งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ วpa

ตัวอย่างแนวทางการเขียนแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ (หัวข้อนี้สำหรับผู้ที่ต้องการคงวิทยฐานะ และเลื่อนเงินเดือน) โดเน้นแนวทางการเขียนให้เป็นครู B ที่หมายถึง ครูที่ตั้งใจที่จะมีงานที่ตอบทั้งตัวชี้วัด และประเด็นท้าทาย รูปแบบที่นำเสนอนี้ เหมาะสำหรับครูทุกท่าน ที่ต้องการให้ถูกใจผู้บริหาร และถูกใจตัวเอง แนวทางนี้ท่านทำงานแบบไม่หนักจนเกินไปครับ เพราะเป้นงานที่ทำประจำอยู่แล้ว ท่านสามารถแก้ไขกิจกรรมได้ตามต้องการครับ

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียน…………………………….. สำนักงานพื้นที่การศึกษา………………………….

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ………………..

ระหว่างวันที่………. เดือน……………………. พ.ศ…………… ถึงวันที่………เดือน…………………พ.ศ. …………………..

ผู้จัดทำข้อตกลง

ชื่อ…………………………………………นามสกุล………………………………………..ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

สถานศึกษา……………………………………………………………………… สังกัด…………………………………………………………….

รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ………… อัตราเงินเดือน …………………. บาท 

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง)

             ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน

             ห้องเรียนปฐมวัย

             ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ

             ห้องเรียนสายวิชาชีพ

             ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

            ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

  1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

ภาคเรียนที่ 2/2564

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ……………… ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน …………………….. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ………… ชั่วโมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน …………………………………. ชั่วโมง/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ 1/2565

1.5 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ……………… ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.6 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน …………………….. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.7 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ………… ชั่วโมง/สัปดาห์

1.8 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน …………………………………. ชั่วโมง/สัปดาห์

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่ง

  1. ด้านการจัดการเรียนรู้

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

งาน (Tasks)

หมายถึงงานที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ)

ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/2565

  1. สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรโดยริเริ่มพัฒนารายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ วิชา…………… รหัสวิชา………………………………และวิชา…………… รหัสวิชา…………………….ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น เพื่อแก้ปัญหา………..ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรนะ และการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร)

2. ออกแบบการจัดการเรียนรู้

2.1 ริเริ่มออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญวิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ)และวิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ) โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์  และสมรรถนะที่สำคัญ ของหลักสูตรกลุ่มสาระ…………..

2.2 คิดค้นการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิธีการสอนแบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่………………เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ให้ผู้เรียนสามารถมีกระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง สร้างแรงบันดาลใจ

2.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้)

  1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้

3.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการริเริ่ม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) วิชา…………… รหัสวิชา……………………………..และวิชา…………… รหัสวิชา……………………..โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก โดยส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมทำงานร่วมกัน (Collaborative Learning) ส่งเสริมกระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง

3.2 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนานวัตกรรม สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิธีการสอนแบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียน

3.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้)

4.  สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

 ริเริ่ม คิดค้น พัฒนา………….(ตัวอย่าง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom)  และพัฒนาแหล่งเรียนรู้………. (ตัวอย่าง เว็บไซต์รายวิชา ด้วย Google Sites) ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิธีการสอนแบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………….เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)   ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้มีทักษะการคิด และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ในการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

(**ในการสร้าง และหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ สามารถเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อสอนทั้งรายวิชา หรือเฉพาะเรื่องที่จะท้าทายก็ได้) 

5. วัดและประเมินผลการเรียนรู้

5.1 ริเริ่ม คิดค้นและพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ด้วยวิธีการสร้างเครื่องมือประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) โดยใช้ Google form ที่สอดคล้องกับภาระงานที่มอบหมาย วิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ) และวิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ)  ดังนี้

1) พัฒนาเครื่องมือวัด ดังนี้

1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (กลางภาค/ปลายภาค)

1.2 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ประจำหน่วยการเรียนรู้

2) พัฒนาเครื่องมือประเมิน ดังนี้

2.1 แบบประเมินทักษะ……………….

2.2 แบบประเมินทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน

2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.4 แบบประเมินสมรรถนะ

2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

5.2 ทำการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนได้รับพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) โดยใช้ Google formและนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มาใช้เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………….เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

5.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้)

  1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัย โดยมีการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์

6.1 ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ รายวิชาและหน่วยการเรียนรู้วิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของสถานศึกษา

6.2 นำผลมาใช้ในการแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกทั้งในห้องเรียนปกติ และห้องเรียนออนไลน์ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น

6.3 ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน (หัวข้อตามประเด็นท้าทายของครู) ดังนี้

1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก

2) กระบวนการเรียนรู้แบบ …………………

3) การเรียนรู้โดยใช้ Google Workspace for Education

4) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมใน การจัดการเรียนรู้

6.4 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหา (หรือ 
ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องของการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหา)

7. จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน

ตัวอย่างที่ 1

ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการจัดบรรยากาศ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  การเรียนรู้ของผู้เรียน และสร้างแรงบันดาลใจส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี)

ตัวอย่างที่ 2

ดำเนินการจัดบรรยากาศเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และนวัตกรรม ดังนี้

7.1 จัดบรรยากาศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกทั้งในห้องเรียนปกติ และห้องเรียนออนไลน์ สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยเฉพาะการบรรยากาศเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ โดยเน้นการส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ด้วยวิธีการสร้างแรงบันดาลใจ 6 Step Inspiration Model ดังนี้

1) การจัดชั้นเรียนให้เหมาะสม

2) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เป็นมิตร และผ่อนคลาย การสร้างรูปแบบการเรียนใหม่ ๆ

3) การเน้นสื่อและกิจกรรมหลากหลายเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน กระตุ้นโดยการเล่าเรื่องเพื่อให้เกิดแรงบันดาลใจ

4) การยกย่องและชมเชย

5) การให้ผู้เรียนได้พบเจอประสบการณ์ที่หลากหลาย ผ่านสถานที่ หรือสื่อต่างๆ

6) กระตุ้นการสร้างองค์ความรู้ และการเรียนรู้ใหม่โดยการปลูกฝังนิสัยความอยากรู้อยากเห็น

7.2 จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ (Onsite) ดังนี้

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐานและผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตร

2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยออกแบบการจัดหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ริเริ่มสอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคล

3) การใช้ Google Workspace for Education เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก

4) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) โดยปฏิบัติต่อเด็กในฐานะผู้กำลังเรียนรู้โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง และเคารพในศักดิ์ศรี ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมหรือคุณลักษณะด้วยกระบวนการเสริมแรงเชิงบวก

7.3 จัดกระบวนการเรียนรู้ (Online) โดยใช้เครื่องมือแอปพลิเคชันในการเรียนออนไลน์หลัก ๆ ได้แก่ Line Zoom และ Google Meet โดยใช้รูปแบบการเรียนเรียนรู้เชิงรุก และวิธีการสอนที่มีความหลากหลาย ในการบริหารและจัดเวลาการเรียนที่ยืดหยุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนรายบุคคลดังนี้

– Step 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting)

– Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระงาน (Online Assignment)

– Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking)

– Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A Meeting)

– Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up)

7.4 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี)

  1. อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

8.1 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน โดย ริเริ่ม คิดค้นและพัฒนาวิธีการอบรม และพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียนจากโครงการ…..(เช่น โรงเรียนวิถีพุทธ) เพื่อการอบรมบ่มนิสัยของผู้เรียนวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… โดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  และพัฒนาผู้เรียน ดังนี้

– มีการอบรมรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์

– จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น โรงเรียนวิถีพุทธ

8.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน)

ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. ผู้เรียนมีทักษะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
4. ผู้เรียนมีสมรรถนะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
5. ผู้เรียนมี…………….ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด (เขียนผลลัพธ์ (Outcomes) ตามประเด็นท้าทายที่ผู้สอนกำหนดเอง)   
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มีทักษะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..ผ่านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
4. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มีสมรรถนะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
5. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มี……….ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด(เขียนผลลัพธ์ (Outcomes) ตามประเด็นท้าทายที่ผู้สอนกำหนดเอง)

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ 

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ

งาน (Tasks)

หมายถึงงานที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ)

ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/2565

  1. จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา

1.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา โดยริเริ่ม คิดค้นและพัฒนาเว็บไซต์รายวิชาด้วย Google Site (หรือแฟ้มรายงาน) เพื่อการจัดทำ และรายงานข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………และวิชา…………… รหัสวิชา…………………….ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 

1.2 มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยมีข้อมูลเป็นปัจจุบัน ดังนี้

– แบบ ปพ.5 , ปพ.6

– แบบบันทึกกิจกรรมโฮมรูม

– แบบบันทึกคุณลักษณะอันพึงประสงค์

– แบบบันทึกการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน

– แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

– แบบบันทึกการสอนซ่อมเสริมนักเรียน

– แบบบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน

– แบบบันทึกการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

– แบบบันทึกผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

2. จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

2.1 ใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล ตามที่สถานศึกษากำหนด เพื่อจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดย ในรายวิชา…………… รหัสวิชา……………………………..และวิชา…………… รหัสวิชา…………………….และประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาผู้เรียน โดยจัดทำช่องทางการเผยแพร่โดยพัฒนาเว็บไซต์รายวิชาด้วย Google Siteพื่อการจัดทำ และรายงานข้อมูลสารสนเทศผลการประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครองรายบุคคล เพื่อการางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน

2.2 ริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนโดยจัดกิจกรรม…………….(ตัวอย่าง เช่น การสร้างแรงบันดาลใจ 6 Step Inspiration Model) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) เพื่อพัฒนา และแก้ไขปัญหาผู้เรียน

2.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน)

3. ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา 

ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนารูปแบบหรือแนวทางการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนี้

 – ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

– ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

– ร่วมกิจกรรมการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

– ร่วมกิจกรรมการจัดทำ SAR

โดยมีรูปแบบ…………….เพื่อการดำเนินการ และ/หรือแนวทาง…………….(ตัวอย่าง ด้วยการพัฒนาเว็บไซต์รายวิชาโดยใช้ Google Sites) เพื่อการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา)

4. ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี

4.1 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) และพัฒนาผู้เรียน ดังนี้

– การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

– ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนา ผู้เรียน

– ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 1 ครั้ง/ภาคเรียน

– จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เป็นต้น

4.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี)

ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. นักเรียนได้รับการสนับสนุน ช่วยเหลือดูแลทั้งด้านวิชาการและส่งเสริมลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์รวมทั้งทักษะและสมรรถนะสำคัญผู้เรียน
2. นักเรียนได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาทั้งด้านวิชาการ ลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์รวมทั้งทักษะ และสมรรถนะสำคัญผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. ผู้เรียนไม่เกินร้อยละ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่พึงประสงค์
(เกรด 0, มผ. , มส.)
2. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……………… มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา………..ไม่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ…………….ตามค่าเป้าหมายสถานศึกษา
3. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ………….. ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรในระดับดีขึ้นไป
4. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ………….. ผ่านเกณฑ์การประเมินทักษะ และสมรรถนะสำคัญผู้เรียนในระดับ……….ขึ้นไป

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการนำความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/2565

1. พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ทักษะ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน โดยจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ปีงบประมาณ ……... พัฒนาตนเองด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย  เช่น

– พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย

– พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ

– พัฒนาการใช้เทคโนโลยี

รวมถึงพัฒนาตนเองในด้านสมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง)

2. มีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย)จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับกลุ่มสาระ…………………  และหรือระดับโรงเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมสำหรับกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก…………….(ตัวอย่าง เช่น การสร้างแรงบันดาลใจ 6 Step Inspiration Model) ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… สำหรับใช้แก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  .และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการมีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการมีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ )

3. นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยการพัฒนา………….(ตัวอย่าง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom)  และพัฒนาแหล่งเรียนรู้………. (ตัวอย่าง เว็บไซต์รายวิชา ด้วย Google Sites) ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก โดยพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………….เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการนำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องกานำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้)

ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. นักเรียนได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาในด้านการเรียนรู้จำนวน…….หน่วย(หรือในหน่วยที่…………)
2. นักเรียนได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาทักษะ……..
3. นักเรียนได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. นักเรียนได้รับการการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านสมรรถนะสำคัญผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาในด้านการเรียนรู้จำนวน…….หน่วย(หรือในหน่วยที่…………) ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาทักษะ……..ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
4. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านสมรรถนะสำคัญผู้เรียนตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา

หมายเหตุ

1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน. ตามแบบให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมิน ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

 ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่าเป้าหมายสถานศึกษาที่กำหนด โดยใช้วิธีการสอนแบบ………. วิชา…………………… รหัสวิชา…………………….ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……………. ภาคเรียนที่…………ปีการศึกษา ………. 

** หัวข้อนี้สำหรับผู้ที่ต้องการคงวิทยฐานะ และเลื่อนเงินเดือนครับ

  1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

                ………………………………………………………………………………………………………………………………………

  1. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

2.1 ศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้……………………..โดยใช้วิธีการสอนแบบ………. วิชา…………………… รหัสวิชา…………………….ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……………. ภาคเรียนที่…………ปีการศึกษา ……….ตามมาตรฐานการเรียนรู้แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560

2.2 ออกแบบการเรียนรู้ และนวัตกรรมแบบฝึกหัดที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนรู้……………………..โดยใช้วิธีการสอนแบบ……….

2.3 ประเมินผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้

2.4 ดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่วางไว้

2.5 ประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเรียนกิจกรรมการเรียนรู้……………………..โดยใช้วิธีการสอนแบบ………. วิชา…………………… รหัสวิชา…………………….ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……………. ภาคเรียนที่…………ปีการศึกษา ……….ของผู้เรียนและวิเคราะห์สรุปผล

  1. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.1 เชิงปริมาณ        

          3.1.1 นักเรียนที่เรียนวิชา……….. รหัสวิชา ………….ไม่น้อยกว่าร้อยละ ……………มีผลสัมฤทธิ์ (K) ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไม่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ …………….

3.1.2 นักเรียนที่เรียนวิชา…………. รหัสวิชา…………..ไม่น้อยกว่าร้อยละ………….ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะการคิด (C) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ในการเรียนรู้………………ไม่น้อยกว่าร้อยละ………………..ทุกแผนการจัดการเรียนรู้

3.1.3 นักเรียนที่เรียนวิชา………………………. รหัสวิชา………………..มีผลงาน/ชิ้นงานที่สะท้อน (P)ความคิดสร้างสรรค์และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างน้อย 1 ชิ้นงาน

3.2 เชิงคุณภาพ

3.2.1 แผนการจัดการเรียนที่สอนโดยใช้วิธีการสอนแบบ………………ทีใช้สอนวิชา……………………… รหัสวิชา……………..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ……………… มีคุณภาพในระดับ………..ขึ้นไปทุกแผนการจัดการเรียนรู้ (K)

3.2.2 นักเรียนเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน เกิดทักษะและกระบวนการ…………………………. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ในการเรียนรู้………………………. และค้นพบองค์ความรู้หรือสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง (C,P)

3.2.3 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียวิชา……………….ที่สอนโดยใช้วิธีการสอบแบบ………………  ระดับ…………………….. ซึ่งประเมินจากแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale)

Post Views: 21,245

Comments

comments

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง