การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายม 5 ppt

1. อธิบายลักษณะเฉพาะของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

2. อธิบายการกระจัด ความเร็ว และความเร่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

3. คำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

4. อธิบายผลของแรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย

5. ทดลองการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถทดลองติดปลายสปริง

6. ทดลองการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย

7. คำนวณปริมาณที่เกี่ยวข้องกับคาบการสั่นของมวลติดปลายสปริงและการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย

8. อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง

SHM

การเคลอ่ื นท่ีแบบฮารม์ อนกิ อยา่ งง่าย

สอนโดย ครปู ิยาภัสร์ ศิริเตชะพฒั น์
สื่อประกอบการสอนรายวิชา ฟิสิกส์ 3 รหสั วิชา ว32203

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขึน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)

การเคลือ่ นทแี่ บบฮารม์ อนกิ อย่างงา่ ย
1 ลกั ษณะการเคลือ่ นที่แบบฮาร์มอนิกอยา่ งง่าย

2 ปริมาณที่เกีย่ วข้องกบั การเคลื่อนทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย
3 แรงกบั การส่ันของมวลติดปลายสปริงและลูกต้มุ อยา่ งงา่ ย
4 ความถีธ่ รรมชาติและการส่ันพอ้ ง

1 ลกั ษณะการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งง่าย

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย
(simple harmonic motion : SHM)

เป็นการเคล่ือนที่กลับไปกลับมาซ้ารอยเดิมผ่าน
ต้าแหน่งสมดุล โดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุด
(แอมพลิจูด) และคาบของการเคล่ือนท่ีคงตวั

2 ปริมาณทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย

fความถี่ 2 x3
1 การ
Tคาบ กระจัด

4 a5

อตั ราเรว็ ω vความถี่ความเร็ว ความเร่ง

เชิงมุม เชิงมมุ

2 ปริมาณที่เกีย่ วขอ้ งกับการเคลื่อนทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

1 ความถี่ (frequency) สญั ลกั ษณ์ f

fความถี่ คือ จานวนรอบในการเคลื่อนที่ 1 วินาที
มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)

2 คาบ (period) สัญลกั ษณ์ T

T คาบ คือ เวลาที่ในการเคลือ่ นที่ครบ 1 รอบ
มีหน่วยเป็น วินาที (s)

2 ปริมาณที่เกีย่ วขอ้ งกบั การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย
f+ Tความถี่
คาบ

ความสัมพนั ธ์ของคาบและความถี่

พมิ พส์ มการท่ีน่ี

f = 1
T

2 ปริมาณที่เกีย่ วข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอยา่ งง่าย

ตัวอย่าง 1 ถา้ อนุภาคสนั่ ครบ 40 คร้ัง ใน 50 วินาที จงหาความถี่และคาบการสน่ั ของ

อนภุ าค

วิธีทา ความถี่ f มีค่าเท่ากับจานวนรอบของวตั ถทุ ีเ่ คลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
4พ0ิมพส์ มการท่ีน่ี
f = 50

f = 0.8 ครงั้ ตอ่ วินาที ตอบ

คาบ T มีค่าเทา่ กบั เวลาทีว่ ตั ถใุ ชใ้ นการเคลือ่ นที่ครบ 1 รอบ
1
T = 0.8

T = 1.25 วินาที ตอบ

2 ปริมาณทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย

x3 การ Asin เงาหมดุ
กระจัด

พิมพส์ มการท ่ีน่ี

- A X = 0 X =Xi A

จากภาพการเคลือ่ นทีข่ องหมดุ เปน็ วงกลมด้วยอัตราเร็วเชงิ มมุ คงตวั เมื่อเวลาใด ๆ แผ่นกลม

หมุนไปเปน็ มุม ของหมดุ มีการเคลื่อนทีจ่ ากตาแหนง่ เริม่ ต้นX = 0 ไปยังยังตาแหนง่ ใด ๆ X =Xi
เงาจะเคลื่อนที่ด้วยความถีเ่ ชงิ มมุ เท่ากับอัตราเรว็ เชิงมมุ ของหมดุ ทาให้เกิดการกระจัดขึ้น X

2 ปริมาณทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

x3 การ พิมพส์ มการท่ีน่ี
กระจัด

การกระจัดมีคา่ เท่ากับ x=Asin θ

จาก θ= ωt + ∅ จะไดก้ ารกระจัด

X = Asin (ωt+ ∅)

2 ปริมาณที่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลื่อนทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

note

หน่วยมมุ เฟส

พมิ พส์ มการท่ีน่ี

ในระบบเอสไอ มุมมีหน่วยเป็นเรเดียน (radian) เช่น มุม เรเดียน
มีคา่ เทา่ กับ 180 องศา มุม 2 เรเดียน มีค่าเท่ากบั มมุ 360 องศา

2 ปริมาณที่เกีย่ วข้องกบั การเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย

4 อตั ราเรว็ อตั ราเร็วเชิงมุม (angular speed) จะเกิดขึ้นเมื่อกรณีวตั ถุเคลื่อนที่

ωเชิงมุม เปน็ วงกลมในช่วงเวลา ∆t วตั ถุจะมีการกระจัดเชิงมมุ ∆
หาไดจ้ ากความสัมพนั ธ์
ความถี่
ω= ∆θ = 2π =2πf
เชิงมมุ ∆t T

***ในการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย จะเรียก ω ว่า
ความถี่เชิงมมุ (angular frequency) มีหนว่ ยเปน็ rad/s

2 ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนทีแ่ บบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

5

vความเร็ว

ความเร็วของการเคลือ่ นทีแ่ บบฮารม์ อนิกอยา่ งง่าย หาได้จากความสัมพนั ธ์

v = Aωcos (ωt+ ∅)

