แบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น พร้อมเฉลย

แบบทดสอบประจำหน่วยการเรียนรู้ - วิชาวิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) - หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - ตอนที่ 3 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

แบบทดสอบประจำหน่วยการเรียนรู้ - วิชาวิทยาศาสตร์ ม.3 (ชุดที่ 1) - หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - ตอนที่ 3 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น



Download เป็น PDF File






ที่04:37

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ป้ายกำกับ: ข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3

สำหรับการสอบ ก.พ. ถ้าพูดแบบที่เข้าใจกันโดยทั่วไปที่ทุกคนจะนึกถึงเป็นอย่างแรกคือ เป็นการสอบเพื่อจะนำไปใช้บรรจุอาชีพราชการ ซึ่งอาชีพราชการก็เป็นอีกหนึ่งอาชีพที่หลาย ๆ คนคิดว่ามั่นคง มีสวัสดิการที่ดีเพราะนอกจากได้กับตนเองแล้วยังคลอบคลุมไปถึงพ่อแม่ ในบทความนี้เราจะสรุปเกี่ยวกับเรื่องการสอบ ก.พ. มาให้ทุกคนได้อ่านแล้วเข้าใจง่าย ๆ ว่า ก.พ. คืออะไร สอบไปทำไม ใครสอบได้บ้าง?…

สรุปเรื่อง สอบ ก.พ. – ภาค ก,ข และ ค

ก.พ. คืออะไร? มีชื่อเต็ม ๆ ว่า..

ก.พ. คือ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน ภายใต้ระบบคุณธรรมทำหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพชีวิตและการทำงานที่ดี และพัฒนาระบบการบริหารกำลังคนในราชการให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติอย่างมีประสิทธิภาพ

การสอบ ก.พ. คืออะไร สอบไปทำไม?

การสอบ ก.พ. คือ การสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าไปทำงานให้กับหน่วยงานราชการ และต้องสามารถทำงานตามนโยบายของรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแล้วจึงจะต้องทำข้อสอบให้ผ่านก่อน โดยต้องสมัครสอบคัดเลือกตามหลักสูตรที่กำหนด

สรุปให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ หากคิดจะเข้าทำงานสายราชการแล้วล่ะก็… ต้องผ่านด่านแรกไปให้ได้ก่อนนั่นก็คือการสอบ ก.พ. หรือจะเรียกอีกอย่างว่า เป็นระบบกลาง ระหว่างผู้ที่ต้องการเข้าทำงานในระบบราชการ กับ หน่วยงานราชการที่ขาดแคลนบุคคลในการทำงานก็ได้เช่นกัน ซึ่งทาง ก.พ. จะมีการเปิดรับสมัครสอบ 4 ระดับด้วยกัน

ใครสอบได้บ้าง – ระดับวุฒิการศึกษาที่รับสมัครสอบ ก.พ.

สำนักงาน ก.พ. จะเปิดรับสมัครสอบ จำนวน 4 ระดับ ดังนี้…

1. ระดับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
2. ระดับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) อนุปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
3. ระดับวุฒิปริญญาตรี
4. ระดับวุฒิปริญญาโท

การสอบ ก.พ. แบ่งออกเป็น 3 ภาค และต้องสอบให้ผ่านทุกภาค

ภาค ก คือ การสอบภาคความรู้ ความสามารถทั่วไป

เป็นการทำแบบทดสอบที่วัดระดับเชาว์ปัญญา ทุกคนที่จะสอบบรรจุข้าราชการต้องสอบภาค ก (เมื่อสอบผ่านแล้วสามารถใช้ได้ตลอดชีพ ไม่ต้องสอบใหม่อีก) โดยการสอบ ภาค ก. จะแบ่งเป็น 3 วิชา คือ

– ทดสอบวิชาความสามารถทั่วไป : ด้านการคิดคำนวณ และด้านการให้เหตุผล คะแนนเต็ม 100 คะแนน ( ป.ตรี ป.โท ต้องทำให้ 36 ข้อขึ้นไปถึงผ่าน)
– ทดสอบวิชาภาษาไทย : ด้านการเข้าใจภาษา ซึ่งจะทดสอบโดยการการอ่านและการทำความเข้าใจบทความ การเขียนประโยคให้ถูกต้องตามหลักภาษา จำนวน 40 ข้อ คะแนนเต็ม 50 คะแนน
– ทดสอบวิชาภาษาอังกฤษ : ทดสอบความรู้ในการใช้ภาษาอังกฤษเบื้องต้นจากการ ฟัง พูด อ่าน เขียน คะแนนเต็ม 50 คะแนน ข้อสอบแยกเป็นระดับวุฒิการศึกษา

ระยะเวลาการสอบ : มีการจัดสอบเป็นประจำทุกปี โดยช่วงเปิดรับสมัครประมาณ มีนาคม ช่วงสอบ มิ.ย.-ก.ค. และประกาศผลช่วงเดือน ก.ย. (ติดตามกำหนดที่แน่ชัดได้จากทางเว็บของ ก.พ. //job.ocsc.go.th/Default.aspx)

คุณสมบัติผู้สอบ: ต้องเป็นผู้ที่จบการศึกษาแล้ว หรือผู้ที่กำลังศึกษาชั้นปีสุดท้ายของระดับ ปวช. ปวท. ปวส. อนุปริญญา ปริญญาตรี หรือปริญญาโท

ใครเป็นคนจัดสอบ: หน่วยงานที่จัดสอบคือ สำนักงาน ก.พ.

เกณฑ์การผ่านคะแนนทุกวิชาจะต้องผ่านเกณฑ์ที่ 60 % และต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษไม่ต่ำกว่า 50 % ผู้สอบสามารถยื่นคะแนนภาษาอังกฤษมาตรฐานต่อไปนี้ แทนได้ IELTS , TOEIC , TU-GET , CU-TEP (ที่ยังไม่หมดอายุ และต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 % ของการทดสอบที่จะยื่นแทน)

** ทุกคนที่ต้องการจะสอบบรรจุข้าราชการจำเป็นต้องสอบภาค ก **

ภาค ข คือ การสอบภาคความสามารถเฉพาะตำแหน่ง

– เป็นการสอบที่เน้นใช้ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง เช่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ, นิติกร, เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน เป็นต้น โดยข้อสอบจะเป็นการสอบแบบข้อเขียน  (และผู้สอบต้องนำหนังสือรับรองมายืนยันว่าได้สอบผ่าน ภาค ก. แล้วจึงจะสมัครได้)

คุณสมบัติผู้สอบ: ต้องสอบผ่าน ภาค ก ก่อน

ใครเป็นคนจัดสอบ : หน่วยงานราชการที่เปิดรับสมัคร

ภาค ค คือ การสอบสัมภาษณ์

เป็นการสอบสัมภาษณ์ ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ เพื่อดูถึงความเหมาะสมกับตำแหน่ง  อาจมีการทดสอบอย่างอื่นเพิ่มก็ได้ เช่น ทดสอบร่างกาย หรือ ทดสอบจิตวิทยา เป็นต้น

คุณสมบัติผู้สอบ : ผู้เข้าสอบจำเป็นต้องผ่านการสอบ ภาค ก. และ ภาค ข. มาก่อน

ใครเป็นคนจัดสอบ : หน่วยงานราชการที่เปิดรับสมัคร

**ทั้งนี้ผู้สอบ ก.พ. จะต้องสอบผ่านทั้ง 3 ภาค จึงจะได้เข้าการบรรจุเข้ารับราชการ

ในบทความต่อไป จะทำการรวบรวมแนวข้อสอบมาให้สำหรับทุกคนที่จะสอบนะคะ

บทความแนะนำ

  • 4 คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกบ่อย ในข้อสอบ ก.พ. – From Past, Into & To
  • ข้อมูลการเรียน พยาบาลทหาร ทุกเหล่าทัพ | คุณสมบัติ การคัดเลือก ค่าเทอม
  • เรียนนายร้อยตำรวจ สมัครได้ตอนอายุเท่าไหร่ เรียนจบอะไร คุณสมบัติต่างๆ
  • เปิดเงินเดือน ผบ.เหล่าทัพ ควบตำแหน่งข้าราชการการเมือง รายได้หลักแสน

ข้อสอบงานราชการสอบ ก.พ.

Share

ABOUT THE AUTHOR

Indigo Girl

อัปเดตคอนเทนต์ที่กำลังอยู่ในกระแส ทั้งสาระความรู้ การศึกษา บันเทิง ไลฟ์สไตล์ สรุปมาให้เข้าใจอ่านง่าย ไม่ตกเทรนด์!!

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง