Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย

โมเดลแบบก้าวหน้า

Incremental Model หรือ โมเดลแบบก้าวหน้า เป็นโมเดลที่มีการวิวัฒนาการมาจากโมเดลน้ำตก (Waterfall Model) เนื่องจากโมเดลน้ำตก (Waterfall Model) มีข้อเสียคือ ต้องมีการดำเนินการเป็นขั้นตอนให้เสร็จสิ้นก่อนจึงจะดำเนินการขั้นต่อไป ซึ่งหากเป็นโครงการซอฟต์แวร์ที่มีขนาดใหญ่อาจต้องใช้เวลามาก

หลักการของ Incremental Model คือ การแบ่งระบบงานออกเป็นระบบย่อยต่าง ๆ โดยระบบย่อยเรียกว่า Increment เปรียบเสมือนกับโครงการขนาดเล็ก (Mini Project) โดยจะทำการพัฒนาระบบงานที่เป็นงานหลักของระบบก่อน จากนั้นพัฒนาต่อเติมในแต่ละ  Increment ตามลำดับ จนกระทั้งได้ระบบงานที่เสร็จสมบูรณ์

ขั้นตอนการทำงานของ  Incremental Model

  1. การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ
  2. การวางแผนและการกำหนดความต้องการ
  3. การออกแบบระบบ
    • ออกแบบรายละเอียดของระบบย่อย
    • พัฒนาและทดสอบระบบ
    • นำระบบย่อยต่าง ๆ มาประกอบรวมกัน
    • นำระบบไปใช้งาน
    • บำรุงรักษาระบบ
ขั้นตอนการทำงานของ Incremental Model

 ข้อเสีย 

  • มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากมีการนำระบบย่อยมาประกอบรวมกัน
  • ระบบงานย่อยที่ใช้งานอยู่อาจจะทำให้การทำงานสะดุด

โมเดลแบบก้าวหน้า เป็นโมเดลที่มีการวิวัฒนาการมาจากโมเดลน้ำตก (Waterfall Model) เนื่องจากโมเดลน้ำตกมีข้อเสียคือ ต้องดำเนินตามขั้นตอนให้เสร็จสิ้นก่อนจึงจะดำเนินการขั้นตอนต่อไป ซึ่งหากเป็นโครงการโหญ่อาจต้องใช้เวลามากทำให้เสียเวลาย้อนกลับ และมีความเสี่ยงสูง

ช่องทางการศึกษาเพิ่มเติมข่าวสารที่น่าสนใจเกี่ยวกับ : บทความทั่วไป

  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (114)  
  • ถาม - ตอบปัญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  (696)
  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (84)  
  • บทความเกี่ยวกับ Google (210)
  • บทความเกี่ยวกับ Software License ใบอนุญาตซอฟต์แวร์ (9)

การพัฒนาระบบด้วย Waterfall Model

Waterfall Model คือ โมเดลที่มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ชัดเจนและง่ายต่อการนำไปใช้จริง โดยใช้วงจรชีวิตแบบฉบับ (Class Lift Cycle) หมายถึง การเรียงลำดับงานในการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยเริ่มด้วยการกำหนดความต้องการของลูกค้า การวางแผน การสร้างแบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์ และการให้ความเหลือในการใช้งานซอฟต์แวร์

การพัฒนาระบบโดยใช้ Waterfall Model

ข้อจำกัดของ Waterfall Model ได้แก่

  • แบบจำลอง Waterfall Model ไม่รองรับการทำงานซ้ำ
  • ในการพัฒนาระบบตามแบบจำลอง Waterfall จะต้องระบุความต้องการใช้งานให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ
  • ลูกค้าจะเห็นภาพหรือสามารถมองเห็นระบบที่สามารถใช้งานได้จริงตามแบบจำลองนี้ในช่วงปลายทางการพัฒนาระบบหากมีการเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้พัฒนา หรือหากพบความผิดพลาดในการทำงานของระบบเมื่อทำการทดสอบระบบ ย่อมทำให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ไข