2 ปริมาณที่เกีย่ วขอ้ งกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

aความเร่ง

ความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮารม์ อนิกอย่างงา่ ย หาไดจ้ ากความสัมพันธ์

a= −Aω2sin (ωt+ ∅)

2 ปริมาณที่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความเรง่ และการกระจัดของการเคลือ่ นที่แบบฮารม์ อนิกอย่างงา่ ย

a = - ω2x

ความสมั พันธร์ ะหว่างความเร็วและการกระจดั ของการเคลื่อนทีแ่ บบฮารม์ อนิกอยา่ งง่าย

v = ±ω A2−x2

2 ปริมาณที่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

สรุป

การกระจัด x =พมิ Aพส์ sมกinารท(่ีนω่ี t+ ∅)
ความเรว็ v = Aωcos(ωt+ ∅)
ความเรง่ a = - Aω2(ωt+ ∅)

3 แรงกบั การสน่ั ของมวลติดปลายสปริงและลูกตุ้มอยา่ งงา่ ย

พิมพส์ มการท่ีน่ี

แรงดึงกลับ (restoring force) เป็นแรงทีท่ าให้วัตถุเคลือ่ นที่
กลบั ไปกลบั มาซา้ ทางเดิม

3 แรงกบั การส่นั ของมวลติดปลายสปริงและลูกตุม้ อยา่ งงา่ ย

การสน่ั ของมวลติดปลายสปริง แรงสปริงที่กระทาต่อวัตถุมีขนาด

เท่ากับค่าคงตัวของสปริงคูณกับขนาด

ของการกระจัด แต่มีทิศตรงกันขา้ มกบั ทิศ

พิมพส์ มขกอารงทก่ีนา่ี รกระจัดตามสมการ

Fspring = -kx

การส่ันของมวลตดิ ปลายสปรงิ Fspring เป็นแรงดึงกลบั ของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
x เปน็ การกระจัดของวัตถุ มหี น่วยเป็นเมตร (m)
k เป็นคา่ คงตวั ของสปริง มหี น่วยเปน็ นวิ ตันตอ่ เมตร (N/m)

3 แรงกับการส่ันของมวลติดปลายสปริงและลกู ตุ้มอย่างง่าย

การสน่ั ของมวลติดปลายสปริง ความถี่เชิงมุม คาบ และความถี่

ของการส่ันของมวลติดปลายสปริง (k)

มวลของวตั ถุ (m) ตามสมการ

พมิ พส์ มการท่ีน่ี k
m
ω=

T = 2π m
k

การส่ันของมวลตดิ ปลายสปรงิ F = 1 k
2π m

3 แรงกบั การสัน่ ของมวลติดปลายสปริงและลูกตุ้มอยา่ งงา่ ย

การแกวง่ ของลูกตุม้ อย่างง่าย

พิมพส์ มการท่ีน่ี

การแกว่งของลกู ตุ้มอยา่ งง่าย

3 แรงกบั การส่ันของมวลติดปลายสปริงและลูกตุ้มอยา่ งงา่ ย

การแกวง่ ของลกู ตมุ้ อยา่ งงา่ ย

แ ร ง ดึ ง ก ลั บ ที่ ก ร ะ ท า ใ ห้ ลู ก ตุ้ ม
พิมพส์ เมคกลารือ่ ทน่ีน่ีที่กลบั ไปกลับมา ตามสมการ

F = - mg sin θ

ถ้ามุม θ มีค่าน้อยมาก ๆ คิดเป็นมุม
s
ในหน่วยเรเดียน sin θ~ θ โดย θ = l

แผนภาพแรงที่ประทาต่อลกู ตุม้ มวล m F = - mg θ

3 แรงกับการสัน่ ของมวลติดปลายสปริงและลูกตุม้ อย่างง่าย

การแกวง่ ของลกู ตุ้มอย่างงา่ ย ความถี่เชิงมุม คาบ และความถี่ ของ

การ ตามสมการแกวง่ ของลกู ตุ้มอยา่ งง่าย

สมั พนั ธ์กบั ความยาวเชือก ตามสมการ

พมิ พส์ มการท่ีน่ี ω= g
l

T = 2π l
g

F = 1 g
2π l
แผนภาพแรงที่ประทาต่อลูกตุม้ มวล m

4 ความถีธ่ รรมชาติและการสน่ั พอ้ ง

ความถี่ธรรมชาติ

ค ว า ม ถี่ ธ ร ร ม ช า ติ
พมิ พส์ มก(าnรทa่ีนt่ี ural frequency) คือ

ความถี่ในการสั่นของวัตถุหรือ
ระบบที่มีแนวโนม้ ทีจ่ ะสนั่ เมื่อถูก
ร บ ก ว น ซึ่ ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ
ลักษณะเฉพาะของแตล่ ะระบบ

4 ความถี่ธรรมชาติและการสน่ั พ้อง

การส่ันพอ้ ง

การส่ันพ้อง (resonance) เกิดขึน้ เมื่อวัตถุถูกกระตุ้นต่อเนื่อง
ให้สั่นอย่างอิสระด้วยแรงหพรมิ พือส์ พมกลารัทง่ีนง่ี านที่มีความถี่ใกล้เคียงกับ
ความถี่ธรรมชาติ วัตถุน้ันจะสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติและสั่นด้วย
แอมพลิจูดทีม่ ีคา่ มาก

4 ความถีธ่ รรมชาติและการส่ันพ้อง

การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ การสั่นพ้องของสะพาน

พมิ พส์ มการท่ีน่ี

สะพานทาโคมานารโ์ รว์


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง