อง วิทยุโทรทัศน์ชำรุด ทำให้สื่อสามารถทำหน้าที่นำสารไปสู่ผู้รับได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ         อุปสรรคที่ผู้รับสาร เช่น ผู้รับสารมีอคติต่อผู้ส่งสารหรือมีอคติต่อสาร ผู้รับสารมีความคิดเห็นแตกต่างกับสาร ผู้รับสารขาดความพร้อม เจ็บป่

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร         การพูด การฟัง และการสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด รวมถึงการใช้ภาษาท่าทาง ( Nonverbal)  เป็นองค์ประกอบสำคัญของการสื่อสาร ดังนั้น ผู้นิเทศที่ดีต้องสามารถสื่อสารและสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องชัดเจน รวมถึงสามารถให้ข้อมูลสำคัญให้กับผู้รับการนิเทศให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่ต้องการสื่อสารดังนั้น "การสื่อสาร" จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งของการนิเทศการศึกษา          ในทำนองเดียวกัน คอสต้าและแกมส์ตัน ( Costa and Gramston, 2002  อ้างถึงในวัชรา เล่าเรียนดี , 2554 : 85)   ได้กล่าวถึงความสำคัญของการสื่อสารว่า มีความสำคัญมากต่อการปฏิบัติร่วมงานกันให้บรรลุเป้าหมายและประสบผลสำเร็จ การสื่อความหมายที่สำคัญ คือ การใช้วาจา คำพูด เช่น การใช้ระดับของเสียงในการพูด ความดังของเสียง การเน้นคำหรือข้อความ การสะท้อนความคิด การโต้ตอบและการใช้คำที่เหมาะสม ชัดเจนเข้าใจง่าย สำหรับการสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูดและใช้ภาษาท่าทาง ( Nonverbol)  เช่น ท่าทาง การยืน การนั่ง การแสดงออกซึ่งท่าทาง ระยะความห่างระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง ความตึงเครียด ความผ่อนคลายของท่าทางและการแสดงออกท

องค์ประกอบของการสื่อสารมีอะไรบ้าง ตัวอย่าง

องค์ประกอบหลักของระบบสื่อสารข้อมูลมีอยู่ 5 อย่าง ได้แก่ ผู้ส่ง (sender) ผู้รับ(receiver) ข่าวสาร(message) สื่อกลาง(media) และโพรโทคอล(protocol)

องค์ประกอบของการสื่อสารประกอบด้วยอะไรบ้างพร้อมทั้งอธิบายความหมาย และยกตัวอย่าง

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล.
1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น.
2. ผู้รับ (Receiver) ... .
3. สื่อกลาง (Medium) ... .
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) ... .
5. โปรโตคอล (Protocol).

หัวใจสําคัญของการสื่อสารคืออะไร

ภาษาเป็นหัวใจของกิจกรรมการสื่อสาร เพราะในการสื่อสาร ผู้ส่งสารจะใช้ภาษาเป็นสื่อพาสารไปสู่ผู้รับสาร การสื่อสาร คือ การติดต่อระหว่างมนุษย์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่จะให้ฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่งและเกิดการตอบสนอง การสื่อสารที่สัมฤทธิ์

ข้อใดครบองค์ประกอบของการสื่อสาร

องค์ประกอบของการสื่อสาร 1.ผู้ส่งสาร หรือผู้เข้ารหัส (sender / encoder) 2.ผู้รับสาร หรือ ผู้ถอดรหัส (receiver / decoder) 3.สาร (message) 4.ช่องทางการสื่อสาร (channel)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง