123 ม.13 ต.นาป า อ.เม อง จ.เพชรบ รณ

123 ม.13 ต.นาป า อ.เม อง จ.เพชรบ รณ

ระบบแผนที่และข้อมูลมัสยิดออนไลน์ Masjid map and infomation system

  • หน้าแรก
  • รายชื่อมัสยิด
    • รายชื่อมัสยิด
    • มัสยิดในแต่ละจังหวัด
  • เพิ่มมัสยิด
    • เพิ่มมัสยิด
  • เวลาละหมาด
    • เวลาละหมาด
  • เส้นทาง
  • ค้นหา
    • ค้นหาข้อมูล
    • ค้นหาด้วยแผนที่
  • เกี่ยวกับ
  • ติดต่อ
เวลาละหมาดจังหวัดอื่นๆ

หน่วยงาน คะแนน ITA ดชั นที ี่ 1 ดชั นที ี่ 2 ดัชนีที่ 3 ดัชนที ี่ 4 ดัชนที ี่ 5 ดชั นที ่ี 6 ดัชนที ่ี 7 ดัชนที ่ี 8 ดชั นีที่ 9 ดัชนีท่ี 10

สพม.40 ภาพรวม

85.03 93.41 78.91 89.04 78.30 79.65 94.10 86.94 85.02 90.42 75.86

0

22

1.3 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 40 ท่ผี ่านมา (พ.ศ. 2558 – 2562) สรุปได้ดงั น้ี

ปงี บประมาณ พ.ศ. ผลคะแนน ITA พฒั นาการ ผลต่างของคะแนน ITA 2558 69.19 - - 2559 75.98 2560 88.40 เพม่ิ ขน้ึ +6.79 2561 81.90 เพมิ่ ขึ้น +12.42 2562 85.03 ลดลง - 6.5 เพ่ิมข้ึน +3.13

1.4 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เป็นรายตัวชี้วัด ซึ่งได้จากการสารวจความคิดเห็นของบุคลากรและเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานในสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษา ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และจากเอกสารหลักฐาน การเปดิ เผยข้อมูลผา่ นทางเว็บไซตข์ องสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา เรียงตามลาดับคะแนนได้ ดงั นี้

ตวั ชี้วัดที่ ประเด็นตวั ช้ีวดั คะแนน ระดับ หมายเหตุ

1 คณุ ภาพการดาเนินงาน 94.10 AA ผา่ น

2 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ี 93.41 A ผ่าน

3 การเปิดเผยขอ้ มลู 90.42 A ผ่าน

4 การใช้อานาจ 89.04 A ผ่าน 5 ประสิทธิภาพการส่อื สาร 86.94 A ผ่าน 6 การปรบั ปรุงระบบการทางาน 85.02 A ผ่าน

7 การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ 79.65 B ไมผ่ า่ น

8 การใชง้ บประมาณ 78.91 B ไมผ่ ่าน

9 การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการ 78.30 B ไม่ผา่ น

10 การปอ้ งกนั การทจุ รติ 75.89 B ไม่ผ่าน

ระดบั คะแนน หมายเหตุ AA Excellence 95.00 – 100 ผ่าน A Very Good 85.00 – 94.99 ผา่ น B Good 75.00 – 84.99 ไม่ผ่าน C Fair 65.00 – 74.99 ไมผ่ ่าน D Poor 55.00 – 64.99 ไมผ่ ่าน E Extremely Poor 50.00 – 54.99 ไม่ผ่าน F Fail 0 – 49.99 ไมผ่ ่าน

0

23

การนาผลการประเมนิ ITA ไปสู่การปรับปรุงแกไ้ ขการดาเนินงาน จากผลการประเมินคุณธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 เปน็ รายตัวชว้ี ัด พบว่าตัวชี้วัดที่ หนว่ ยงานควรมกี ารพัฒนาและยกระดบั ให้ดยี ง่ิ ขน้ึ (มีคะแนนตา่ กว่ารอ้ ยละ 85) มีดังน้ี

1. การแก้ไขปญั หาการทจุ รติ

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาจะต้องทบทวนนโยบายท่เี กย่ี วข้องกับการป้องกนั การทุจริต ในหนว่ ยงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และจดั ทาแผนงานดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ของหน่วยงาน เพื่อใหเ้ กิด การแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม รวมไปถงึ การประเมินเก่ยี วกบั ประสิทธภิ าพการแก้ไขปัญหาการทุจริต ของหน่วยงาน ท่จี ะต้องทาให้การทจุ รติ ในหน่วยงานลดลงหรอื ไม่มเี ลย และจะตอ้ งสรา้ งความเช่ือมัน่ ใหบ้ ุคลกรภายใน ในการร้องเรยี นเม่ือพบเหน็ การทจุ รติ ภายในหน่วยงานด้วย นอกจากน้ี หน่วยงานจะต้องมีกระบวนการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายในหน่วยงาน รวมถึงการนาผลการตรวจสอบของฝา่ ยตรวจสอบ จากท้งั ภายในและภายนอก หน่วยงาน ไปปรับปรุงการทางาน เพ่ือป้องกนั การทจุ ริตในหน่วยงาน

2. การใช้งบประมาณ แนวทางการแก้ไขสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาจะต้องจดั ทาแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจาปี

และเผยแพร่อยา่ งโปร่งใส ใช้จา่ ยงบประมาณของหน่วยงานอยา่ งคุ้มคา่ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ และไมเ่ อ้ือประโยชน์ แก่ตนเองหรอื พวกพอ้ ง และต้องเปดิ โอกาสใหบ้ คุ ลากรภายในมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของ หน่วยงานตนเองได้

3. การใช้ทรัพยส์ ินของราชการ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาจะตอ้ งมีการจัดทาแนวทางปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับการใช้ทรัพยส์ ินของ

ราชการทถี่ กู ตอ้ ง เพ่ือเผยแพร่ใหบ้ ุคลากรภายในได้รับทราบและนาไปปฏบิ ตั ิ รวมไปถึงหน่วยงานจะตอ้ งมกี ารกากับ ดแู ลและตรวจสอบการใช้ทรัพย์สนิ ของราชการของหน่วยงานด้วย

4. การป้องกนั การทุจรติ

แนวทางการปอ้ งกันการทุจริต

  1. สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาตอ้ งจดั ทาโครงการ/กิจกรรม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีมีแนวทาง สอดคลอ้ งหรือสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การพัฒนาและยกระดบั คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสของ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
  2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต้องดาเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต ได้แก่ เจตจานงสุจริต ของผู้บริหาร การประเมินความเส่ียงเพื่อการป้องกันการทุจริต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร และแผนปฏิบัติการ ปอ้ งกันการทจุ ริต
  3. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาต้องดาเนินการทบทวนและจัดทามาตรการภายในเพ่ือป้องกันการ ทุจรติ ประกอบดว้ ย

3.1) มาตรการเผยแพร่ข้อมลู ต่อสาธารณะ 3.2) มาตรการใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี มสี ่วนร่วม 3.3) มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจดั ซื้อจัดจา้ ง 3.4) มาตรการและแนวปฏิบัตใิ นการจัดการเร่ืองร้องเรยี นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชัน 3.5) มาตรการป้องกันการรับสินบน 3.6) มาตรการป้องกนั การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม 3.7) มาตรการตรวจสอบการใชด้ ลุ พนิ จิ

0

24

แนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติการโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

การจัดทาแผนปฏิบัติการโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สานักงาน เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มแี นวทางและขัน้ ตอนดงั ต่อไปนี้

1. ศึกษายุทธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนบรู ณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ ทบทวนข้อมลู และบรบิ ทต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

2. จัดทาแผนปฏิบัติการโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยใช้กรอบแนวทาง ตามยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ

3. เสนอแผนปฏิบัติการโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ต่อ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพนื้ ฐาน เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบ

4. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการโครงการเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563

5. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ตามแผนปฏิบัติการโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

6. สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาดาเนนิ การตามแผนปฏิบตั ิการโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรร มาภิบาลในสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ได้รับ ความเห็นชอบ

7. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 รายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับ การโอนจัดสรรจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามช่องทางและระยะเวลาท่ีสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพื้นฐานกาหนด

0

25

ส่วนท่ี 2 บรบิ ทท่เี กี่ยวขอ้ ง

สาหรบั ประเทศไทยได้กาหนดทศิ ทางการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตซงึ่ มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความรุนแรง รวมถึงการสร้างความตระหนักในการประพฤติปฏิบัติตน ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตของคนในสังคม ทั้งน้ี สานักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรหลักด้านการดาเนินงานป้องกันและ ปราบปรามการทุ จริ ต รวมท้ั งบู รณาการการท างานด้ านการต่ อต้ านการทุ จริ ตเข้ ากั บทุ กภาคส่ วน ดังนน้ั สาระสาคัญทม่ี คี วามเช่ือมโยงกบั ทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ทส่ี านกั งาน ป.ป.ช. มดี งั น้ี

1. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 2. ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 3. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

ประเด็น การต่อตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ (พ.ศ. 2561 – 2580) 4. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 5. โมเดลประเทศไทยส่คู วามมนั่ คง ม่ังคั่ง และยงั่ ยนื (Thailand 4.0) 6. ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ ่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) สาระสาคัญทั้ง 5 ด้านจะเป็นเครื่องมือชี้นาทิศทางการปฏิบัติงานและการบูรณาการด้านต่อต้านการทุจริต ของประเทศเพ่ือให้เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 กาหนดในหมวดท่ี 4 หน้าที่ของประชาชนชาวไทยว่า “...บุคคลมีหน้าท่ี ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่าเป็นครั้งแรก ที่รัฐธรรมนูญได้กาหนดให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าท่ีของประชาชนชาวไทยทุกคน นอกจากน้ี ยังกาหนดชัดเจนในหมวดที่ 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตราย ที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐและภาคเอกชนและจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพ เพอ่ื ป้องกนั และขจดั การทจุ ริต และประพฤติมชิ อบดงั กลา่ วอย่างเขม้ งวด รวมท้ังกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัว กัน เพอ่ื มสี ว่ นร่วมในการรณรงคใ์ ห้ความรตู้ อ่ ต้านการทจุ รติ หรอื ชเ้ี บาะแส โดยไดร้ บั ความคุ้มครองจากรัฐตามท่ีกฎหมาย บัญญัติ” การบริหารราชการแผ่นดินรัฐต้องเสริมสร้างให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก มีประสิทธิภาพ ทีส่ าคัญ คอื ไม่เลือกปฏิบตั ติ ามหลกั การบรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ซ่ึงการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐต้อง เป็นไปตามระบบคณุ ธรรมตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ โดยอย่างนอ้ ยต้องมีมาตรการปอ้ งกันมิใหผ้ ใู้ ดใชอ้ านาจหรือกระทาการโดยมิ ชอบแทรกแซงการปฏิบัติหน้าท่ี หรือกระบวนการแต่งต้ัง หรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และรัฐ ต้องจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพ่ือให้หน่วยงานใช้เป็นหลักในการกาหนดประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ใน หน่วยงาน ซึ่งต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว การที่รัฐธรรมนูญได้ให้ความสาคัญต่อ การบริหารราชการท่ีมีประสิทธิภาพและการบริหารบุคคลที่มีคุณธรรม น้ันสืบเนื่องมาจากช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมา ได้เกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารบุคคล มีการโยกย้ายแต่งตั้งที่ไม่เป็นธรรม บังคับหรือช้ีนาให้ข้าราชการหรือ เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดม่ันในหลักผลประโยชน์แห่งรัฐ รวมถึงการมุ่งเน้นการแสวงหาผลประโยชน์ให้กับ ตนเองรวมถึงพวกพ้องรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึงได้มีความพยายามที่จะแสดงให้เห็น อย่างชัดเจนว่าต้องการสร้างประสิทธิภาพในระบบการบริหารงานราช การแผ่นดินและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ต้องยึดม่ัน ในหลกั ธรรมาภบิ าล และมีคณุ ธรรมจริยธรรมตามที่กาหนดเอาไว้

0

26

ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี เป็นยุทธศาสตร์ที่ยึดวัตถุประสงค์หลักแห่งชาติเป็นแม่บทหลัก เพื่อเป็นกรอบ การกาหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนา การลงทุนของภาคเอกชนท่ีสอดรับกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดสรรงบประมาณ ฯลฯ ดังน้ัน ทิศทางด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การสร้างความโปรง่ ใสและธรรมาภบิ าลในการบริหารราชการแผ่นดินของหน่วยงานภาครัฐ ทุกหน่วยงานจะถูกกาหนด จากยุทธศาสตร์ชาติ (วิสัยทัศน์ประเทศระยะ 20 ปี) และยุทธศาสตร์การพัฒนาระยะ 5 ปี เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มัง่ ค่งั ย่ังยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่ การพัฒนาใหค้ นไทยมคี วามสขุ และตอบสนองตอบต่อการบรรลซุ ่งึ ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ ในการท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสขุ ของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจโดยมกี รอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ดงั นี้

1. ด้านความม่ันคง (1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมขุ (2) ปฏิรปู กลไกการบริหารประเทศและพฒั นาความม่นั คงทางการเมือง ขจัดคอรร์ ปั ชน่ั สร้างความเช่ือม่นั ในกระบวนการยุติธรรม (3) การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหารจัดการความมั่นคง ชายแดนและชายฝั่งทะเล (4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ และรักษาดุลยภาพ ความสมั พนั ธ์กับประเทศมหาอานาจ เพอื่ ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาความมนั่ คงรูปแบบใหม่ (5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมอื กับประเทศเพอ่ื นบา้ นและมติ รประเทศ (6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษาความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม (7) การปรับกระบวนการทางานของกลไกทเี่ กย่ี วขอ้ งจากแนวดง่ิ สแู่ นวระนาบมากข้ึน 2. ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน (1) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ ส่งเสรมิ การคา้ การลงทุน พัฒนาสู่ชาติการคา้ (2) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็ง ยั่งยืน และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อย สู่เกษตรยงั่ ยนื เป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม (3) การพัฒนาผปู้ ระกอบการและเศรษฐกจิ ชุมชน พัฒนาทักษะ ผปู้ ระกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงานและ พฒั นา SMEs สสู่ ากล (4) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน และพัฒนาระบบเมือง ศนู ย์กลางความเจริญ (5) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่ง ความม่ันคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการวจิ ยั และพัฒนา (6) การเชอ่ื มโยงกบั ภมู ิภาคและเศรษฐกจิ โลก สร้างความเป็นหนุ้ ส่วน การพัฒนากับนานาประเทศ ส่งเสริมให้ ไทยเปน็ ฐานของการประกอบ ธรุ กจิ ฯลฯ 3. ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน

(1) พฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ (2) การยกระดับการศึกษาและการเรียนรใู้ ห้มคี ุณภาพเท่าเทียมและท่วั ถึง (3) ปลูกฝงั ระเบียบวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่ีพึงประสงค์

0

27

(4) การสร้างเสรมิ ให้คนมสี ขุ ภาวะที่ดี (5) การสร้างความอย่ดู ีมสี ขุ ของครอบครวั ไทย 4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสงั คม (1) สรา้ งความมัน่ คงและการลดความเหล่อื มล้าทางเศรษฐกจิ และสงั คม (2) พฒั นาระบบบริการและระบบบรหิ ารจัดการสุขภาพ (3) มีสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เออื้ ต่อการดารงชวี ิตในสงั คมสูงวัย (4) สร้างความเข้มแข็งของสถาบนั ทางสงั คม ทุนทางวัฒนธรรมและ ความเขม้ แข็งของชุมชน (5) พัฒนาการสื่อสารมวลชนใหเ้ ป็นกลไกในการสนบั สนุนการพฒั นา 5. ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบน คุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม (1) จดั ระบบอนรุ ักษ์ ฟ้นื ฟแู ละป้องกนั การทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ (2) วางระบบบรหิ ารจดั การน้าใหม้ ีประสทิ ธภิ าพท้ัง 25 ลุม่ น้า เนน้ การปรบั ระบบการบริหารจัดการอุทกภยั อยา่ งบูรณาการ (3) การพฒั นาและใช้พลังงานที่เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม (4) การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศและเมืองทเ่ี ป็น มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม (5) การรว่ มลดปัญหาโลกร้อนและปรับตวั ใหพ้ ร้อมกบั การ เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (6) การใชเ้ ครื่องมือทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลัง เพอื่ สงิ่ แวดล้อม 6. ดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนา ระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั (1) การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ภาครัฐ ให้มขี นาดที่เหมาะสม (2) การวางระบบบริหารราชการแบบบรู ณาการ (3) การพฒั นาระบบบริหารจัดการกาลงั คนและพฒั นา บุคลากรภาครัฐ (4) การต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ (5) การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ (6) ให้ทันสมัย เป็นธรรมและเป็นสากล (7) พฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครฐั (8) ปรบั ปรงุ การบริหารจดั การรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดทาขึ้นภายใต้ ความจาเปน็ ในการแก้ไขสถานการณป์ ัญหาการทจุ ริตของประเทศ ซ่ึงท่ีผ่านมาหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตได้มีความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริตของประเทศ โดยได้ร่วมกันสร้างเคร่ืองมือ กลไก และกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซ่ึง การดาเนนิ งานดังกล่าว ได้สร้างให้ทุกภาคส่วนในสังคมเกิดความตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปราม การทุ จริ ตตามบทบาทและภาระหน้ าท่ี ของตนเองเพ่ิ มมากข้ึ น อย่างไรก็ตาม ปัจจุ บันประเทศไทย ยังคงประสบปัญหาความรุนแรงในการทุจริต สืบเน่ืองมาจากวิวัฒนาการของการทุจริตซึ่งมีรูปแบบที่สลับซับซ้อน ปัญหา การขาดจิตสานึกในการแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม โดยสถานการณ์ปัญหาการทุจริตท่ีจาเป็นต้องได้รับ การแก้ไขอย่างเร่งด่วนคือการรวมตัวกันเพ่ือร่วมกระทาทุจริต ร่วมกันฉ้อโกงรัฐ โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญ่ท่ีต้องใช้ งบประมาณมาก ทาให้รัฐและประเทศชาติได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง จากการสูญเสียงบประมาณแผ่นดินไปกับ การทุจริตที่อาจมีความยากและซับซ้อนต่อการตรวจสอบของหน่วยงานที่ทาหน้าที่ในการป้องกันและปราบปราม การทุจริต การแกไ้ ขปัญหาการทจุ รติ จึงมคี วามจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีการกาหนดแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหา ดังกล่าว

0

28

การจัดทาแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ไดย้ ดึ แนวทางการพฒั นาตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี เป็นกรอบในการจัดทา โดยแผนแม่บทฯ มี 2 แนวทางการพัฒนา หลัก ดังน้ี (1) การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน” โดยการปลูกฝังวิธีคิด ในกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนเพ่ือปฏิรูป “คนรุ่นใหม่” ให้มีจิตสานึกในความซ่ือสัตย์สุจริตเพื่อสร้างพลังร่วมในการ แกไ้ ขปัญหาการทุจรติ และประพฤติมิชอบตอ่ ไปในอนาคตและการปรบั “ระบบ”โดยการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการ ทุจริต เพ่ือให้การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกข้ันตอนการดาเนินงาน เท่าทัน พลวัตของการทุจริต ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการตรวจสอบ แจ้งข้อมูล และช้ีเบาะแส การทุจริตและประพฤติมิชอบ ซ่ึงจะนาไปสู่การลดจานวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ (2) การปราบปรามการทุจรติ มงุ่ เนน้ การเสรมิ สร้างประสิทธิภาพของกระบวนการและกลไกการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในด้านของการดาเนินคดีทุจริตมีความรวดเร็ว เฉียบขาด เป็นธรรม และการพัฒนา ปรับปรุงมาตรการทางกฎ หมายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการปราบปรามการทุจริ ตให้ได้ผลและ มีประสิทธิภาพ กาหนดเป้าหมายการพัฒนาในระยะ 20 ปี โดยใช้ดัชนีการรับรู้การทุจริต เป็นเป้าหมายในการ ดาเนินการของแผนแม่บทฯ ซึ่งได้กาหนดให้ประเทศไทยมีอันดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตในปี พ.ศ. 2580 อยู่ในอนั ดับ 1 ใน 20 ของโลก

เป้าหมายการพัฒนาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านความม่ันคง 2.3 กองทัพ หนว่ ยงานด้านความมนั่ คง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพร้อมใน การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง 2.4 ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ช่ืนชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคม ระหว่างประเทศ 2.5 การบรหิ ารจัดการความมัน่ คงมผี ลสาเร็จทเ่ี ปน็ รูปธรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 2.3 ภาครฐั มีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ

ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตรช์ าติด้านความมั่นคง 4.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ

4.1.4 การพฒั นาและเสริมสร้างกลไกท่ีสามารถป้องกนั และขจดั สาเหตขุ องประเด็นปัญหา ความมน่ั คงทสี่ าคญั

ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั 4.6 ภาครฐั มีความโปรง่ ใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมิชอบ 4.6.1 ประชาชนและภาคีตา่ ง ๆ ในสงั คมร่วมมือกันในการป้องกนั การทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ 4.6.2 บุคลากรภาครัฐยดึ มนั่ ในหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมและความซ่ือสตั ย์สจุ รติ 4.6.3 การปราบปรามการทุจรติ ประพฤติมชิ อบมีประสิทธภิ าพมีความเด็ดขาด เป็นธรรม และตรวจสอบได้ 4.6.4 การบริหารจดั การการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ อย่างเป็นระบบแบบบูรณา การ

0

29

เปา้ หมายและตัวชี้วัดของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ

เป้าหมาย ตัวชีว้ ัด คา่ เปา้ หมาย ปี 2566 – ปี 2571 - ปี 2576 - 2570 2575 2580 ประเทศไทย ปี 2561 - ปลอดการทจุ ริต 2565 อยู่ในอนั ดับ อยู่ในอนั ดบั อย่ใู นอนั ดับ และประพฤติ 1 ใน 43 1 ใน 32 1 ใน 20 มชิ อบ ดชั นีการรับรู้ อยใู่ นอันดับ และ/หรือได้ และ/หรอื ได้ และ/หรือได้ คะแนนไมต่ า่ คะแนนไมต่ ่า คะแนนไม่ต่า การทจุ ริตของประเทศ 1 ใน 54 กวา่ 57 กวา่ 62 กวา่ 73 คะแนน คะแนน คะแนน ไทย และ/หรอื ได้

(อนั ดับ/คะแนน) คะแนนไม่ตา่

กว่า 50

คะแนน

แผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติประเด็น การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ

เปา้ หมายสาคญั ของยทุ ธศาสตรช์ าติในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ คือ ภาครัฐ

มีคว ามโ ปร่ งใส ป ลอด การ ทุจ ริตแ ละ ประ พฤติ มิช อบ มีก ารบ ริหา รจั ดกา รต ามห ลักธ รร มาภิ บา ล

และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรมแยกแยะประโยชน์

ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมของบุคลากรภาครัฐให้เกิดขึ้น รวมท้ังสร้างจิตสานึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัว

ละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ มีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต พร้อมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีองค์กร

ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน และภาคีต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการสอดส่องเฝ้าระวัง ให้ข้อมูล

แจ้งเบาะแสการทจุ รติ และตรวจสอบการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั และภาคส่วนอ่ืน ๆ โดยได้รับความคุ้มครองจาก