กล่าวโดยสรุป Waterfall Model เป็นโมเดลที่มีขั้นตอนการดำเนินการที่ชัดเจนและง่ายต่อการนำไปใช้จริง และในการพัฒนาต้องระบุความต้องการใช้งานให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ หากมีการเเก้ไขหรือมีการเปลี่ยนแปลงความต้องการหรือ หากพบความผิดพลาดในการทำงานของระบบเมื่อทำการทดสอบระบบ อาจจะทำให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ไข

ช่องทางการศึกษาเพิ่มเติมข่าวสารที่น่าสนใจเกี่ยวกับ : บทความทั่วไป

  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (114)  
  • ถาม - ตอบปัญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  (696)
  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (84)  
  • บทความเกี่ยวกับ Google (210)
  • บทความเกี่ยวกับ Software License ใบอนุญาตซอฟต์แวร์ (9)

Waterfall Model

เป็นแบบจำลองกระบวนการพัฒนาระบบในรูปแบบน้ำตก เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันในอดีต มีหลักการเสมือนกับน้ำตกซึ่งไหลจากที่สูงลงที่ต่ำ ในแต่ละขั้นตอนไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขขั้นตอนที่แล้วได้ เหมาะสำหรับระบบที่มีการจัดการที่แน่นอน และในปัจจุบันมีขั้นตอนการทำงานสามารถที่จะวนหรือย้อนกลับไปแก้ไขได้ หรือที่เรียกว่า Adapted Waterfall

เปรียบเทียบรูปแบบการทำงานของ Waterfall และ Adapted Waterfall

รูปแบบกระบวนการทำงานแบบ Waterfall

รูปแบบกระบวนการทำงานแบบ Adapted Waterfall

ขั้นตอนการทำงานของ Waterfall

ขั้นตอนการทำงาน อาจจะมี 5-6 ขั้นตอน สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามขอบเขตของการทำงาน โดยมีตัวอย่างขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เป็นขั้นตอนของการวางแผนการทำงาน

  • ระบุหัวข้อในการทำงาน หรือความต้องการของผู้ใช้
  • ระบุผู้ที่รับผิดชอบงาน
  • ระบุระยะเวลาในการดำเนินงาน

ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนของการออกแบบงาน

  • ทำการออกแบบในส่วนที่ได้รับมอบหมาย

ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนการพัฒนาระบบ

  • นำงานที่เราออกแบบไว้ในแต่ละส่วน มาทำเป็นตัวชิ้นงาน
  • เชื่อมต่องานในแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน

ขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนการทดสอบระบบ

  • นำงานที่เราพัฒนาแล้วมาทดสอบ
  • บันทึกการทดสอบในแต่ละครั้ง
  • ตรวจสอบความผิดพลาด

ขั้นตอนที่ 5 เป็นขั้นตอนการนำไปใช้

  • ส่งมอบให้กับผู้ใช้

ข้อดีของ Waterfall Model

-คือมีการสร้างเอกสารในทุกๆ ขั้นตอนหรือทุกระยะ

-ดำเนินงานที่ละขั้นตอน สามารถตรวจสอบได้ง่าย

-ขอบเขตงานชัดเจน

-เหมาะกับระบบขนาดเล็ก ไม่ซับซ้อน

ข้อเสียของ Waterfall Model

-ผู้ใช้ได้เห็นระบบเมื่อผ่านขั้นตอนการพัฒนาไปแล้ว ทำให้กลับมาแก้ไขได้ยาก

– ไม่สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้

-ต้องมีการวางแผนที่ดี

***เนื่องจากการทำงานแบบ Waterfall เมื่อมีข้อผิดพลาดในส่วนใดส่วนหนึ่ง จะไม่สามารถกลับไปแก้ไขได้  เราสามารถนำวีธีการ Adapted Waterfall มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ระบบของเราสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสร็จสมบูรณ์

ศึกษาความแตกต่างของการใช้ Waterfall Model กับ Agile Model

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง