ต วอย างความเร ยงข นส ง ม.2 ว ชา is

  • 1. ตระกาล เลขที่ 27 2.ประภาวี ทองสวัสดิ์ เลขที่ 36 3.กานต์สุดา สิงหา เลขที่ 44 4.สุรีชา พิจาร เลขที่ 48 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนยโสธรพิทยาคม เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2 ปีการศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์เป็นของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
  • 2. ตระกาล เลขที่ 27 2.ประภาวี ทองสวัสดิ์ เลขที่ 36 3.กานต์สุดา สิงหา เลขที่ 44 4.สุรีชา พิจาร เลขที่ 48 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนยโสธรพิทยาคม เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2 ปีการศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์เป็นของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
  • 3. ตระกาล เลขที่ 27 2.ประภาวี ทองสวัสดิ์ เลขที่ 36 3.กานต์สุดา สิงหา เลขที่ 44 4.สุรีชา พิจาร เลขที่ 48 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนยโสธรพิทยาคม เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2 ปีการศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์เป็นของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
  • 4. โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ผู้ศึกษาค้นคว้า 1.นางสาวปิยดา ตระกาล 2.นางสาวประภาวี ทองสวัสดิ์ 3.นางสาวกานต์สุดา สิงหา 4.นางสาวสุรีชา พิจาร เลขประจาตัว 31875 ,32068 ,32252 ,34528 อาจารย์ผู้ควบคุมการค้นคว้าอิสระ คุณครูสุทธิ วงษ์ไกร สาขาวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้( IS2 รหัสวิชา I 30202) ปีการศึกษา 2559 บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้ห้องน้าของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1โรงเรียน ยโสธรพิทยาคมสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษายโสธร เขต 28 ปีการศึกษา 2559 จานวน47 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม (question naire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1. ค่าร้อยละ (Percentage) (%)เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถามตอนที่ 1 2. ค่าเฉลี่ย (Mean) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X ใช้สูตร (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2552, หน้า 8) ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจในการใช้ห้องน้าจากนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม จานวน 47 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 65.96 และ เพศชายจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 34.04 2. ผลการวิเคราะห์ความความพึงพอใจในการใช้ห้องน้า จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียน ยโสธรพิทยาคม จานวน 47 คน ซึ่งมี 8 ด้าน ด้านความปลอดภัยขณะใช้ห้องน้า ด้านสภาพแวดล้อมของ สถานที่ตั้ง ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง ด้านความสะอาดของห้องน้า ด้านความเพียงพอของน้าใน (ก)
  • 5. ด้านกลิ่นรบกวน จากห้องน้าโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( Χ = 3.08 ) และมีปรากฏผล ดังนี้ กลุ่มตัวอย่างเพศชายมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3 รายการ คือ 1. ด้านความปลอดภัยขณะใช้ ห้องน้า 2. ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง และ 3. ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง มีความพึงพอใจอยู่ ในระดับปานกลาง 4 รายการ คือ 1. ด้านความสะอาดของห้องน้า 2. ด้านความเพียงพอของน้าในแต่ละวัน 3. ด้านความเหมาะสมของการ วางถังขยะ และ 4. ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย 1 รายการ คือ ในด้านของกลิ่นรบกวนจากห้องน้า กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 2 รายการ คือ 1. ด้านความปลอดภัยขณะ ใช้ห้องน้า และ 2. ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 5 รายการ คือ 1. ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง 2. ด้านความสะอาดของห้องน้า 3. ด้านความเพียงพอของน้า ในแต่ละวัน 4. ด้านความเหมาะสมของการวางถังขยะ และ 5. ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย 1 รายการ คือ ในด้านของกลิ่นรบกวนจากห้องน้า
