คณ ตศาสตร ม.1 เทอม1 แบบฝ กท กษะท 1.4 ระด บกลาง

คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เลม่ ๑ นี้ ประกอบดว้ ยเนือ้ หาสาระเกย่ี วกบั

การวิเคราะห์ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรรู้ ายชัน้ ปี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระสำ�คัญ แนวการจัดการเรยี นรู้

แนวการจัดกจิ กรรมในหนงั สอื เรียน ตวั อยา่ งแบบทดสอบประจำ�บทพรอ้ มเฉลย รวมทงั้ เฉลยแบบฝกึ หัด ซึง่ ครูผสู้ อน

สามารถนำ�ไปใช้เปน็ แนวทางในการวางแผนการจัดการเรยี นรใู้ หบ้ รรลุจุดประสงคท์ ีต่ ง้ั ไว้ โดยสามารถนำ�ไป

จดั กิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้ตามความเหมาะสมและความพรอ้ มของโรงเรยี น ในการจดั ทำ�คู่มอื ครเู ล่มน้ี ไดร้ ับความ

ร่วมมือเปน็ อย่างดียง่ิ จากผูท้ รงคณุ วฒุ ิ คณาจารย์ นกั วิชาการอิสระ รวมท้ังครูผู้สอน นักวชิ าการ จากสถาบัน

และสถานศกึ ษาทง้ั ภาครฐั และเอกชน จงึ ขอขอบคณุ มา ณ ท่นี ี้

สสวท. หวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ คูม่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานคณิตศาสตร์เลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ สู้ อน และ ผู้ที่เกย่ี วข้องทกุ ฝ่าย ทจ่ี ะชว่ ยใหจ้ ัดการศกึ ษาดา้ นคณิตศาสตร์ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ หากมีขอ้ เสนอแนะใด ทจ่ี ะท�ำ ให้ค่มู อื ครเู ลม่ นมี้ ีความสมบรู ณย์ ่ิงข้ึน โปรดแจ้ง สสวท. ทราบดว้ ย จะขอบคณุ ยงิ่

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

สารบัญ หนา้

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (1) ค�ำ อธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน (2) โครงสร้างเวลาเรียน (3) ตัวชวี้ ัด/สาระการเรยี นรู้ (4) ตารางวิเคราะหจ์ ดุ ประสงค ์ (10) ผงั มโนทศั น์เน้อื หา (17)

แนวการจดั การเรยี นร ู้ 1 บทที่ 1 จำ�นวนนับ 1 ถงึ 10 และ 0 63 แบบทดสอบบทที่ 1 66 บทท่ี 2 การบวกจำ�นวนสองจ�ำ นวนทผี่ ลบวกไมเ่ กิน 10 116 แบบทดสอบบทท่ี 2 118 บทท่ี 3 การลบจำ�นวนสองจ�ำ นวนท่ตี วั ต้ังไมเ่ กนิ 10 172 แบบทดสอบบทที่ 3 174 บทท่ี 4 จำ�นวนนับ 11 ถึง 20 212 แบบทดสอบบทท่ี 4 215 บทที่ 5 การบวก การลบจำ�นวนนบั ไม่เกิน 20 281 แบบทดสอบบทที่ 5 293 บทที่ 6 แผนภมู ริ ปู ภาพ 310 แบบทดสอบบทท่ี 6 316 บทท่ี 7 การวดั นำ�้ หนกั 358 แบบทดสอบบทที่ 7

เฉลยแบบฝกึ หดั เลม่ 1 362 บทท่ี 1 จ�ำ นวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0 363 384 บทที่ 2 การบวกจ�ำ นวนสองจำ�นวนท่ผี ลบวกไมเ่ กนิ 10 398 บทท่ี 3 การลบจำ�นวนสองจ�ำ นวนท่ตี ัวต้งั ไม่เกนิ 10 413 บทท่ี 4 จ�ำ นวนนับ 11 ถึง 20 422 บทท่ี 5 การบวก การลบจ�ำ นวนนับไม่เกิน 20 441 บทท่ี 6 แผนภมู ิรปู ภาพ 446 บทท่ี 7 การวัดน�้ำ หนกั 462 ความร้เู พมิ่ เติมสำ�หรบั คร ู 477 คณะผ้จู ดั ท�ำ

คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ จ�ำ นวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน

ผลท่ีเกดิ ข้ึนจากการด�ำ เนินการ สมบัตขิ องการดำ�เนินการ และน�ำ ไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟังกช์ ัน ลำ�ดับและอนุกรม และน�ำ ไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พนั ธ์หรอื ชว่ ยแกป้ ญั หาท่กี �ำ หนดให้

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพนื้ ฐานเก่ยี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ท่ตี ้องการวัด และน�ำ ไปใช้

มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป

เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

สาระท่ี ๓ สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น

มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรูท้ างสถิติในการแก้ปัญหา

มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลกั การนบั เบือ้ งต้น ความน่าจะเปน็ และนำ�ไปใช้

© สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (1)

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ค�ำ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

รหสั วิชา ค ๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ศกึ ษา ฝกึ ทกั ษะการคิดค�ำ นวณ และฝึกการแก้ปญั หาในสาระตอ่ ไปน้ี

การใชจ้ ำ�นวนบอกปริมาณท่ีได้จากการนับ การอ่าน และการเขียนตัวเลขฮินดูอารบกิ และตัวเลขไทย แสดงจำ�นวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ การนบั ทีละ ๑ และทลี ะ ๑๐ การบอกอนั ดบั ที่ การแสดงจ�ำ นวนนับ ไมเ่ กนิ ๒๐ ในรูปความสมั พันธข์ องจ�ำ นวนแบบสว่ นย่อย – ส่วนรวม หลกั และคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั การเขยี นตัวเลขแสดงจ�ำ นวนนับในรปู กระจาย การเปรียบเทยี บจำ�นวน การใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < การเรยี งลำ�ดบั จ�ำ นวนไม่เกนิ ๕ จำ�นวน

ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ ความสมั พนั ธข์ อง การบวกและการลบ โจทย์ปัญหา

แบบรปู ของจ�ำ นวนทเ่ี พม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลงทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐ แบบรปู ซ�ำ้ ของจ�ำ นวน รปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ

“เริ่มต้นมาในบทนี้ น้อง ๆ จะได้เรียนเรื่องของจำนวนเต็ม ซึ่งเป็นจำนวนที่เราได้เจอบ่อย ๆ ในชีวิตประจำวัน ทั้งพวก 1, 2, 3, 4, … ที่เรียกว่าจำนวนเต็มบวก (เรียกจำนวนนับ หรือจำนวนธรรมชาติก็ได้) หรือ พวก -1, -2, -3, … ที่เรียกว่าจำนวนเต็มลบ หรือ 0 ที่เรียกชื่อเต็มของมันก็คือจำนวนเต็มศูนย์นั่นเอง

สนุกไปกับการเปรียบเทียบจำนวนเต็มต่าง ๆ ตอบให้ได้ว่า ใครมากใครน้อยกว่ากัน และนำเอาจำนวนเต็มเหล่านั้น มาบวก มาลบ มาคูณ มาหารกัน และช่วงท้ายของบทนี้น้องจะได้เรียนสมบัติของเลขหนึ่ง เลขศูนย์ และนำความรู้เรื่องจำนวนเต็มในบทนี้ไปฝึกใช้ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์กัน”

บทที่ 2 การสร้างทางเรขาคณิต

เนื้อหาประกอบด้วย

  • รูปเรขาคณิตพื้นฐาน
  • การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
  • การสร้างรูปเรขาคณิต

พี่เอ๋แนะนำ

“ใครเป็นนักสร้างรูป ฝันจะเป็นสถาปนิก, วิศวกร เตรียมตัวไว้ เพราะบทนี้เราจะเรียนเรื่องการสร้างรูปเรขาคณิตกัน เริ่มต้นจากน้องจะได้เรียนพื้นฐานทางเรขาคณิต ไม่ว่าจะเป็น จุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสี และมุม

จากนั้นเรียนเกี่ยวกับการใช้วงเวียนและไม้บรรทัด สร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต เช่น การสร้างส่วนของเส้นตรงหรือมุม ให้เท่ากับที่กำหมดมาให้ การแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรงหรือมุม การสร้างเส้นตั้งฉาก และสร้างรูปเรขาคณิต เช่น การสร้างสามเหลี่ยม หรือสี่เหลี่ยม เป็นต้น”

บทที่ 3 เลขยกกำลัง

เนื้อหาประกอบด้วย

  • ความหมายของเลขยกกำลัง
  • การคูณและการหารเลขยกกำลัง
  • สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

พี่เอ๋แนะนำ

“บทนี้น้องจะได้เรียนพื้นฐานของเลขยกยกกำลัง โดยเริ่มต้นจากการเรียนเกี่ยวกับความหมายของเลขยกกำลัง การคูณและการหารเลขยกกำลัง ซึ่งน้องจะได้เรียนสมบัติต่าง ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะช่วยให้เรียนเรื่องเลขยกกำลังใน ม.2 ง่ายยิ่งขึ้น

ช่วงท้ายของบทนนี้น้องจะได้เรียนเรื่องเลขสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ที่จะช่วยให้สามารถเขียนเลขจำนวนมาก ๆ ให้สั้นขึ้นได้โดยใช้เลขยกกำลัง”

บทที่ 4 ทศนิยมและเศษส่วน

เนื้อหาประกอบด้วย

  • ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
  • การบวกและการลบทศนิยม
  • การคูณและการหารทศนิยม
  • เศษส่วนและการเปรียบเทียบเศษส่วน
  • การบวกและการลบเศษส่วน
  • การคูณและการหารเศษส่วน
  • ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน

พี่เอ๋แนะนำ

“ในชีวิตประจำวัน นอกจากเราจะเจอกับจำนวนเต็มบ่อย ๆ แล้ว เรายังเจอกับพวกทศนิยมและเศษส่วนมาด้วยเช่นกัน

ในบทนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับค่าประจำหลักของทศนิยม ค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมและเศษส่วน การเปรียบเทียบทศนิยมและเศษส่วน การบวก ลบ คูณ หาร ทศนิยมและเศษส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน ปิดท้ายด้วยเรื่องของการนำความรู้เกี่ยวกับทศนิยมและเศษส่วนมาใช้แก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ได้”

บทที่ 5 รูปเรขาคณิต 2 มิติและ 3 มิติ

เนื้อหาประกอบด้วย

  • หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
  • ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ

พี่เอ๋แนะนำ

“ในบทนี้ รูปเรขาคณิตสองมิติ เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ตกกระป๋องไป เพราะตัวละครหลักของบทนี้คือ ปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย ทรงกรม และรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เราจะเรียนเกี่ยวกับหน้าตัดต่าง ๆ ของพวกมัน คลี่รูปสามมิติออกมาเป็นอย่างไร นอกจากนี้เราจะฝึกมอง รูปเรขาคณิตสามมิติจากมุมมองต่าง ๆ ทั้งด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนอีกด้วย”

สรุปเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ในแต่ละบทเรียน

คณ ตศาสตร ม.1 เทอม1 แบบฝ กท กษะท 1.4 ระด บกลาง

บทที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

เนื้อหาประกอบด้วย

  • การเตรียมความพร้อมก่อนรู้จักสมการ
  • สมการและคำตอบของสมการ
  • การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
  • โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

พี่เอ๋แนะนำ

“ในบทนี้เราจะมาทำความรู้จักกับสมการพื้นฐานสมการหนึ่ง นั่นคือ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เช่น 3x+5=20, 7k=10-3k, 6+3y =3(y+2) เป็นต้น

โดยเริ่มต้นจากการทบทวนศัพท์ต่าง ๆ เช่น ตัวแปร ค่าคงตัว นิพจน์พีชคณิต สมการ คำตอบของสมการ และการแก้สมการ จากนั้นเรียนรู้สมบัติต่าง ๆ ฝึกฝนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากง่ายไปยาก และฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ใช้ความรู้ในบทนี้แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเพื่อแก้ปัญหาได้”

บทที่ 2 อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ

เนื้อหาประกอบด้วย

  • อัตราส่วน
  • สัดส่วน
  • ร้อยละ
  • บทประยุกต์

พี่เอ๋แนะนำ

“นี่คือหนึ่งในบทที่ออกข้อสอบเยอะที่สุด ทั้งในสนามสอบแข่งขันต่าง ๆ และสนามสอบเข้า ม.4 โรงเรียนชั้นนำ โดยในบทนี้น้องจะได้เรียนเกี่ยวกับความหมายของอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ (เปอร์เซ็นต์) นอกจากนี้ยังมีศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น มาตราส่วน สัดส่วนตรง สัดส่วนผกผัน อัตราส่วนทองคำ เป็นต้น

น้องจะได้ฝึกการทำโจทย์มากมายในบทนี้ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นโจทย์ปัญหาที่มีเรื่องราวให้เราวิเคราะห์ และตีความออกมา ปิดท้ายด้วยโจทย์แนวประยุกต์ เช่น เรื่องการเปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิ การย่อ/ขยาย และเรื่องของภาษี”

บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น

เนื้อหาประกอบด้วย

  • คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
  • กราฟและการนำไปใช้
  • ความสัมพันธ์เชิงเส้น

พี่เอ๋แนะนำ

“บทนี้เป็นหนึ่งในบทพื้นฐานที่ไม่ยากมากนัก น้องจะได้เรียนเกี่ยวกับความหมายของคู่อันดับ การเขียนและอ่านกราฟของคู่อันดับบนระนาบในระบบพิกัดฉาก การอ่านและแปลความหมายกราฟต่าง ๆ ตลอดจนเรียนการเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองชุดในรูปแบบต่าง ๆ ได้”

บทที่ 4 สถิติ (1)

เนื้อหาประกอบด้วย

  • คำถามทางสถิติ
  • การเก็บรวบรวมข้อมูล
  • การนำเสนอข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูล

พี่เอ๋แนะนำ

“บทนี้เป็นการปูพื้นฐานสถิติ เพื่อนำไปสู่การเรียนสถิติในขั้นที่สูงขึ้นไป จึงยังไม่ยากมากนัก และไม่ค่อยมีการคำนวณ น้องจะได้เรียนเกี่ยวกับความหมาย และกระบวนการของสถิติ คำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีต่าง ๆ การนำเสนอข้อมูล เช่น แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น และแผนภูมิรูปวงกลม ปิดท้ายด้วยการวิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูล”

คณิตศาสตร์ ม.1 มีเรื่องอะไรบ้าง

คณิต ม.1-3 เรียนอะไรบ้าง.

คณิตศาสตร์ ม.1 เรียนกี่ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์ ๑ รหัสวิชา ค ๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ลำดับ

คณิตศาสตร์ ม.1 มีกี่ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่2 จานวนมาตรฐาน 2 มาตรฐาน และจานวนตัวชี้วัด 5 ตัวชี้วัด ต่อภาคเรียน

คณิตศาสตร์ ม.6 มีเรื่องอะไรบ้าง

สำหรับ คณิตศาสตร์ ม.6 จะเรียน เลข เรื่อง การวิเคระห์ข้อมูลเบื้องต้น , ลำดับอนุกรม , แคลคูลัส , กำหนดการเชิงเส้น ซึ่งจะเป็นการต่อยอดความรู้ของเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.4 และ เลข ม.5 ในบท เซต , การให้เหตุผล , จำนวนจริง , เลขยกกำลัง , ฟังก์ชัน , อัตราส่วนตรีโกณมิติ , ลำดับและอนุกรม , ความน่าจะเป็น , เวกเตอร์ , สถิติ