สิ่งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเห็นแตกต่างจากกล้องโทรทรรศน์บนโลกมากที่สุด คือข้อใด กล้องโทรทรรศน์อวกาศและกล้องโทรทรรศน์บนโลกมีประสิทธิภาพต่างกันหรือไม่ อย่างไร กล้องโทรทรรศน์อวกาศชนิดใดตั้งอยู่บนพื้นโลก กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลหรือกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทราจัดเป็นสิ่งใด * กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ประเภท กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ใช้ทําอะไร กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล สรุป กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล คลื่น ภาพจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล คือ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ มีอะไรบ้าง

สิ่งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเห็นแตกต่างจากกล้องโทรทรรศน์บนโลกมากที่สุดคืออะไร

        การเก็บข้อมูลทางดาราศาสตร์ โดยเฉพาะการถ่ายภาพด้วยระบบกล้อง CCD นั้น จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่มีราคาแพง อีกทั้งยังต้องมีความรู้ความเข้าใจทางด้านเทคนิค ในการติดตั้งกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ถ่ายภาพอีกด้วย การจะเป็นเจ้าของระบบกล้องโทรทรรศน์ที่สามารถถ่ายภาพในเชิงวิทยาศาสตร์ได้นั้น อาจไม่ใช่สิ่งที่ทุกคนสามารถทำได้ แต่ในปัจจุบันการเข้าถึงระบบกล้องกล้องโทรทรรศน์ที่มีความสามารถดังกล่าว เปิดกว้างสู่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นและผู้สนใจทั่วไปแล้ว ผ่านทางเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ที่สามารถควบคุมการทำงานได้ทางอินเทอร์เน็ต

เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ iTelescope
        iTelescope เป็นเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติ ที่สามารถส่งคำสั่งควบคุมการทำงานได้ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต โดยสามารถเข้าไปใช้งานได้ที่เว็บไซต์
www.itelescope.net ซึ่งมีกล้องโทรทรรศน์พร้อมอุปกรณ์การถ่ายภาพด้วยระบบกล้อง CCD ติดตั้งอยู่ใน 3 ประเทศ คือ อเมริกา สเปน และออสเตรเลีย เพื่อรองรับการใช้งานของทั้งนักดาราศาสตร์อาชีพ และนักดาราศาสตร์สมัครเล่นทั่วโลก

ข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์และกล้อง CCD
        สามารถเข้าดูข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์แต่ละตัว พร้อมข้อมูลของกล้อง CCD และพิกัดของสถานที่ตั้ง ได้จากลิงค์ THE TELESCOPES ดังแสดงในภาพที่ 3

ภาพที่ 3 เลือก THE TELESCOPES เพื่อเข้าดูข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์และพิกัดของสถานที่ตั้ง

        ปัจจุบัน iTelescope มีกล้องโทรทรรศน์ให้เลือกใช้ทั้งหมด 19 ตัว โดยมีขนาดและชนิดของกล้องแตกต่างกันออกไป เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม โดยกล้องทั้งหมดจะถูกติดตั้งอยู่ที่อเมริกา 8 ตัว ที่สเปน 3 ตัว และที่ออสเตรเลีย 8 ตัว

ภาพที่ 4 ข้อมูลกล้องโทรทรรศน์แต่ละตัวของ iTelescope

การลงทะเบียนเข้าใช้งานและอัตราค่าใช้จ่าย
        ก่อนที่จะสามารถใช้งานกล้องโทรทรรศน์ของ iTelescope ได้นั้น ต้องลงทะเบียนเพื่อสร้างบัญชีผู้ใช้ก่อน โดยเลือกที่ลิงค์ PRICES ดังแสดงในภาพที่ 5

ภาพที่ 5 เลือก PRICES เพื่อลงทะเบียนเข้าใช้งานและเลือกอัตราค่าใช้จ่าย

        อัตราค่าใช้จ่ายของ iTelescope จะแบ่งออกเป็น 7 แผน ให้เลือก โดยแต่ละแผนจะคิดค่าใช้จ่ายเป็นราย 28 วัน เพื่อแลกเป็นคูปองการใช้งานกล้อง หรือเรียกว่า points โดยกล้องแต่ละตัวจะแสดงอัตราค่าใช้จ่ายเป็น point ต่อชั่วโมง หากเราใช้จำนวน points ไม่หมดภายใน 28 วัน จำนวน points ที่เหลือจะถูกนำไปรวมกับจำนวน points ที่ได้มาใหม่ จึงไม่ต้องกังวลว่าจะต้องใช้ points ให้หมดภายใน 28 วัน

ภาพที่ 6 อัตราค่าใช้จ่ายของ iTelescope

เริ่มต้นถ่ายภาพผ่าน iTelescope
        เมื่อเราลงทะเบียนและชำระค่าบริการเรียบร้อยแล้วก็สามารถ Login เข้าไปใช้งานกล้องโทรทรรศน์ได้ที่ลิงค์ TELESCOPE LOGIN ดังแสดงในภาพที่ 7 โดยกรอก Username และ Password ที่เราลงทะเบียนไว้ลงไป ดังแสดงในภาพที่ 8

ภาพที่ 7 เลือก TELESCOPE LOGIN เพื่อเข้าใช้งานกล้องโทรทรรศน์ของเครือข่าย iTelescope

ภาพที่ 8 กรอก Username และ Password สำหรับ Login เข้าใช้เครือข่าย iTelescope

        เมื่อ Login เรียบร้อย เราจะเข้ามาสู่หน้าต่างหลักของการใช้งาน ดังแสดงในภาพที่ 9 ในหน้าต่างนี้จะแสดงข้อมูลปัจจุบันของเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ ซึ่งประกอบด้วย แผนที่โลกที่แสดงช่วงกลางวันและกลางคืน ตำแหน่งของหอดูดาว ตำแหน่งดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งทำให้เราทราบว่าเราสามารถใช้งานกล้องที่ตั้งอยู่ในประเทศใดได้บ้างในขณะนี้ อีกทั้งยังแสดงภาพรวมของท้องฟ้าผ่านกล้อง All Sky Camera ให้สภาพท้องฟ้าจริงในขณะนั้นอีกด้วย สถานะของการใช้งานของกล้องแต่ละตัวจะแสดงอยู่ในรายการทางด้านขวาของแผนที่ กล้องที่ยังไม่มีผู้ใช้งานจะแสดงสถานะด้วยคำว่า “Available”

ภาพที่ 9 หน้าต่างหลักในการใช้งาน iTelescope

        สำหรับตัวอย่างนี้ เราจะลองถ่ายภาพด้วยกล้อง T3 ที่ New Mexico ประเทศอเมริกา ซึ่งเป็นกล้องหักเหแสง Takahashi TOA ขนาดหน้ากล้อง 150 มิลลิเมตร ติดตั้งกล้อง CCD ถ่ายภาพสี One Shot Color CCD ของ SBIG โดยมีมุมมองหรือ Field of View (FOV) เท่ากับ 27x37 อาร์คนาที ให้เราคลิกที่คำว่า Available ของกล้อง T3 ดังแสดงในภาพที่ 9 ระบบจะให้เรา login อีกครั้งหนึ่งเพื่อเข้าใช้งานกล้อง T3 โดยหน้าต่างสำหรับการใช้งานกล้อง T3 แสดงในภาพที่ 10

 ภาพที่ 10 หน้าต่างสำหรับการใช้งานกล้อง T3

        การส่งคำสั่งถ่ายภาพจะมีให้เลือกทั้งในแบบเบื้องต้น (Basic Imaging) ซึ่งง่ายและรวดเร็วต่อการใช้ถ่ายภาพแบบถ่ายครั้งเดียว (Single Shot) และแบบปกติ (Imaging) ซึ่งสามารถกำหนดการใช้งานที่ซับซ้อนได้มากกว่า โดยในที่นี้จะเลือกใช้แบบเบื้องต้น

        อย่างไรก็ตามการส่งคำสั่งถ่ายภาพแบบเบื้องต้นนี้ยังแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ One Click Image, One Click Comet และSingle Image โดยทั้ง One Click Image และ One Click Comet นั้นเป็นการถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้าและดาวหางจากรายการที่ระบบเลือกไว้ให้เท่านั้น ส่วน Single Image เราสามารถเลือกวัตถุท้องฟ้าต่างๆ และกำหนดระยะเวลาการถ่ายภาพได้ตามต้องการ ถึงตรงนี้ให้เราเลือกคลิกที่ Single Image ดังแสดงในภาพที่ 11

ภาพที่ 11 เลือกการถ่ายภาพแบบ Single Image จากรายการทางด้านซ้าย

        การเลือกวัตถุสำหรับการถ่ายภาพ ควรเลือกวัตถุที่มีขนาดเชิงมุมใกล้เคียงกับมุมมองหรือ FOV ของกล้อง และต้องเป็นวัตถุที่ปรากฏอยู่เหนือขอบฟ้ามากกว่า 20 องศาขึ้นไปเป็นอย่างน้อย (ค่ามุมสูงของวัตถุจากขอบฟ้าที่กล้องสามารถเริ่มถ่ายภาพได้จะระบุอยู่ในข้อมูลของกล้องแต่ละตัว) การวางแผนถ่ายภาพและเลือกวัตถุที่เหมาะสมนั้น อาจวางแผนผ่านซอฟแวร์ Stellarium โดยการกำหนดสถานที่ตั้ง (Location) ใน Stellarium ให้ตรงกับตำแหน่งของกล้องโทรทรรศน์ที่เราใช้เลือกใช้งาน เลือกวัตถุที่เราสนใจ โดยซอฟแวร์ Stellarium จะแสดงข้อมูลความสว่าง มุมสูง และขนาดเชิงมุมของวัตถุในช่วงเวลานั้นทางด้านมุมบนซ้าย ดังแสดงในภาพที่ 12

ภาพที่ 12 การวางแผนเลือกวัตถุที่ต้องการถ่ายภาพด้วยซอฟแวร์ Stellarium

        สำหรับวัตถุที่เลือกถ่ายภาพสำหรับตัวอย่างนี้คือ Trifid Nebula (M20) ในกลุ่มดาวคนยิงธนู โดยจะทดลองถ่ายภาพแบบครั้งเดียว นาน 300 วินาที กลับมาที่เว็บไซต์ของ iTelescope เมื่อเราเลือกการถ่ายภาพแบบ Single Image หน้าต่างการส่งคำสั่งถ่ายภาพจะปรากฏดังแสดงในภาพที่ 13

ภาพที่ 13 หน้าต่างการส่งคำสั่งถ่ายภาพแบบ Single Image

        ให้ระบุชื่อวัตถุที่เราต้องการถ่ายภาพ ในที่นี้คือ M20 สำหรับพิกัดของ M20 สามารถเลือกให้ระบบทำการค้นหาเองโดยคลิกที่ Get Coordinate or Ephemeris จากนั้นเลือกระยะเวลาการถ่ายภาพเท่ากับ 300 วินาที ฟิมล์กรองแสงจะระบุเป็น Color (ไม่สามารถเลือกอย่างอื่นได้สำหรับกล้อง T3) จากนั้นคลิกที่ Acquire Images เพื่อส่งคำสั่งถ่ายภาพ จากนั้นกล้องจะเริ่มทำงานตามคำสั่งที่เราส่งไป โดยสามารถดูสถานะการทำงานของกล้องได้จาก System Status ดังแสดงในภาพที่ 14

ภาพที่ 14 หน้าต่าง System Status

        เมื่อการถ่ายภาพเสร็จสิ้น ระบบจะส่งข้อมูลการถ่ายภาพ และตัวอย่างภาพที่ถ่ายได้ในรูปแบบไฟล์นามสกุล JPG มาให้ทันทีทางอีเมล์ และสำหรับภาพต้นฉบับที่มีนามสกุล FIT เราสามารถ FTP เข้าไปดาวน์โหลดได้จาก Server ของระบบ

 ภาพที่ 15 ภาพ Trifid Nebula (M20) ที่ถ่ายได้ ผ่านกล้อง T3

สิ่งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเห็นแตกต่างจากกล้องโทรทรรศน์บนโลกมากที่สุด คือข้อใด

การที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลลอยอยู่นอกชั้นบรรยากาศของโลกทำให้มันมีข้อได้เปรียบเหนือกว่ากล้องโทรทรรศน์ที่อยู่บนพื้นโลก นั่นคือภาพไม่ถูกรบกวนจากชั้นบรรยากาศ ไม่มีแสงพื้นหลังท้องฟ้า และสามารถสังเกตการณ์คลื่นอัลตราไวโอเลตได้โดยไม่ถูกรบกวนจากชั้นโอโซนบนโลก ตัวอย่างเช่น ภาพอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิลที่ถ่ายจาก ...

กล้องโทรทรรศน์อวกาศและกล้องโทรทรรศน์บนโลกมีประสิทธิภาพต่างกันหรือไม่ อย่างไร

การที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลลอยอยู่นอกชั้นบรรยากาศของโลกทำ ให้มันมีข้อได้เปรียบเหนือกว่ากล้องโทรทรรศน์ที่อยู่บนพื้นโลก นั่นคือภาพไม่ถูกรบกวนจากชั้นบรรยากาศ ไม่มีแสงพื้นหลังท้องฟ้า และสามารถสังเกตการณ์คลื่นอัลตราไวโอเลตได้โดยไม่ถูกรบกวนจากชั้นโอโซนบนโลก ตัวอย่างเช่น ภาพอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิลที่ถ่ายจาก ...

กล้องโทรทรรศน์อวกาศชนิดใดตั้งอยู่บนพื้นโลก

การที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลลอย อยู่นอกชั้นบรรยากาศของโลกท าให้มันมีข้อ ได้เปรียบเหนือกว่ากล้องโทรทรรศน์ที่อยู่บนพื้น โลก นั่นคือภาพไม่ถูกรบกวนจากชั้นบรรยากาศ ไม่มีแสงพื้นหลังท้องฟ้า และสามารถ สังเกตการณ์คลื่นอัลตราไวโอเลตได้โดยไม่ถูก รบกวนจากชั้นโอโซนบนโลก ตัวอย่างเช่น ภาพ

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลหรือกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทราจัดเป็นสิ่งใด *

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) ตั้งตามชื่อของนักดาราศาสตร์นามว่า เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) เป็นกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของกระจกปฐมภูมิ 2.4 เมตร ใช้สังเกตการณ์ได้หลายช่วงคลื่น เช่น แสงที่มองเห็น (visible light) อินฟราเรดใกล้ (near infrared) อัลตราไวโอเลต (ultraviolet)

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง