หม้อแปลงไฟฟ้ามีประโยชน์อย่างไร

      หม้อแปลง หรือหม้อแปลงไฟฟ้า (อังกฤษ: transformer, ออกเสียง) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ใช้ในการส่งผ่านพลังงานจากวงจรไฟฟ้าหนึ่งไปยังอีกวงจรโดยอาศัยหลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า โดยปกติจะใช้เชื่อมโยงระหว่างระบบไฟฟ้าแรงสูง และไฟฟ้าแรงต่ำ หม้อแปลงเป็นอุปกรณ์
หลักในระบบส่งกำลังไฟฟ้า

      หม้อแปลง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งผ่านพลังงานไฟฟ้า สามารถเปลี่ยนขนาดแรงดันไฟฟ้า หรือขนาดของกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแบบและใช้งาน

จะเห็นว่าโครงสร้าง  หลักการทำงาน และชนิดของหม้อแปลงไฟฟ้า นับเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่จะต้องรู้และทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ต่อการนำไปใช้งาน การเลือกใช้หม้อแปลงได้อย่างถูกต้องมีความเหมาะสมกับสถานที่นั้นๆ และคำนึงถึงการบำรุงรักษาของหม้อแปลงแต่ละชนิดอย่างถูกวิธี เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และสามารถใช้งานหม้อแปลงได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ คุ้มค่าต่อการลงทุนในการดำเนินกิจการต่างๆ ตลอดจนการช่วยกันอนุรักษ์พลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบมาจากการใช้งานของหม้อแปลงไฟฟ้า 

               หม้อแปลงไฟฟ้า ( TRANSFORMER ) เป็นเครื่องกลไฟฟ้า (อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล หรือเปลี่ยนจากพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟฟ้า) ที่สำคัญมาก เพราะเป็นจุดเริ่มต้นของการจ่ายพลังงานไฟฟ้าเข้าสู่ระบบไฟฟ้า โดยจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้า ( Voltage ) ให้เพิ่มขึ้น ( Step up Transformer ) และให้ลดลง (Step down Transformer)

ในทุกๆขั้นตอนของการเปลี่ยนแรงดันนั้นจะต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นเครื่องปรับค่าแรงดันให้เหมาะสมกับกรณีต่างๆ ดังนั้นการเลือกใช้หม้อแปลงไฟฟ้าจึงต้องพิจารณาจากความต้องการและความจำเป็น และให้ความสำคัญกับผู้ผลิตและผู้ติดตั้งต้องมีความชำนาญและเชี่ยวชาญเพื่อความปลอดภัยแก่ผู้ใช้งาน   

ในระบบจ่ายไฟฟ้านั้นจะมีการแปลงแรงดันไฟฟ้าสลับให้มีขนาดที่สูงเพื่อลดขนาดของลวดตัวนำ ที่ต้องใช้ในการจ่ายไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ เมื่อถึงปลายทางก่อนที่จะจ่ายไฟฟ้าไปให้แก่บ้านเรือนต่างๆ โดยจะแปลงระดับแรงดันไฟฟ้าให้ลดลงเป็น 220 V เพื่อลดความอันตรายที่จะเกิดแก่ผู้ใช้ไฟฟ้า หรือเมื่อต้องการใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ระดับแรงดันต่ำๆ เช่น 6V ต้องมีการแปลงดันไฟฟ้า จาก 220 V เป็นระดับแรงดันไฟฟ้าตามที่ต้องการ

โดยการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้านั้นอาศัยหลักการความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับเส้นแรงแม่เหล็กในการสร้างแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำให้กับตัวนำ หม้อแปลงเป็นเครื่องกลไฟฟ้าที่ไม่มีส่วนใดเคลื่อนที่เหมือนมอเตอร์ จึงไม่มีการสูญเสียจากความฝืดและแรงต้านลม (การสูญเสียทางกล)

ประกอบไปด้วยขดลวด 2 ขด “ขดปฐมภูมิกับขดทุติยภูมิ พันอยู่รอบแกนเหล็ก (เป็นแผนเหล็กจำนวนมากที่วางซ้อนทับกัน) ขดลวดทั้ง 2 ชนิด ไม่ได้ต่อกันโดยตรงทางไฟฟ้าหากแต่ถูกกั้นห่างกันด้วยฉนวน  เมื่อมีกระแสไหลผ่านขดลวดตัวนำ ก็จะทำให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กรอบๆตัวนำนั้น และถ้ากระแสที่ป้อนมีขนาดและทิศทางที่เปลี่ยนแปลงไปมา ก็จะทำให้สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ถ้าสนามแม่เหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวตัดผ่านตัวนำ ก็จะเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำขึ้นที่ตัวนำนั้น โดยขนาดของแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำจะสัมพันธ์กับ ความเข้มของสนามแม่เหล็ก และความเร็วในการตัดผ่านตัวนำของสนามแม่เหล็ก

การทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้าจะไม่มีส่วนใดเคลื่อนที่เหมือนมอเตอร์จึงมีการสูญเสียกำลังงานในขณะทำงานน้อยกว่ามอเตอร์ก็จะเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำขึ้นที่ตัวนำนั้น โดยขนาดของแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำจะสัมพันธ์กับ ความเข้มของสนามแม่เหล็ก และความเร็วในการตัดผ่านตัวนำของสนามแม่เหล็ก

หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าในวงจรหนึ่งให้เป็นพลังงานไฟฟ้าที่มีความถี่เท่ากันในอีกวงจรหนึ่ง ซึ่งจะแปลงด้วยไฟฟ้ากระแสสลับ นอกจากนี้หม้อแปลงไฟฟ้ายังสามารถทำหน้าที่ในการเพิ่มหรือลดแรงดันไฟฟ้าภายในวงจร แต่ไม่สามารถเพิ่มหรือลดกำลังไฟฟ้าและความถี่ได้ โดยหม้อแปลงไฟฟ้าจะทำงานบนหลักการเหนี่ยวนำของแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับถูกนำไปใช้กับขดลวดปฐมภูมิ แรงดันไฟฟ้าจะถูกเหนี่ยวนำไปยังขดลวดทุติยภูมิส่งผลให้มีกระแสไฟฟ้าออกมาให้ใช้งานได้ โดยการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับอัตราการหมุนของขดลวดทั้งสองนี้

เลือกอ่านหัวข้อหม้อแปลงไฟฟ้าที่สนใจ

หม้อแปลงไฟฟ้าจากแบรนด์แนะนำ

  • PC42-E series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC380-400-440 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC200-220 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • AVR-E Series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC170-260 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • UP series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC100 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC200 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • PAL-EP Series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC220 to 230 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • SN21-E series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-220-230-240 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-110-115 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • SCK21 series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-110 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • SO21 series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-110 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • SR series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-110 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • 8YSB series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: 100-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: 2.5-50 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • SD Series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-210-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-105-110 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ECL Series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-210-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-105-110 V

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • YS Series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC200-220 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-110 V

    ระยะเวลาจัดส่ง2 วัน หรือมากกว่า

  • YSA Series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC380-400-440 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC100-110 V

    ระยะเวลาจัดส่ง2 วัน หรือมากกว่า

  • 3YSB series

    • แรงดันด้านปฐมภูมิ: AC380-400-440 V
    • แรงดันด้านทุติยภูมิ: AC200-220 V

    ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง3 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง4 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง11 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง2 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง2 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง2 วัน หรือมากกว่า

  • ระยะเวลาจัดส่ง12 วัน หรือมากกว่า

รายละเอียดหม้อแปลงไฟฟ้า

เครื่องมือที่ใช้สำหรับเพิ่มและลดกำลังไฟฟ้าในไซต์งานเพื่อให้เหมาะสมกับเครื่องมือที่ใช้งาน

คุณสมบัติ

  • เมื่อใช้งานเครื่องมือไฟฟ้าขนาด 100 โวลต์ ท่านสามารถลดกำลังไฟฟ้าจากสายเมน (200 โวลต์) ในไซต์งานได้
  • เพื่อเสริมศักยภาพพลังงานของเครื่องมือไฟฟ้า สามารถเพิ่มกำลังไฟฟ้าจาก 100โวลต์ เป็น 115 โวลต์ หรือ 125 โวลต์ เพื่อใช้งาน

วิธีการหาขนาดกำลังไฟของหม้อแปลงไฟฟ้า

คำแนะนำ

  • ในกรณีของแบบหนึ่งเฟส:ขนาดกำลังไฟ (VA)=แรงดันไฟฟ้าทุติยภูมิ (โวลต์)× กำลังไฟฟ้าทุติยภูมิ (แอมป์)
  • ในกรณีของแบบสามเฟส:ขนาดกำลังไฟ (VA)=√3×แรงดันไฟฟ้าทุติยภูมิ (โวลต์)× กำลังไฟฟ้าทุติยภูมิ (แอมป์)
  • ในกรณีของแบบสามเฟส - หนึ่งเฟส:ขนาดกำลังไฟ (VA)=แรงดันไฟฟ้าทุติยภูมิ (โวลต์)× กำลังไฟฟ้าปฐมภูมิ (แอมป์)

ข้อควรระวัง

ถ้ามีค่าแรงดันไฟฟ้าทางด้านปฐมภูมิและด้านทุติยภูมิเป็นค่าที่ปรับแล้ว ให้คำนวณหาขนาดกำลังไฟฟ้าด้วยค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด จงจำไว้ว่า ค่าแรงดันไฟฟ้าที่ปรับแล้วซึ่งมีค่าต่ำสุดคือการปรับขนาดกำลังไฟฟ้าที่ปรับลดแล้ว

วิธีการใช้งาน

เมื่อรอบหมุนของเครื่องมือลดลงและความคมหรือประสิทธิภาพการทำงานแย่ลง

เมื่อใช้งานเครื่องมือที่ต้องการกำลังไฟฟ้าสูง และแรงดันไฟฟ้าตกลง

เมื่อมีการเพิ่มระยะการต่อสายไฟ
เช่น สายไฟพ่วง

คำแนะนำ

  • เมื่อใช้งานนอกประเทศญี่ปุ่น จำเป็นต้องตรวจสอบค่าแรงดันไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้าของปลั๊กไฟ
  • ตรวจสอบกระแสไฟฟ้าที่ใช้
  • ตรวจสอบกระแสไฟฟ้าเริ่มต้น (โวลต์)
  • ตรวจสอบความถี่
  • ตรวจสอบกระแสไฟฟ้า (โวลต์) ที่ต้องการจ่าย
  • ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าปฐมภูมิ
  • ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าทุติยภูมิ
  • ตรวจสอบจำนวนเต้ารับ
  • ตรวจสอบอุปกรณ์เสริม (อุปกรณ์ตัดไฟ, ตรวจสอบสายดิน, แบบวงจรเพิ่มลดกระแสไฟฟ้า ฯลฯ)

ประเภทหม้อแปลงไฟฟ้า

หม้อแปลงกำลัง (Power Transformer)

หม้อแปลงกำลัง (Power Transformer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับจ่ายกำลังไฟฟ้า และแปลงแรงดันให้เหมาะสมกับระบบไฟฟ้าที่ใช้งานในส่วนต่างๆ โดยการถ่ายพลังงานไฟฟ้าจากขดลวดปฐมภูมิไปสร้างเส้นแรงแม่เหล็ก สลับขั้นไปมาจนเกิดการเหนี่ยวนำแรงดันไฟฟ้าไปที่ขดลวดทุติยภูมิ จึงทำให้เกิดการส่งถ่ายเป็นแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าออกมา หม้อแปลงประเภทนี้มีทั้งชนิดเฟสเดี่ยว และสามเฟส แต่ละชนิดมีพิกัดไฟฟ้ากับจำนวนขดลวดที่แตกต่างกัน ผู้ใช้ควรเลือกชนิดและพิกัดไฟฟ้าให้เหมาะสมกับประเภทงาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือสร้างความเสียหายในวงจรไฟฟ้าต่างๆ

หม้อแปลงอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transformer)

หม้อแปลงอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transformer) เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับควบคุมการจ่ายและแปลงกำลังไฟฟ้าของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีกำลังไฟฟ้าไม่สูงมากนัก ทำงานโดยการถ่ายพลังงานไฟฟ้าจากขดลวดปฐมภูมิไปสร้างเส้นแรงแม่เหล็ก สลับขั้นไปมาจนเกิดการเหนี่ยวนำแรงดันไฟฟ้าไปที่ขดลวดทุติยภูมิ จึงทำให้เกิดการส่งถ่ายเป็นแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า หม้อแปลงชนิดนี้เหมาะสำหรับติดตั้งเข้ากับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค ที่ชาร์จโทรศัพท์ เป็นต้น

หม้อแปลงเครื่องมือวัด (Instrument Transformer)

หม้อแปลงเครื่องมือวัด (Instrument Transformer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับวัดกระแสหรือแรงดันที่เป็นส่วนประกอบของกำลังไฟฟ้า โดยทำการแปลงกระแสหรือแรงดันที่เกินให้สมดุลกับระบบไฟฟ้าต่างๆ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หม้อแปลงกระแส (Current Transformer) กับหม้อแปลงแรงดัน (Potential Transformer) ซึ่งจะมีโครงสร้างภายในและภายนอกที่แตกต่างกัน การทำงานมีความแม่นยำสูง เหมาะสำหรับใช้ในเครื่องมือวัดค่าต่างๆ เช่น แอมป์มิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ เป็นต้น

หม้อแปลงไฟฟ้าเพิ่ม (Step Up Transformer)

หม้อแปลงไฟฟ้าเพิ่ม (Step up Transformer) เป็นหม้อแปลงที่มีแรงดันในขดลวดทุติยภูมิมากกว่าแรงดันในขดลวดปฐมภูมิ หมายความว่า
หม้อแปลงมีการจ่ายแรงดันไฟฟ้าขาออมากกว่าแรงดันไฟฟ้าขาเข้า เนื่องจากแรงดันไฟฟ้าขาออกมีมากกว่าแรงดันไฟฟ้าขาเข้า หม้อแปลงจึงทำหน้าที่ควบคุมกระแสไฟฟ้าขาออกไม่ให้มีการไหลของกระแสไฟฟ้ามากเกินไป โดยการลดปริมาณกระแสไฟฟ้าให้มีการไหลออกในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อรักษาสมดุลของกระแสไฟฟ้าขาเข้าและกำลังไฟฟ้าของระบบให้เท่ากัน หรือเรียกอีกอย่างว่าหม้อแปลงเพิ่มไฟฟ้าเหมาะสำหรับการนำไปใช้งานในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการเพิ่มแรงดันไฟฟ้า หรือใช้เป็นหม้อแปลงในการถ่ายโอนกระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต หลอดนีออน เตาไมโครเวฟ เครื่องเอ็กซเรย์ เป็นต้น

หม้อแปลงไฟฟ้าลด (Step Down Transformer)

หม้อแปลงไฟฟ้าลด (Step Down Transformer) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าทำหน้าที่แปลงไฟฟ้าแรงดันสูงให้กลายเป็นไฟฟ้าที่มีแรงดันต่ำ โดยหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดนี้จะทำงานบนหลักการเหนี่ยวนำของแม่เหล็กไฟฟ้า ในหม้อแปลงไฟฟ้าขดลวดปฐมภูมิจะมีการหมุนมากกว่าขดลวดทุติยภูมิ ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะลดลงในขดลวดทุติยภูมิ หม้อแปลงไฟฟ้าลดมีประโยชน์ในการลดแรงดันไฟฟ้าลงทำให้ส่งกำลังได้ง่ายขึ้น มีความทนทานสูงและมีความสามารถในการป้องกันไฟฟ้าสถิต เหมาะแก่การนำมาใช้งานสำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนเกือบทุกชนิด หรือใช้เป็นหม้อแปลงในการถ่ายโอนกระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการไฟฟ้านครหลวง

หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียว (Single Phase Transformer)

หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียว (Single Phase Transformer) เป็นหม้อแปลงที่ประกอบด้วยขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิอย่างละหนึ่งขดลวด ส่วนใหญ่จะใช้ในระบบพลังงานไฟฟ้าเฟสเดียว ซึ่งหม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียวนิยมนำไปใช้กันอย่างแพร่หลายในระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันต่ำ โดยหม้อแปลงชนิดนี้จะทำงานเป็นหม้อแปลงไฟฟ้าแบบ Step Down ใช้สำหรับการกระจายพลังงานและลดค่าแรงดันไฟฟ้าภายในบ้านให้เหมาะกับการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

หม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟส (Three Phase Transformer) เป็นหม้อแปลงสำหรับใช้ในระบบพลังงานไฟฟ้า 3 เฟส โดยการพันหม้อแปลงของขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิ 3 เฟสในแกนเหล็กเดียวกัน มีการเชื่อมต่อ 2 แบบ คือ แบบ Delta และแบบ Wye สำหรับหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟสจะใช้ในการเพิ่มแรงดันไฟฟ้าหรือลดแรงดันไฟฟ้าของระบบส่งกำลัง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟสมักใช้กับระบบไฟฟ้าแรงดันสูง เช่น ตามอาคารสำนักงานขนาดใหญ่ อพาร์ทเม้นท์ คอนโดมีเนียม ศูนย์การค้า โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง