Ppt งานฝ กฝ ม อ 1 เร องความปลอดภ ย

........................................................................................................................................................................

เรยี บเรยี ง โดย ณรงคเดช ปนันท ศศ.บ.การทองเทย่ี วและการโรงแรม

สารบัญ หนา เรื่อง 1 ความปลอดภยั ในโรงแรม 4 อบุ ตั เิ หตใุ นโรงแรม-สาเหตอุ ุบัติเหตุที่เกิดข้นึ ในโรงแรม การปองกันอนั ตรายจากการใชอ ปุ กรณไฟฟา 6 ระบบไฟฟา ในโรงแรม 11 แกส หุงตม 22 สารเคมี 30 การปองกันและการปฏบิ ัตติ นเมือ่ เกิดอัคคีภัย 35 การเขารว มการปฏบิ ตั ิงานกบั ทมี ผจญเพลงิ 44 การตรวจสอบความปลอดภยั ในโรงแรม เครือ่ งหมายและสญั ญาลกั ษณค วามปลอดภัยทีใ่ ชในโรงแรม การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน การดาํ เนินการเม่อื เกิดเหตกุ ารณฉ กุ เฉิน

ความปลอดภยั ในโรงแรม

มาตรการดานความปลอดภัยของโรงแรมและลูกคาที่มาใชบริการนับวามีความสําคัญตอการดําเนินธุรกิจ โรงแรมในปจจุบันเปนอยางยิ่ง เพราะจะชวยปองกันความเสียหายของชีวิตและทรัพยสินของลูกคาและของ โรงแรมเองท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ ไดจ ากปจจัยตา งๆ ไดเ ปน อยางดี หากจะเกิดความเสียหายบางจากเหตุสุดวิสัยตางๆ กจ็ ะไมเ สยี หายมากมายนัก

ในการดําเนินธุรกิจโรงแรมใหไดรับความนาเชื่อถือ และปองกันเหตุการณท่ีกอใหเกิดความเสียหายตอ ธรุ กจิ โรงแรมควรจัดใหม ีมาตรการดา นความปลอดภยั ตา งๆ ของโรงแรมดังน้ี

กุญแจประตรู ะบบคยี การด

แมวาการใชกุญแจประตูหองพักแขกดวยระบบคียการดจะกลายเปนมาตรฐานใหมของธุรกิจโรงแรมไป อยา งรวดเรว็ แตกย็ ังมโี รงแรมจาํ นวนไมน อยทีย่ ังไมไ ดน ํามาใชเพ่มิ ความปลอดภัยใหก บั ลกู คา ของตนเอง ระบบ การปดประตูหองพักแขกในปจจุบันเปนระบบท่ีประกอบไปดวยชองสําหรับเสียบหรืออุปกรณสําหรับแตะบัตร ทีม่ แี ถบแมเ หลก็ หรือหนวยความจาํ สาํ หรบั เก็บรหัสขอมูลอยูภายในบัตรเพ่ือใชเปนรหัสสวนตัวของลูกคาแตละ คนท่ีใชในการเปดประตูหองพักของตนเองและเช่ือมโยงขอมูลกับระบบอ่ืนๆ ซึ่งระบบนี้สามารถท่ีจะเช่ือมโยง ขอมูลไปสรู ะบบ PMS ไดโดยตรง

พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั

โรงแรมควรมีพนักงานรักษาความปลอดภัยทค่ี อยสอดสองและตรวจตราโรงแรมอยูตลอดเวลา เพื่อปองกัน เหตุรา ยตา งๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากปจ จยั ตา งๆ ท้ังจากภายนอกและภายในโรงแรมเอง

กลอ งวงจรปด

ระบบกลองวงจรปดนับวาเปนอุปกรณสําคัญในการรักษาความปลอดภัยท่ีมีใชกันอยูโดยทั่วไป รวมทั้งการ รักษาความปลอดภัยภายในโรงแรมท้ังหลายดวย การติดต้งั ระบบกลองวงจรปด ภายในโรงแรม นอกจากจะเปน การปอ งกันเหตุอาชญากรรมทั้งหลายท่ีอาจจะเกิดขึ้นไดกับลูกคาท่ีมาพักภายในโรงแรมแลว ยังสามารถบันทึก ขอ มลู ไวเพ่ือนาํ มาใชใ นภายหลังไดห ากพบวา เกดิ เหน็ การณท ่ผี ิดปกตขิ นึ้ ภายในโรงแรม โดยปกติแลวโรงแรมจะ ตดิ ตัง้ ระบบกลองวงจรปด ไวใหครอบคลมุ พืน้ ทส่ี าธารณะที่บคุ คลท่ัวไปเขา ถงึ ได

สัญญาณเตอื นไฟไหม

โรงแรมที่ไดมาตรฐานในปจจุบันสวนใหญจะมีการติดต้ังอุปกรณตรวจจับเพลิงไหมและสัญญาณเตือนไฟ ไหมไวใ นโรงแรมของตนเองโดยติดตั้งไวตามจุดสําคัญๆ ตางๆ ในขณะท่ีบางโรงแรมใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและ ตดิ ต้ังอปุ กรณตรวจจับเพลิงไหมไวในหองพักแขกทกุ หอง และทุกพื้นท่ีของโรงแรมพรอมกับระบบน้ําดับเพลิงท่ี จะทํางานไดโดยอัตโนมัติ และจะมีพนักงานคอยเฝาสังเกตุเหตุเพลิงไหมตลอด 24 ชั่วโมงเปนประจําทุกวัน เพื่อใหส ามารถตอบสนองตอเหตเุ พลงิ ไหมทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นไดตลอดเวลา

อปุ กรณใ หสญั ญาณเตอื นเพลิงไหม Alarm Smoke

หัวสปริงเกอรด ับเพลงิ ไฟสาํ รองฉกุ เฉิน

โรงแรมควรที่จะมีไฟฉุกเฉินติดตั้งไวตามจุดตางๆ ภายในบริเวณโรงแรม และสามารถใชในการใหแสง สวางฉุกเฉินไดเ มื่อกระแสไฟฟา ดบั เพื่อปอ งกันเหตุโกลาหล หรือเหตุรายท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับแขกท่ีมาพักภายใน โรงแรม และของพนักงานภายในโรงแรมเอง บางโรงแรมอาจจะจัดใหมีไฟฉายท่ีมีระบบชารจไฟอัตโนมัติพรอม ใชงานไวในหองพักแขก บางโรงแรมที่ต้ังอยูในบริเวณท่ีมีกระแสไฟฟาขัดของบอยๆ อาจจะมีเครื่องกําเนิด ไฟฟาสํารองไวใชจ า ยกระแสไฟฟา ในบริเวณที่สาํ คัญ และอปุ กรณต า งๆ ภายในโรงแรมที่มีความสําคัญตอความ ปลอดภัย ของลูกคาในยามฉุกเฉิน สําหรับโรงแรมที่มีขนาดใหญท่ีจัดสรางไดมาตรฐานจะจัดใหมีเครื่องกําเนิด กระแสไฟฟาขนาดใหญไวภายในโรงแรม และสามารถเดินเคร่ืองใชงานไดโดยอัตโนมัติทันทีที่กระแสไฟฟาท่ี จา ยมาจากภายนอกเกดิ เหตุขัดของทส่ี ามารถจา ยกระแสไฟฟาใหก ับทกุ สวนของโรงแรมเหมอื นปกติ คูม ีอการปฏิบตั สิ าํ หรบั เหตฉุ กุ เฉิน โรงแรมควรท่ีจะตองจัดทําแผนและคูมือการปฏิบัติของพนักงานโรงแรมสําหรับเหตุฉุกเฉินตางๆ ที่อาจจะ เกิดขึ้นภายในโรงแรม และทําการฝกอบรมพนักงานตางๆ ภายในโรงแรมที่เก่ียวของกับแผนการปฏิบัติสําหรับ เหตุฉุกเฉินตางๆ ใหมีความรู ความเขาใจ และสามารถปฏิบัติไดทันทวงทีโดยไมตองรอการส่ังการจากฝาย บรหิ าร

ตนู ริ ภยั สวนตวั ในหอ งพักพกั แขก

เปน มาตรการดา นความปลอดภยั เก่ียวกับทรัพยสนิ ของแขกท่ีมาพักในโรงแรมเพม่ิ เตมิ ภายในหอ งพกั แขก นอกเหนือไปจากการมีตูนริ ภยั สว นกลางไวใหบ รกิ ารแกลูกคา ของโรงแรมท่ีบรเิ วณ Front Office ของโรงแรม ตูนริ ภัยสว นตวั ท่จี ัดไวภายในหอ งพักแขกควรทจ่ี ะมีขนาดทใ่ี หญเ พียงพอท่จี ะใสคอมพวิ เตอรแบบโนต บุคสไ ด และมกี ารตง้ั ระหสั ลับสวนตัวสาํ หรับการปด และเปดไดด วยตนเอง

ระบบคยี ก ารด สําหรบั การใชง านลฟิ ทโ ดยสารของลูกคา

โรงแรมสามารถเพ่มิ มาตรการความปลอดภัยใหแ กลูกคา ท่ีมาใชบริการภายในโรงแรมโดยการติดต้ังระบบ คยี ก ารดภายในลิฟทโ ดยสารของลกู คาท่ีใชโดยสารขึ้นไปยงั ช้ันทเี่ ปนหอ งพกั แขกที่สามารถเชื่อมโยงขอ มลู กบั ระบบ PMS ของโรงแรม เพ่อื เปนการปอ งกันบุคคลภายนอกข้ึนไปยังบรเิ วณหองพกั ของแขกโดยไมไ ดร บั อนญุ าต ซึง่ ลฟิ ทโดยสารทต่ี ดิ ตงั้ ระบบน้ีไวจะสามารถใชโ ดยสารขึน้ ไปยังชั้นทเ่ี ปนหองพกั แขกไดก ต็ อเมอ่ื ผใู ช นาํ เอาคียการดที่ทางโรงแรมออกใหแ ละยังใชก ารไดอยสู าํ หรบั เปด หองพักแขกเสยี บเขาไปในชองหรอื แตะที่ อปุ กรณส ําหรบั อา นระหัสทีจ่ ัดไวแลวจงึ จะสามารถกดปมุ เลือกชนั้ ท่ีตองการขน้ึ ไปได

ทมี ผจญเพลิง

โรงแรมควรจัดตั้งทีมผจญเพลิงข้ึนภายในโรงแรมพรอมทั้งจัดเตรียมอุปกรณท่ีจําเปนตองใชในการผจญ เพลิง โดยมีพนักงานของโรงแรมท่ีปฏิบัติหนาที่ในรอบตางๆ เขารวมทีมใหสามารถปฏิบัติหนาที่ในยามฉุกเฉิน ไดตลอด 24 ช่ัวโมง และตองมีการฝกอบรมพนักงานเหลาน้ีในสามารถปฏิบัติหนาที่ท่ีไดรับมอบหมายได ทันทที ันใด และควรมกี ารฝกซอ มและทดสอบความพรอมอยางสมํา่ เสมอ

เสน ทางอพยพ

โรงแรมตองจัดทําเสน ทางอพยพเม่อื เกดิ เหตฉุ ุกเฉินตา งๆ ที่มปี า ยและเคร่ืองหมายตางๆ ติดแสดงไวภายใน โรงแรมใหเห็นไดอยางชัดเจนในยามปกติและในยามฉุกเฉินหรือเม่ือกระแสไฟฟาดับ ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาองั กฤษ และจะตองไมมีการนาํ เอาส่ิงของใดๆ มาวางขวางไวในเสนทางอพยพท่ีทางโรงแรมกําหนดไว

ตลอดเวลา นอกจากน้ีจะตองมีแผนผังเสนทางอพยพและคําแนะนําใหลูกคาปฏิบัติในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม ตดิ ตง้ั ไวภ ายในหอ งพักแขกทุกหอ งดวย

อุปกรณดับเพลิง

โรงแรมตองจัดใหมีอุปกรณดับเพลิงท่ีพรอมใชงานไดตลอดเวลาติดต้ังไวในจุดท่ีสามารถมองเห็นและนํา ออกมาใชงานไดในทันทีที่เกิดเหตุ และควรมีอุปกรณสําหรับดับเพลิงชนิดตางๆ เตรียมไวในหองครัวท่ีใช สําหรับประกอบอาหารท่ีใชแกสเปนเชื้อเพลิง รวมถึงผาคลุมดับไฟแบบฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นไดจากการใช น้าํ มันในการประกอบอาหารดว ย

นอกจากมาตรการดานความปลอดภัยท่ีกลาวมาขางตนแลว ยังมีรายละเอียดปลีกยอยอยูอีกเปนจํานวน มากท่ีผูบริหารโรงแรมควรจะศึกษาเพ่ิมเติมอยางละเอียดถ่ีถวน เพราะหลายๆ ประการมีการบัญญัติไวใชเปน กฎหมายในการดําเนินธุรกิจโรงแรมในบานเราที่ตองปฏิบัติตาม และหลายๆ ประการเปนกฎหมายท่ีมีการ บังคับใชในตางประเทศ แตก ็มผี ลตอการสงลูกคามาใชบรกิ ารโรงแรมตางๆ ภายนอกประเทศเหลา น้นั ดวย

หนว ยท่ี 1 อบุ ัติเหตุในโรงแรม และ สาเหตุท่ีเกดิ อุบตั เิ หตุในโรงแรม เราสามารถแยกประเภทของอุบตั ิเหตใุ นสาํ นักงานไดเ ปน 7 ประเภท ดังน้ี

1. การพลดั ตกหกลม เปนอุบัติเหตุท่ีผูปฏิบัติงานในสํานักงานประสบมากที่สุด แตมักจะละเลยจนดูเปนเรื่องธรรมดาและไมคอยไดมี การบันทึกไว ดังน้ันหากมีการสอบสวนอุบัติเหตุ สามารถบันทึกการสูญเสียอยางละเอียดแลว จะพบวาอัตรา การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ ่เี กิดจากการพลดั ตกหกลมจัดไดเ ปน 3 ลกั ษณะดังนี้

1.1 การล่นื หรือการสะดุดหกลม ลักษณะท่ีเกิดจะมีทั้งลื่นลมในพ้ืนที่ หรือพ้ืนท่ีปูพรม ตรงตําแหนงรอยตอของพรม การสะดุดหกลมมักจะเกิด จากมีส่ิงของวางขวาง หรือมีสายไฟหอยไวระเกะระกะ เชน สายไฟจากปลั๊กตอที่พ้ืนหรือเตาเสียบ หรือสายไฟ ที่ลากยาวไปตามพ้ืน โดยมิไดติดเทป มักทําใหมีการเตะหรือสะดุดหกลม โดยเฉพาะบันไดข้ึนลง อาจมีการลื่น และสะดุดหกลมเสมอ ๆ ผูปฏิบัติงานที่เปนพนักงานสาว ๆ มักใสรองเทาสนสูง ซึ่งอาจเปนตนเหตุทําใหเกิด การสะดุดและหกลมได

1.2 เกาอีล้ ม มักจะเกิดขึ้นจากการที่ผูปฏิบัติงานนั่ง หรือเล่ือนเกาอี้ที่หมุน โดยการใชเทาดันออกใหไหลล่ืนแรงเกินไป ใน บางกรณีเกิดจากการเอนไปขางหลังมากเกินไปจนเกิดการหงายไปขางหลัง บางครั้งผูปฏิบัติงานใชเทาพาดบน โตะ และเกิดความไมสมดุลย จากการเอียงตัว บางคร้ังพบวาผูปฏิบัติงานใชเกาอี้โดยไมสมดุลย ทําใหเกาอ้ี เลื่อนหนแี ละรางกายผูปฏิบตั งิ านจะลม ตกจากเกาอี้

1.3 การตกจากท่ีสงู มักจะมสี าเหตุจากการยนื บนโตะหรือเกาอที้ ีไ่ มสมดุลย หรือไมมั่นคง เชน เกาอี้มีลอ โตะหรือกลองที่วางรองรับ ไมแข็งแรง เมื่อผูปฏิบัติงานยืนข้ึนไปหยิบของลงมาอาจทําใหผูปฏิบัติงานหกลมตกลงมาเปนอันตรายได ใน สถานท่บี างแหงเปด ชอ งไว แลว ไมปด ใหเ รยี บรอย ผปู ฏบิ ตั งิ านอาจพลาดตกลงไปเปน อนั ตราย

2. การยกเคลอ่ื นยายวัสดุ ผูปฏิบัติงานอาจตองยกของซ่ึงใชทาทางการทํางานท่ีผิดวิธี โดยไมไดรับการฝกอบรมการจัดขั้นตอน

หรอื กระบวนการทํางานที่ไมเ หมาะสม ทาํ ใหผปู ฏบิ ัตงิ านตองเอ้ือมหรือเขยงจนกอใหเกิดอุบัติเหตุและอันตราย ได การยกน้ําหนักมากเกินกวามาตรฐานท่ีกําหนดกอใหเกิดการหักงอของกระดูกสันหลัง ซ่ึงเปนตนเหตุทําให เกิดอาการปวดหลงั ปวดไหล อาการกดทบั ของประสาท 3. การถกู ชนหรือชนกบั สิ่งของ

ในบางพื้นที่แคบหรือในมุมอับจะพบวา ผูปฏิบัติงานมักจะไมสามารถหลีกเล่ียงการชนกัน หรือชนกับ สง่ิ ของควรจะจัดพ้นื ท่ีเพอื่ ความเหมาะสม ทั้งจัดกระจกเงาติดตําแหนง แยกทางเพือ่ ปอ งกนั การชน 4. การทวี่ ัตถตุ กลงมากระแทก

วัตถุที่ตกมักจะวางอยูในตําแหนงที่สูง และไมม่ันคง เม่ือเกิดการส่ันสะเทือนจะมีการขยับและเลื่อน ตําแหนง เปนเหตุใหมีการตกหรือหลนลงมาถูกศีรษะของผูปฏิบัติงานท่ีอยูดานลาง การเปดลิ้นชักของตูเก็บ เอกสาร ผูปฏิบัติงานบางคนมักจะเปดลิ้นชักคางไวและไปหาเอกสารในช้ันอื่นตอไปเร่ือย ๆ ปริมาณเอกสารที่ มากจะไหลมาอยใู นทศิ ทางเดยี วกันทําใหต ูเกบ็ เอกสารขาดการสมดลุ ยลมลงมาทับหรอื กระแทกผูปฏิบัตงิ าน 5. การถกู บาด

อุปกรณสํานักงานบางอยางจะมีความคมเชน คัตเตอรตัดกระดาษผูปฏิบัติงาน หลายคนไมทราบ วิธีการใชอุปกรณเหลานี้อยางถูกตองทําใหเกิดการบาดเจ็บ แมกระทั่งกระดาษท่ีใชกับเครื่องถายเอกสารก็มี ความคม ขณะที่ผูปฏบิ ัติงานกดี กระดาษบางคร้ังจะถูกกระดาษบาดจนเลือดออกได

6. การเกยี่ วและหนบี ในบริเวณที่ปฏิบัติงาน บางคร้ังจะพบวามีการจัดวางของซ่ึงยื่นออกมาจนมีการเก่ียวผูปฏิบัติงานได

บางครั้งจะพบผูปฏิบัติงานถูกประตู หนาตาง หรือตูหนีบจนเกิดการบาดเจ็บ ตลอดจนการแตงตัวของ ผูปฏบิ ตั งิ าน

7. อคั คีภยั จะถือวาเปนอุบัติเหตุประเภทที่รุนแรงที่สุด และทุกคนในสํานักงานก็จะตระหนัก ตื่นเตน กับ

อคั คภี ยั ท่ีเกิดเสมอ ดังนน้ั การฝกปฏิบตั ิ การฝกซอ มการปองกนั และระงบั อคั คีภัยและการอพยพผูปฏิบัติงานใน สาํ นักงานจงึ มีความจาํ เปน

หนว ยท่ี 2 การปองกนั อันตรายจากการใชอุปกรณไ ฟฟา

ระบบไฟฟา ในโรงแรม เครอื่ งปรบั อากาศ เครือ่ งดูดฝนุ เครอื่ งทาํ นํา้ อนุ ชกั โครกกดอันโนมัติ ระบบคอนโทรลไฟฟา ในหองพกั

แกสหงุ ตม การใชกาซหุงตมกาซหุงตมเปนเช้ือเพลิงท่ีไวไฟมาก ถูกเก็บไวในภาชนะ โดยการอัดใหเปนของเหลว

ภายใตความดันสูง ภาชนะและอุปกรณ จึงตองรับแรงดันของกาซไดโดยปลอดภัย ดังนั้น จึงควรมีความรู เก่ียวกับอุปกรณ และวธิ ีการใชก า ซอยางถูกวิธี อคั คีภยั จากกา ซเกิดข้ึนไดเ มือ่ - มีกา ซร่วั - ผสมกบั อากาศ - มเี ปลวไฟ หรือ ประกายไฟ เหตกุ ารณท ้ัง 3 อยา งน้ี หากเกิดข้ึนตอ เนื่องกนั จะทาํ ใหเ กิดไฟไหม และอาจมกี ารระเบดิ การปอ งกันกา ซรัว่ 1. เลือกใชถังกา ซ อุปกรณ และทอกาซใหไดม าตรฐาน 2. ภายหลังการใช ใหป ด วาลวทถี่ ัง และทีเ่ ตากาซ 3. หมัน่ ตรวจสอบบรเิ วณขอ ตอ ของอุปกรณ และทอกา ซ โดยใชน ํ้าสบูลูบ เพือ่ ใหมั่นใจวา ไมม รี อยร่ัว

จะทําอยา งไรเมอ่ื กา ซรวั่ - เมื่อกาซร่ัวจะไดกลนิ่ เหม็นของกา ซ - รีบปด วาลวกาซที่หวั ถังและทเ่ี ตากาซ - หามเปด หรอื ปด อุปกรณไฟฟาทกุ ชนิดโดยเดด็ ขาด - ดบั เปลวไฟ และหามทาํ ใหเกดิ ประกายไฟในบรเิ วณใกลเ คียง - เปด ประตหู นาตางทุกบาน เพ่อื ระบายกาซออกโดยเร็ว หามใชพ ัดลมชว ยระบาย

อากาศโดยเดด็ ขาด ควรใชพ ัดไลก า ซออกไป - ตรวจสอบหารอยร่วั โดยใชนาํ้ สบู

สารเคมี Window Clean น้ํายาเชด็ กระจก Shine Up นาํ้ ยาเชด็ ฝนุ เช็ดฟอนเิ จอร Spectum นาํ้ ยาฆาเชื้อ Jasmine Flesh น้ํายาลางหอ งนาํ้ ฆา เชอ้ื และดับกลิน่ (สว นใหญใ ชขัดชักโครก) Elegance DC นํ้ายาลางหอ งนํา้ ฆา เชื้อแบคทีเรยี (สว นใหญใ ชข ดั พ้ืนหอ งนํา้ ) 3M Liquid Soap and Clean Soft สบเู หลวลา งมือ Forward Dc นา้ํ ยาลางหอ งน้ําขจัดคราบ Aroma Sense น้ําหอมปรบั อากาศ

หนวยท่ี 3 การปองกันและการปฏิบัติตนเมอ่ื เกิดอคั คีภยั

อัคคีภัย หมายถึง ภยันตรายอันเกิดจากไฟที่ขาดการควบคุมดูแล ทําใหเกิดการติดตอลุกลามไปตาม บริเวณ ที่มีเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหมตอเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากข้ึนถาการลุกไหมท่ีมีเชื้อเพลิงหนุน เน่อื ง หรือมี ไอของเชื้อเพลิงถกู ขบั ออกมามากความรอ นแรงก็จะมากย่ิงขึ้น สรางความสูญเสียใหทรัพยสินและ ชวี ติ

หนว ยท่ี 5 การตรวจสอบความปลอดภยั ในโรงแรม

หลกั เกณฑการตรวจสอบอาคารโรงแรม

หลักเกณฑก ารตรวจสอบอาคาร ตามกฎหมายตรวจสอบอาคาร ป พ.ศ. 2558 ประเภทการตรวจสอบใหญ ประเภท อาคารโรงแรม (จํานวนหอ งพักต้งั แต 80 หอ งข้นึ ไปตอหลงั ) ระดับ 1 (เกณฑข น้ั ตํ่า) ****ขอบเขต**** 1. เกณฑก ารตรวจสอบอาคารฉบับนี้ ออกตามความในกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑการข้ึนทะเบียน เกณฑการตรวจสอบฯ ขอ 18 (2) โดยเปนมาตรฐานทางราชการ 2. ปท่ที ําการตรวจสอบใหญใหเพิ่มสองแผน คือ แผนการบาํ รงุ รักษาระบบอปุ กรณแ ละแผนการตรวจสอบประจาํ ป 3. การตรวจสอบใชหลักการสังเกตดวยสายตาและใชประสาทสัมผัสของมนุษยที่มีความปลอดภัยตอผูตรวจสอบ อาจใช เคร่ืองมือพื้นฐานประกอบการตรวจสอบได เชน ตลับเมตร เครื่องวัดแสง/เสียง และเครื่องวัดความเร็วลม การตรวจสอบ อาคารนไี้ มใ ชการประกอบวิชาชพี ทางวศิ วกรรมหรือสถาปตยกรรม 4. หลักเกณฑจะตองไดรับการปรับปรุงเปนประจําใหเกิดความปลอดภัยในการใชงานดีข้ึนตามลําดับ ท้ังนี้ไมวาอาคารที่ ตรวจสอบนั้นจะตองปฏิบัติหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายท่ีบังคับใชขณะกอสราง ซ่ึงมีเปาหมายเพียงคํานึงถึงเฉพาะความ ปลอดภัยในการใชงานอาคารเทาน้นั 5. ผูตรวจสอบอาคารหรือผูใชเกณฑตรวจสอบฉบับน้ี ถือวาเปนผูมีความรูเรื่องขอกําหนดและเจตนารมณของมาตรฐานและ กฎหมายดา นความปลอดภยั อยางดี และเปน ผูทมี่ เี กยี รตดิ วยการปฏิบัตวิ ิชาชพี อยา งเปนธรรม 6. ในแตละรอบปของการตรวจสอบใหญใหตรวจสอบอาคารอยางนอย 2 ครั้ง ขอเสนอแนะจากการตรวจสอบและการ ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ ใหผูตรวจสอบอาคารแสดงรายละเอยี ดไวใ นรายงานฉบบั สมบูรณดวย 7. ผูตรวจสอบอาคารตองตรวจสอบอาคารอยางนอยตามเกณฑในฉบับน้ี ระบบและอุปกรณที่ติดต้ังในอาคารแตไมได อยูใน เกณฑก ารตรวจสอบฉบบั น้ีใหเ ปน การตกลงเฉพาะระหวางผูต รวจสอบอาคารกับเจาของอาคาร 8. หากเจาของอาคารไมสามารถแกไขตามขอเสนอแนะทันเวลา ใหผูตรวจสอบอาคารเขียนกําหนดการแลวเสร็จตาม ความเหน็ รว มกับเจาของอาคาร และใหเ จา ของอาคารลงนามรบั รอง

9. ใหผ ูต รวจสอบทาํ การสํารวจภายในหองพักอยางนอ ย 1 หอง / 1 ชน้ั ***วตั ถปุ ระสงค* ** 1.การตรวจสอบปน ี้จะมุงเนนเร่ืองความปลอดภยั ตอ ชวี ิตท้งั ชวี ติ ของผูใชอาคารและพนกั งานดบั เพลิงและกูภัยเปนสาํ คัญ เพ่อื ใหอาคารมีสภาพความปลอดภัยในการใชงานตามวตั ถปุ ระสงคของกฎหมาย 2.การตรวจสอบปน้ีจะชวยลดผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ ม ระดบั 1 สอดคลอ งกฎหมายที่ขออนุญาตขอมูลอาคาร 1.ชื่ออาคาร............................................................................................................................................................................... 2.ที่อยู....................................................................................................................................................................................... 3.อาคารเร่ิมใชงานต้ังแต วัน/เดอื น/ป. ................................................................................................................................... 4.อาคารเขาขา ยประเภทใดทต่ี อ งตรวจสอบอาคาร (ระบุมากกวา 1 ได) ................................................................................................................................................................ 5.ขอ มูลกายภาพและการใชงานของอาคาร(ใหก รอกขอมลู เทา ทม่ี ี) ก.จํานวนช้นั เหนือระดบั พืน้ ดิน (ไมร วมช้นั ลอย).............................ชัน้ ข.จํานวนชนั้ ใตระดับพนื้ ดนิ ...........................................................ชัน้ ค.ความสูงอาคาร .........................................................................เมตร ง.พ้นื ที่อาคาร (ไมร วมท่จี อดรถ)....................................................ตารางเมตร จ.พน้ื ที่จอดรถ ...............................................................................ฃตารางเมตร มีจาํ นวน .........................................................................................ช้ัน ฉ.จํานวนหอ งพัก/เตยี งท้ังหมด.......................................................หอง/เตยี ง ช.จํานวนบันไดตอเน่อื งท้ังหมดทน่ี าํ คนออกสูช้ันพ้นื ดนิ ...................บนั ได ซ.จาํ นวนลฟิ ต.................................................................................เครือ่ ง ฌ.จาํ นวนบันไดเลอ่ื น......................................................................เครอ่ื ง 6.แบบ/เอกสารท่ใี ชตรวจ....................................................................................................................................................... 7.ลักษณะโครงสรา งอาคาร.................................................................................................................................................... 8.มรี ะบบประกอบอาคาร ไดแก.............................................................................................................................................. 9.มีระบบปอ งกันอคั คีภยั ไดแก. ................................................................................................................................................ 10.วตั ถุอันตราย/เสย่ี งสูงที่ม(ี จํานวน/ปริมาณ/ทีเ่ ก็บ)...............................................................................................................

11.แบบขออนญุ าตกอ สรา ง..........มี .............ไมมี 12.พกิ ัดทีต่ ั้งอาคาร (ละติจดู ,ลองติจูด) ................................................................................................................................... 13.เลขทโี่ ฉนดที่ดิน ................................................................................................................................................................. 14.ลกั ษณะกจิ กรรมการใชอ าคารในปจจบุ นั ........................................................................................................................... รายละเอียดการตรวจสอบอาคาร 1.การตรวจสอบคร้ังที่แลวไดร บั ใบ ร.1 (ว/ด/ป) ................................................................................................................. โดยผตู รวจสอบหมายเลข................................................................................................................................................... 2.วันท่ตี รวจสอบครง้ั นี้ (ว/ด/ป) ....................................................................................................................................... 3.ช่ือและรายละเอยี ดของผูตรวจสอบ ก................................................................................................................. ข................................................................................................................. ง................................................................................................................. หมวด 1 การตรวจสอบความม่ันคงแขง็ แรงของอาคาร 1.การตอเตมิ ดัดแปลงปรับปรุงตวั อาคาร 2.การเปลี่ยนแปลงนาํ้ หนกั บรรทกุ บนพ้นื อาคาร 3.การเปล่ียนสภาพการใชอาคาร 4.การเปลย่ี นแปลงวสั ดุกอ สรา งหรือวสั ดตุ กแตง อาคาร 5.การชํารุดสกึ หรอของอาคาร 6.การวบิ ัตขิ องโครงสรา งของอาคาร 7.การทรดุ ตัวของฐานรากอาคาร

การตรวจสอบความมนั่ คงแขง็ แรงขา งตน การสังเกต ดงั นี้ ก.ไมม ีรอ งรอยของการเสยี รูปองคอ าคาร ก.ไมมีรอ งรอยการทรุดตัวแตกราว หรือผุกรอ น ข.ไมมคี วามเสย่ี งของการหลุด ตกหลน ของสว นประกอบโครงการและอุปกรณอนื่ ๆ

ค.รปู ทรงอาคารอยูใ นลักษณะตั้งตรงแนวดิ่ง หมวด 2 การตรวจสอบระบบและอปุ กรณป ระกอบของอาคาร 1.ระบบบรกิ ารและอํานวยความสะดวก

1.1 ระบบลฟิ ตร ะบบบันไดเลื่อนและทางเลอ่ื น 1.2 มปี ายคําเตอื นและแนะนําการใชง านเมื่อเกิดเหตขุ ัดขอ ง 2.มกี ารตรวจและบํารุงรกั ษาเปน ประจําทกุ ป 3.มีอุปกรณช วยเหลอื ขณะเกิดเหตุ หรือ ลฟิ ตคา ง 4.มรี ะบบเรียกลฟิ ตอัตโนมัตลิ งมาจอดในช้ันลา งหรือชั้นที่กําหนด

หนว ยท่ี 6 เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณความปลอดภัยท่ีใชในโรงแรม

เครือ่ งหมายและสเี พ่ือความปลอดภยั

11.1.1 เคร่อื งหมายเพอ่ื ความปลอดภัย ( Safety Signs )

มาตรฐาน กําหนดรูปเคร่ืองหมายเพ่ือความปลอดภัยเปน 3 แบบ ใหมีความหมายสัมพันกับการใชสี คือ วงกลม หมายถงึ การหามและขอบงั คับ 3 เหลยี่ ม หมายถึง การเตือนสติ และ 4 เหล่ียม หมายถึงขอ มลู หรอื ขอ แนะนํา นอกจาก IOS 3864 ยังไดใหรายละเอียดทางวิชาการดานอื่นๆท่ีจําเปนตอการกําหนดขอปฏิบัติโดยท่ัวไป สําหรับผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ การออกแบบแลอุตสาหกรรมการผลิตสัญลักกษณเหลาน้ีเพ่ือใหเปนสากลและเปนที่ยอมรับรวมกันท่ัวโลก เครื่องหมายเพื่อ ความปลอดภัยหรือปายเตือนความปลอดภัย ( Safety Poster ) มีไวเพื่อปองกันอุบัติเหตุ จําแนกเปนเครื่องหมายเพ่ือความ ปลอดภัย และเครอ่ื งหมายเสริม ดังตอไปน้ี

1. การใชเครอ่ื งหมายเพือ่ ความปลอดภัย

  1. เพื่อเตือนใหร ะวงั อันตรายท่จี ะเกิดขึ้นกับสุขภาพรางกาย
  1. กําหนดใหใ สอปุ กรณปองกนั อนั ตรายสวนบคุ คล
  1. แนะนําใหพงึ ปฏบิ ัตหิ รือละเวนการปฏิบตั ิเพ่ือวามปลอดภยั เคร่อื งหมายเสรมิ ความปลอดภยั

2. เคร่ืองหมายเสรมิ ความปลอดภัย

  1. รูปแบบของเครือ่ งหมายเสรมิ เปน 4 เหลีย่ มผนื ผา หรือ 4 เหลยี่ มจตั ุรัส
  1. มีพ้ืนใหใ ชสเี ดยี วกบั สีเพือ่ ความปลอดภยั และสีขอความใหใชส ีตดั หรือสพี ื้นใหใ ชสีขาวและสขี องขอความใหใ ชส ีดาํ
  1. ตวั อกั ษรทใ่ี ชใ นขอความ ก. ชอ งไฟระหวางตวั อักษรตอ งไมแ ตกตา งกนั มากกวารอ ยละ 10 ข. ลกั ษณะของตวั อกั ษรตองดเู รียบงาย ไมเ ขยี นแรเงาหรือลวดลาย ค. ความกวางของตัวอักษรตองไมน อยกวา รอ ยละ 70 ของความสงู ของตวั อักษร
  1. ใหแ สดงเคร่อื งหมายเสริมไวใ ตเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย

11.1.2 สเี พื่อความปลอดภยั และสตี ัด

สีเพื่อความปลอดภยั ความหมาย ตวั อยา งการใชงาน สตี ัด

  1. เคร่อื งเหตุหยุด สีแดง

หยดุ 2) เครอ่ื งหมายอุปกรณหยุดฉกุ เฉนิ สีขาว

  1. เคร่ืองหมายหาม

สีนํา้ เงิน 1) บงั คบั ใหตองสวมเครือ่ งปองกัน บังคับใหต อ งปฏบิ ัติ 2) เครื่องหมายบงั คับ

สีขาว

  1. ทางหนี สีเขียว 2) ทางออกฉุกเฉนิ
  1. ฝกบวั ชําระลางฉุกเฉิน

แสดงภาวะความ 4) หนวยปฐมพยาบาล สีขาว ปลอดภยั 5) หนว ยกูภยั

สเี หลอื ง 1) ช้ีบง วามีอันตราย เชน ไฟ วตั ถุ ระเบดิ ระวงั มีอนั ตราย สขี าว

  1. ชบ้ี ง ถงึ เขตอันตราย ทางผา นทม่ี ี อันตราย เคร่ืองกดี ขวาง เครอื่ งหมายเตือน

ตวั อยา งเคร่อื งหมายท่พี บในโรงแรมบอ ย

หนว ยที่ 7 การปฐมพยาบาลเบื้องตน

“เทคนคิ การรบั มอื กบั เหตฉุ กุ เฉินจากผเ ขาพกั ภายในโรงแรมู”

(Techniques for Coping with Emergencies of the Guests in the Hotel)

จากท่ีผูจัดทํา ไดเขามามีสวนในการปฏิบัติงาน ณ บริษัทเจ นคระพัฒนาท่ีดิน จํากัดหรือในนาม โรงแรมแก รนดฮาวเวิรด ในแผนกFront Office และไดรับหนาทีใ่ นตําแหนง พนักงานตอนรบั Guest Service Officer ดังนการจดั ทําโครงงานเร่อื งเทคนิคการรบั มอื กบเหตฉุ ุกเฉนิ จากผเู ขาพกั ภายในโรงแรม”“ จึงมี จุดประสงคเพ่อื เปน การศึกษาขอ มลู และข้ันตอนในการจัดการหรอื รบั มือกับสถานการณฉ ุกเฉินตางๆท่ี เกดิ ขนึ้ กบผูเ ขา พกั ภายในโรงแรมโดยหนาที่การทาํ งานในแผนกFront Office มดี ังนี้

พนกั งานตอ นรบั (Guest Service officer) จะตองทาํ การตอนรับผเู ขาพกั ทเี่ ดินเขามาในโรงแรมซ่ึง พนักงานตอนรับ จะเป นบุคคลแรกท่ีผูเขาพักพูดดวยโดยพนักงานตอนรับจะตองทักทายและใหการตอนรับผูเขา พักลงทะเบียนผูเขาพักและ จัดแจงหองใหกุญแจและทําการCheck out รวมการตอบขอซักถามและจัดการ เกี่ยวกบเรื่องที่ผูเขาพักสงสัยัรวบรวมขอมูล เกี่ยวกบค่ัาใชจายดานอาหารและเครื่องดื่มจากหองอาหารและบาร ตลอดจนคาใชจายท่ีเก่ียวกับการซักรีดเปนตนและ นอกจากนีอาจจะตองคิดตอประสานงานกับแผนกอื่นๆ ใน เรื่องตาง ๆ ท่ีเก่ียวกับแขกดวยซึ่งผูจัดทําไดมีหนาทCี่ heckin,ทํา การCheck out ประสานงานกับแผนกอ่ืนๆพรอมทังชวยเหลือพนักงานในการแกไขสถานการณฉุกเฉินตางๆ ที่เกิดกับผูเขา พกั และชวยเหลือและใหข อ มูล แกผ ูเขา พกั ในเบอื งตนซ่ึงไดพ บเจอปญหาหรอื เหตุการณฉ ุกเฉนิ ดังน้ี

เหตุฉกุ เฉนิ ในกรณที ผี่ เ ขา พกั ลืมทรัพยส นิ ในเวลาเรง ดวน

วธิ ีการแกไ ขสถานการณฉุกเฉนิ

• ประสานงานกบพนกั งานรักษาความปลอดภัย (รปภ.) ใหแจงกบพนักงานขับรถและเลอ่ื นเวลา ออก เดินทาง

• ประสานงานกบไกดห รือหัวหนา ทวั รแ จงหมายเลขหองผเู ขา พกั ทลี่ ืมของและของทีล่ ืมใหผ ู เขา พัก ทราบอยางเรว็ ทส่ี ุด

• นาํ ของไปคืนใหถึงมอื ผูเขา พัก

วิธกี ารสอ่ื สารในสถานการณฉ กุ เฉิน เหตฉุ ุกเฉนิ ในกรณีท่ีผเ ขา พกั ทํารา ยตัวเองู

เปน เหตุฉกุ เฉนิ ท่สี วนใหญแลว พบในหอ งพกั และแผนกHouse Keeping(แมบา นประจาํ ชัน)จะแจง เรอ่ื งมา ใหแ ผนกFront Office และ GSO จะตองแกปญ หาใหทันทวงที

วิธีการแกไ ขสถานการณฉกุ เฉนิ -แจง หวั หนา งานใกรณที ี่จะตอ งใช( Emergency Key ในการเปดประตู) -ประสานงาน รปภ.ใหข ึน้ ไปชว ยหามผูเขา พักใหห ยุดพฤตกิ รรมทาํ รายตนเอง -โทรแจง หนวยฉกุ เฉนิ 1669 -ปฐมพยาบาลเบอื งตน ใหก บผูเขา พัก(ในกรณีที่ผูเขา พักยนิ ยอม) -พูดคยุ กบผูเขา พกั ใหใจเย็นลงและเบี่ยงเบนความสนใจจากการทาํ รายตวั เอง -นําสงโรงพยาบาลใกลเ คียงทนั ที

เหตุฉกุ เฉนิ ในกรณีทผ่ี เ ขา พกั ทํารา ยผอู ่นื ู เปนเหตุฉุกเฉินทส่ี วนใหญแลว พบในหองพกั และแผนกHouse Keeping(แมบา นประจําชัน)จะแจง เรอื่ งมา

ใหแผนกFront Office และ GSO จะตองแกปญ หาใหทันทวงที

วธิ ีการแกไ ขสถานการณฉ กุ เฉนิ -แจงหัวหนา งานใกรณีทีจ่ ะตอ งใช( Emergency Key ในการเป ดประตู) -ประสานงาน รปภ.ใหเขาไปชว ยหามผเู ขา พักใหหยดุ พฤตกิ รรมนั -ใหความชว ยเหลอื ปฐมพยาบาลเบอื งตนแกผูทีถ่ กู ทําราย -พูดคุยกบผเู ขา พักใหอารมณเย็นลง

เหตุฉุกเฉนิ ในกรณที ผ่ี เ ขา พกั ถูกทาํ รา ยรา งกาย เปนเหตฉุ กุ เฉินทีพ่ บนอ ยมากใบรเิ วณโรงแรมแตจ าํ เปนจะตอ งศกึ ษาไวเพอื่ เปน แนวทางการรบั มือ และแกไ ข

ปญหาตอ ไป วิธกี ารแกไขสถานการณฉุกเฉิน

-จะตอ งประสานงานกับแผนกรักษาความปลอดภยั ใหเ ขา ชวยเหลอื ผูเขา พกั ใหเ รว็ ท่สี ุด -ปฐมพยาบาลเบืองตนแกผ เู ขาพกั ในกรณที ี่ไดรบั บาดเจ็บ -พูดคุยผูเขา พักใหใหพ นจากอาการตกใจ -แจงความดาํ เนนิ คดีกบผทู าํ รา ยรางกาย

เหตุฉกุ เฉินในกรณที ผี่ เ ขา พกั ปวย(กะทันหนั ) อาการลมชกั

วิธปี ฐมพยาบาลผปว ยเบอ้ื งตน โดยปกติแลวการชักจะหยุดเองในเวลา1-2นาทีในระหวางการชกั การดูแลผูปวยดวยการชักคือตั้งสติอยาตกใจ ประคองผูปวยใหนอนหรือน่ังลงสอดหมอนหรือวัสดุ ออนนุมไวใตศีรษะ ตะแคงศีรษะใหนําลายไหลออกทางมุมปาก และอยาใสส่ิงของเขาไปในปากหรือ งัดปากผูปวยเพราะปกติผูปวย จะไมกัดลิ้นตัวเองอีกทั้งวัสดุท่ีใสเขาไปอาจจะหัก หรือขาดหรือทําใหฟน หักหลุดไปอุดหลอดลมจนหยุดหายใจไดสวนใหญอาการชักมักจะไมเกิน 5 นาทีแตถานานกวา นนั้ ให พาไปโรงพยาบาลทใ่ี กลทีส่ ดุ และเนือ่ งดว ยผูเขาพักเปา งชาตจิ ึงจาํ ปนท่จี ะตอ งใชภ าษาอังกฤษ ในการส่ือสารกับ ตัวผเู ขา พักเองหรอื ญาติผเู ขา พัก

อาการอาหารตดิ หลอดลม

วิธีปฐมพยาบาลผป ว ยเบ้ืองตน(สําหรับผใ หญ) ู การสําลักมกั เกดิ จากอาหาร หรือสิงแปลกลอมอนื่ ๆเชนฟนปลอมผทู ี่สําลักมักไมส ามารถพูด ไอ หรือ หายใจไดและมักมีลักษณะเฉพาะคือใชมือจับไปท่ีคอของตนเองเนื่องจากหายใจไมออกหาก พบวาผูเขาพัก สาํ ลักอาหารหรือสิ่งแปลกปลอม ส่ิงแรกที่ควรกระทําคือการประเมินความรุนแรงหากยัง มีสติดีและสามารถ ไอไดด ว ยตวั เองบอกผูเขา พักใหพ ยายามไอออกมาดวยตัวเองระหวางนั่นเฝาสังเกต อาการ หากไมสามารถไอ ออกมาไดหรือไมมแี รงไอออกหรอื เรมิ่ มีอาการของการขาดอากาศหายใจ เชน สขี องใบหนา เร่มิ เปล่ยี นเปนสคี ลํ้าใหข อความชวยเหลอื ดว ยการตามรถพยาบาลและเขาชวยเหลือ ผูเขา พักทนั ที ในกรณีที่ไมสามารถไอไดดวยตนเองหรือไดลองใหพยายามไอแลวไมไดผลหากผูเขาพักหมด สติไป แลว ใหโ ทรแจงสายดวน 1669 และเริ่มทาํ การกูชีวิต(CPR, ปม หวั ใจหากมีหวั ใจหยดุ เตน ) ทนั ที

หากยังไมหมดสตใิ หเรยี กรถพยาบาลและทาํ การตบแรงๆทีบ่ รเิ วณหลังของผูปว ยเพ่อื กระตุนใหเ กดิ การไอ สามารถทาํ ซาํ ได5 คร้ังหากส่ิงแปลกปลอมยังไมอ อกใหทําHeimlichManeuver (ใชใ นผใู หญห รอื เด็กอายุมากกว1 ขวบ) ซึง่ มวี ธิ ีการดังน้ี ขน้ั ท1่ี ใหผูเขาพักยนื ขึ้น

ข้ันท2่ี ยนื ขา งหลังผเู ขา พักโดยใหขาขา งหนงึ่ อยูระหวางขาทั่ง 2 ขา งของผูปว ยเพอื่ พยงุ ผปู ว ยในกรณที ห่ี มดสติ ข้นั ท3ี่ แจง ใหผ ปู ว ยทราบวาเรากาลังจะใหค วามชํ่วยเหลอื

ข้ันท4ี่ ใชแขนทงั 2 ขา งโอบรอบเอวผปู ว ยใหแ ขนอยูjบรเิ วณกระดกู ซีโ่ ครงเ นอื่ งจากอาจมผี ลทํา ใหซ ่โี ครงหกั ได

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน อาจารย์ ตจต ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf lmyour แปลภาษา ชขภใ ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 ขขขขบบบยข ่ส ศัพท์ทางทหาร military words หนังสือราชการ ตัวอย่าง หยน แปลบาลีเป็นไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง พจนานุกรมศัพท์ทหาร เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษามลายู ยาวี Bahasa Thailand กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ การ์ดจอมือสอง ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ค้นหา ประวัติ นามสกุล บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ร. ต จ แบบฝึกหัดเคมี ม.5 พร้อมเฉลย แปลภาษาอาหรับ-ไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PEA Life login Terjemahan บบบย มือปราบผีพันธุ์ซาตาน ภาค2 สรุปการบริหารทรัพยากรมนุษย์ pdf สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม เช็คยอดค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าดับ แปลภาษา มาเลเซีย ไทย แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ ่้แปลภาษา Google Translate กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบโอเน็ตม.3 มีกี่ข้อ คะแนนโอเน็ต 65 ตม กรุงเทพ มีที่ไหนบ้าง