  • 6. ขอบพระคุณ ว่าที่ พ .ต. ดร. เทอดชัย พันธะไชย และ คุณครูอรรัมภา ธรรมโรเวช ที่ได้กรุณาแนะนาแนวคิดต่างๆและข้อเสนอแนะหลายประการ และขอ ขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม ทาให้งาน การศึกษาค้นคว้าฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้บริหารและสถานศึกษา เพื่อ เป็นส่วนหนึ่งของแนวทางในการบารุงด้านการทางานต่อไป ถ้าหากโครงงานฉบับนี้มีข้อขาดตกบกพร่อง ประการใด ผู้ศึกษาก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ปิยดา ตระกาล ประภาวี ทองสวัสดิ์ กานต์สุด สิงหา สุรีชา พิจาร ผู้ศึกษา ค (ข)
  • 7. บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญญา 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 2 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 กรอบแนวคิดในการศึกษาค้นคว้า 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สภาพทั่วไปของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม 5 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 11 งานวิจัยในประเทศ 11 งานวิจัยต่างประเทศ 12 3. วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 13 เครื่องมือและวิธีการสร้างเครื่องมือ 13 การเก็บรวบรวมข้อมูล 15 การจัดกระทาข้อมูล 15 การวิเคราะห์ข้อมูล 15 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 16
  • 8. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล 17 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 17 ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง 17 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับค่าความพึงพอใจใน 18 การใช้ห้องน้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ตอนที่ 3 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ 19 โดยรวมและรายด้านจาแนกตามเพศของกลุ่มตัวอย่าง 5. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 20 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 20 เครื่องมือที่ใช้ในของการศึกษาค้นคว้า 21 สรุปผลการศึกษา 21 อภิปรายผลการศึกษา 22 ข้อเสนอแนะ 22 บรรณานุกรม 23 ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายนามอาจารย์ที่ปรึกษา 25 ภาคผนวก ข เครื่องมือในการศึกษา 27 ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายข้อ 29 ประวัติย่อของผู้ศึกษาค้นคว้าอิสระ 32
  • 9. ซึ่งแยกเป็นห้องถ่ายอุจจาระและที่ถ่ายปัสสาวะ หรือเรียกรวมๆว่า “ ห้องส้วม ” นอกจากนี้ยังหมายถึงห้องอาบน้าและอ่างล้างมือด้วย แต่ในการออก กฎกระทรวงได้จาแกประเภทไว้สาหรับการควบคุมอาคารและการจัดสวัสดิการเกี่ยวกับห้องน้าและห้อง ส้วมไว้โดยเฉพาะ ความสาคัญและความจาเป็นของห้องน้าเป็นที่ทราบทั่วกันไม่ต้องกล่าวถึงอีก โรงเรียนในต่างจังหวัดจานวนมาก นักเรียนใช้ห้องน้าโรงเรียนไม่ได้บางแห่งไม่มีห้องน้า บาง แห่งมีห้องน้าแต่ไม่อยู่ในสภาพที่ใช้บริการได้ การจัดการให้ห้องน้าในสถานศึกษาสามารถให้บริการที่ดี ได้จึงเป็นความสามารถของผู้บริหารและเป็นคุณภาพของสถานศึกษาที่ซ่อนเร้น แต่มีความสัมพันธ์อย่าง มากกับคุณภาพด้านอื่นๆของสถานศึกษา เช่น ด้านวิชาการ ด้านการกีฬา ด้านสุขอนามัย เป็นต้น ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า “ โรงเรียนดีมีห้องน้าสะอาด ” กฎกระทรวงฉบับที่ 63 ( พ.ศ. 2551 ) ตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ได้กาหนดให้อาคารในสถานศึกษามีห้องส้วม 1 ที่ต่อนักเรียน นักศึกษาชาย 50 คน สาหรับจานวนนักเรียนนักศึกษาชายไม่เกิน 500 คน ส่วนที่เกิน 500 คน ให้เพิ่มห้อง ส้วม 1 ที่ต่อ 100 คน ส่วนนักเรียน นักศึกษาหญิงให้มีห้องส้วม 2 ที่ต่อนักเรียน นักศึกษาหญิง 50 คน สาหรับจานวนนักเรียนนักศึกษาหญิงไม่เกิน 500 คน ส่วนที่เกิน 500 คน ให้เพิ่มห้องส้วม 2 ที่ต่อ 100 คน และให้มีอ่างล้างมือด้วย 1 ที่ ไม่บังคับจานวนว่ามีสัดส่วนเท่าใด เช่นเดียวกับห้องน้า ไม่บังคับว่าต้องมี ( ที่มา : หนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 125 ตอนที่ 69 ก กฎกระทรวง ฉบับที่ 63 ( พ.ศ. 2551 ) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ) สถานศึกษาตั้งแต่ระดับโรงเรียน วิทยาลัย จนถึงมหาวิทยาลัย มีความแตกต่างกัน การออกแบบ สาหรับห้องน้า และการจัดการห้องน้าให้สามรถใช้บริการได้ดีย่อมมีความแตกต่างกันด้วย นอกจากนั้น ทาเลที่ตั้งของสถานศึกษาและการเอาใจใส่ดูแลของผู้รับผิดชอบในสถานศึกษาแต่ละแห่งยังแตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามการจัดการห้องน้าในสถานศึกษาทุกระดับ มีสิ่งที่เป็นพื้นฐานร่วมกัน ดังนี้ 1. มีความสะอาด 2. มีแหล่งจ่ายน้าเพียงพอ 3. มีระบบระบายน้าเสีย 4. มีอุปกรณ์ห้องน้าที่มีคุณภาพ 5. มีความปลอดภัย เนื่องจากโรงเรียนยโสธรพิทยาคมมีการใช้บริการห้องน้าเป็นประจาทุกวันและนักเรียนก็มีจานวน มากพอสมควร อาจทาให้เกิดปัญหาห้องน้าสกปรก ห้องน้าไม่เพียงพอต่อการใช้บริการ และปัญหาอื่นๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยของนักเรียน ซึ่งจะส่งผลกระทบอีกหลายอย่างตามมาได้
  • 10. อันจะส่งผลให้ปัญหาดังกล่าวนี้หมดไป และมีการพัฒนาให้เจริญต่อไป วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้ห้องน้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนยโสธร พิทยาคม ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. ขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาความพึงพอใจในการใช้ห้องน้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม จาแนกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ 1.) ด้านความปลอดภัยขณะใช้ห้องน้า 2.) ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง 3.) ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง 4.) ด้านความสะอาดของห้องน้า 5.) ด้านความเพียงพอของน้าในแต่ละวัน 6.) ด้านความเหมาะสมของการวางถังขยะ 7.) ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน 8.) ด้านกลิ่นรบกวนจากห้องน้า 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ของ โรงเรียนยโสธรพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษายโสธร เขต 28 ปีการศึกษา 2559 จานวน 47 คน
  • 11. ซึ่งมักเกิดจากการได้รับ การตอบสนองตามที่ตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อสิ่งนั้น ตรงกันข้ามหากความต้องการของตน ไม่ได้รับการตอบสนองความไม่พึงพอใจก็จะเกิดขึ้น 2.ห้องน้า (bathroom) คือ เป็นห้องซึ่งใช้สาหรับสุขลักษณะส่วนบุคคล โดยมากมักมีอ่าง อาบน้า หรือ ฝักบัว และบางครั้งอาจมีบิเดร์ด้วย ในอเมริกาเหนือ และสถานที่อื่น ๆ ห้องน้ามัก ประกอบด้วยส้วมและอ่างล้างมือ ในบางประเทศ เช่น สหราช อาณาจักร ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส และ ญี่ปุ่น ภายในบ้านบางครั้งอาจแยกห้องน้ากับห้องส้วม ส่วนใน อิหร่าน บ้านโดยมากมักแยกแยะระหว่างห้องน้ากับห้องส้วมเสมอ 3.สิ่งแวดล้อม(Environment) คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งที่เป็น รูปธรรม (สามารถจับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม (ตัวอย่างเช่นวัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่งจะมี ส่วนเสริมสร้างหรือทาลายอีกส่วนหนึ่ง อย่างหลีกเลี่ยงมิได้สิ่งแวดล้อมเป็นวงจรและวัฏจักรที่เกี่ยวข้อง กันไปทั้งระบบ 4.กลิ่น (odor) คือ อนุภาคทางเคมี (particle chemical) ที่กระจายตัวอยู่ในอากาศ โดยสามารถรับรู้ได้ด้วย อวัยวะรับกลิ่น อวัยวะรับกลิ่นของมนุษย์และสัตว์คือ จมูก กลิ่นโดยทั่วไปแล้วแบ่งเป็นกลิ่นหอมและกลิ่น เหม็น โดยส่งผลต่อระดับความพึงพอใจของทั้งมนุษย์และสัตว์ในปัจจุบันมีการนาประโยชน์ของกลิ่นมา ใช้ประโยชน์หลายด้าน 5.น้า คือ เป็นสารประกอบเคมีชนิดหนึ่ง มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้าประกอบด้วย ออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ น้าเป็นของเหลวที่อุณหภูมิ และความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้าแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้า) น้ายังมีใน สถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้า 6.ความสะอาด เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากที่สุดของการมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง เพราะความ สะอาดเป็นเครื่องช่วยป้องกันโรคระบาดและโรคร้ายแรงต่างๆ กรอบแนวคิดในการศึกษาค้นคว้า การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ดาเนินการศึกษาความพึงพอใจในการใช้ห้องน้าโรงเรียนยโสธร พิทยาคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เนื่องจากโรงเรียนยโสธรพิทยาคมมีการใช้บริการห้องน้า เป็นประจาทุกวันและนักเรียนก็มีจานวนมากพอสมควร อาจทาให้เกิดปัญหาห้องน้าสกปรก ห้องน้าไม่
  • 12. ความพึงพอใจในการใช้ห้องน้า 1. เพศ โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ได้แก่ 1.1 เพศชาย 1.) ด้านความปลอดภัยขณะใช้ห้องน้า 1.2 เพศหญิง 2.) ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง 3.) ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง 4.) ด้านความสะอาดของห้องน้า 5.) ด้านความเพียงพอของน้าในแต่ละวัน 6.) ด้านความเหมาะสมของการวางถังขยะ 7.) ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน 8.) ด้านกลิ่นรบกวนจากห้องน้า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. คาดว่าได้ประสบการณ์ในการทาโครงงานหรืองานวิจัยต่างๆ 2. คาดว่าจะได้ข้อมูลเพื่อนามาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาต่อไป 3. คาดว่าจะเกิดความสามัคคีจากการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
  • 13. โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยลาดับ เนื้อหาที่เป็นสาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1. สภาพทั่วไปของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม 2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายของความพึงพอใจ 2.2 ความสาคัญของความพึงพอใจ 2.3 ทฤษฎีความพึงพอใจ 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 งานวิจัยภายในประเทศ 3.2 งานวิจัยต่างประเทศ 1. สภาพทั่วไปของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม ประวัติ โรงเรียนยโสธรพิทยาคมได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษา ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2492 เป็นเงิน 150,000 บาทเดิม เป็นโรงเรียนระดับอาเภอ ชื่อว่า" โรงเรียนยโสธร" สังกัดจังหวัดอุบลราชธานี ปีพ.ศ. 2493 ทางจังหวัดได้จัดสร้างอาคารเรียน เป็นอาคารชั้นเดียวใต้ถุนสูงมุงกระเบื้องจานวน 6 ห้องเรียน โดยมีนาย เสนอ นาระดล ศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี และ นายวิจิตร อาจารยางกูร ศึกษาธิการอาเภอยโสธร เป็นผู้ดาเนินการก่อสร้าง ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2493 จึงได้ย้ายมาเรียนที่อาคาร สร้างใหม่ โดยเปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 มี นายพร ศุภศร เป็นครูใหญ่คนแรก มีเนื้อที่ 55 ไร่ 3 งาน 20.5 ตารางวา อาเภอยโสธร ได้ยกฐานะขึ้นเป็น จังหวัดยโสธรเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2515 โรงเรียน ยโสธรจึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น โรงเรียนประจาจังหวัดยโสธร เป็นโรงเรียนแบบสหศึกษาเปิดทาการ สอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ชื่อว่า"โรงเรียน ยโสธรพิทยาคม" พ.ศ. 2516 เปิดสอนถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนยโสธรพิทยาคม ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณจริยธรรมดีเด่น จากกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. 2531 โรงเรียนได้รับรางวัล "โรงเรียนพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษา" ประจาปีการศึกษา 2530 พ.ศ. 2537 ได้รับรางวัล "โรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมดีเด่น ระดับเขตการศึกษา 10"
  • 14. ตั้งอยู่ ณ ลาน อเนกประสงค์หลังศาลาเฉลิมพระเกียรติ 2. พระราชานุสาวรีย์ ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาโรงเรียนยโสธรพิทยาคม ตั้งอยู่ ณ ลานอเนกประสงค์หลังศาลาเฉลิมพระเกียรติ 3. พระราชานุสาวรีย์ ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๖ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาโรงเรียนยโสธรพิทยาคม ตั้งอยู่ ณ ลานอเนกประสงค์หลังศาลาเฉลิมพระเกียรติ 4. อาคาร 1 มีจานวนทั้งสิ้น 3 ชั้น ชั้นที่ 1 เป็นที่ตั้งของห้องสภานักเรียน,ห้องถ่ายเอกสาร,ห้องซ่อม คอมพิวเตอร์ และห้องเรียนต่างๆ ชั้นที่ 2 เป็นที่ตั้งของห้องบริหารกลุ่มงานงบประมาณ,ห้องบริหารกลุ่ม งานบุคคล,ห้องบริหารกลุ่มงานวิชาการ เป็นที่ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 5. อาคาร 2 มีจานวนทั้งสิ้น 3 ชั้น เป็นที่ตั้งของกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ เป็นที่ตั้งของ English Resources Instruction Centre (ERIC) และห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทบ บริเวณชั้น 2 6. อาคาร 3 มีจานวนทั้งสิ้น 3 ชั้น เป็นที่ตั้งของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสีเขียว ห้อง โสตทัศนศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 7. อาคาร 4 มีจานวนทั้งสิ้น 3 ชั้น เป็นที่ตั้งของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดยโสธรอีกด้วย 8. อาคาร 5 มีจานวนทั้งสิ้น 4 ชั้น ชั้นที่ 1 เป็นห้องคอมพิวเตอร์ 3 ห้อง เป็นที่ตั้งของศูนย์ประสานงาน AFS จังหวัดยโสธร ส่วนชั้นที่ 2-4 เป็นที่ตั้งของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 9. อาคาร 6 มีจานวนทั้งสิ้น 1 ชั้น จานวน 5 หลัง เป็นที่ตั้งของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี และบริเวณ สวนเกษตรหลังโรงเรียนทั้งหมด 10. อาคาร 7 มีจานวนทั้งสิ้น 1 ชั้น จานวน 4 หลัง เป็นที่ตั้งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ประกอบด้วย ห้องดนตรีสากล ห้องดุริยางค์ ห้องดนตรีไทย ห้องนาฏศิลป์ และห้องศิลปะ 11. อาคาร 8 มีจานวนทั้งสิ้น 2 ชั้น ประกอบด้วยห้องเรียนแนะแนว 2 ห้อง ห้องพักครูแนะแนว ห้อง ประชุม และห้องพยาบาล อาคารหลังนี้สร้างด้วยเงิน 2,750,000 บาท 12. อาคารหอประชุมโรงพลศึกษา เป็นที่ตั้งของห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้พลศึกษา ประกอบไป ด้วยเวที สนามตะกร้อ ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส และวอลเล่ย์บอล 13. หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ กาญจนาภิเษก ๖ รอบ เป็นอาคาร 2 ชั้น ชั้นที่ 1 เป็นที่ตั้งของห้องสมุด โรงเรียน และชั้นที่ 2 เป็นที่ตั้งของหอประชุมเอนกประสงค์ 14. โรงอาหาร มีจานวนทั้งสิ้น 2 ชั้นเป็นสถานที่จาหน่ายอาหาร เครื่องดื่ม และขนมขบเขี้ยว ตั้งอยู่ บริเวณหน้าอาคาร 5
  • 15. 1 ชั้น ตั้งอยู่บริเวณสนามฟุตบอล ใช้เป็นที่ทาพิธีสาคัญต่างๆของ โรงเรียน เช่น สวนสนามลูกเสือ ,เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร และในพิธีการเปิดกีฬาสีของโรงเรียน เป็นประจาทุกปี 16. หอเกียรติยศ สายน้าทิพย์ เป็นอาคารทรง 8 เหลี่ยม ตั้งอยู่หน้าบริเวณโรงจอดรถจักรยานยนต์ อยู่ ข้างศูนย์ประชาสาพันธ์ ใช้เป็นสถานเก็บโล่รางวัลที่สาคัญต่างๆของโรงเรียน ปกติจะไม่เปิดให้เข้าชม 17. อาคารศูนย์ประชาสัมพันธ์ มีจานวนทั้งสิ้น 1 ชั้น ใช้ประโยชน์ในการประกาศ ประชาสัมพันธ์ ของโรงเรียน 18. สนามเทนนิส มีจานวน 1 สนาม ตั้งอยู่บริเวณหน้าโรงเรียนติดกับสถานีตารวจภูธรเมืองยโสธร 19. ห้องสมุดประชาชน จังหวัดยโสธร มีจานวนทั้งสิ้น 1 ชั้น ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าทางด้านทิศ ตะวันออก ติดกับถนนแจ้งสนิท แต่อยู่ภายในรั้วโรงเรียนยโสธรพิทยาคม 2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายของความพึงพอใจ นักวิชาการได้ให้ความหมายของความพึงพอใจต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้ ทวีพงษ์ หินคา (2541 : 8 ) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าเป็นความชอบของบุคคลที่มี ต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึงสามารถลดความดึงเครียดและตอบสนองความต้องการของบุคคลได้ทาให้เกิดความ พึงพอใจต่อสิ่งนั้น ธนียา ปัญญาแก้ว ( 2541 : 12 ) ได้ให้ความหมายว่า สิ่งที่ทาให้เกิดความ พึงพอใจที่เกี่ยวกับ ลักษณะของงาน ปัจจัยเหล่านี้นาไปสู่ความพอใจในงานที่ทา ได้แก่ ความสาเร็จ การยกย่อง ลักษณะงาน ความรับผืดชอบ และความก้าวหน้า เมื่อปัจจัยเหล่านี้อยู่ต่ากว่า จะทาให้เกิดความไม่พอใจงานที่ทา ถ้าหาก งานให้ความก้าวหน้า ความท้าท้าย ความรับผิดชอบ ความสาเร็จและการยกย่องแก่ผู้ปฏิบัติงานแล้ว พวก เขาจะพอใจและมีแรงจูงใจในการทางานเป็นอย่างมาก วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม (2541 : 754) ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึง ความพอใจ การทาให้พอใจ ความสาแก่ใจ ความหนาใจ ความจุใจ ความแน่ใจ การชดเชย การไถ่บาปการแก้แค้นสิ่งที่ ชดเชย วิรุฬ พรรณเทวี (2542 : 11 ) ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกภายในจิตใจของ มนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน ซึ่งเป็นอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะคาดหมายกับสิ่งหนึ่ง สิ่งใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมี ความตั้งใจมากและได้รับการตอบสนองด้วยดี จะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวัง หรือไม่พึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง เมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตนตั้งใจไว้ ว่าจะมีมากหรือน้อย
  • 16. 2546 : 5 ) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์เป็นการแสดงออกทาง พฤติกรรมที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปร่างได้การที่เราจะทราบว่า บุคคลมีความพึงพอใจ หรือไม่ สามารถสังเกตโดยการแสดงออกที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน และต้องมีสิ่งที่ตรงต่อความต้องการของ บุคคล จึงจะทาให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นการสร้างสิ่งเร้าจึงเป็นแรงจูงใจของบุคคลนั้นให้เกิด ความพึงพอใจในงานนั้น Carnpbell ( 1976 : 117 – 124 อ้างถึงใน วาณี ทองเสวต, 2548 ) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็น ความรู้สึกภายในที่แต่ละคนเปรียบเทียบระหว่างความคิดเห็นต่อสภาพการณ์ที่อยากให้เป็นหรือคาดหวัง หรือรู้สึกว่าสมควรจะได้รับ ผลที่ได้จะเป็นความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจเป็นการตัดสินของแต่ละบุคคล Domabedian ( 1980 , อ้างถึงใน วาณี ทองเสวต,2548 ) กล่าวว่า ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายถึง ผู้บริการประสบความสาเร็จในการทาให้สมดุลระหว่างสิ่งที่ผู้รับบริการให้ค่ากับความคาดหวัง ของผู้รับบริการ และประสบการณ์นั้นเป็นไปตามความคาดหวัง จากความหมายที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปความหมายของความพึงพอใจได้ว่า เป็นความรู้สึกของ บุคคลในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจต่อสภาพแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หรือเป็น ความรู้สึกที่พอใจต่อสิ่งที่ทาให้เกิดความชอบ ความสบายใจ และเป็นความรู้สึกที่บรรลุถึงความต้องการ 2.2 ความสาคัญของความพึงพอใจ เป้าหมายสูงสุดของความสาเร็จในการดาเนินงานบริการขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ การสร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความรู้สึกที่ดีและประทับใจในบริการที่ได้รับจนติดใจและกลับมาใช้บริการ เป็นประจา การศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าตลอดจนผู้ปฏิบัติงานบริการจึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี้จะนามาซึ่งความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันทางการตลาด เพื่อความก้าวหน้าและการ เติบโตของธุรกิจบริการอย่างไม่หยุดยั้ง และส่งผลให้สังคมส่วนรวมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงกล่าวได้ว่า ความพึงพอใจมีความสาคัญต่อผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 1 ความสาคัญต่อผู้ให้บริการ องค์การบริการจาเป็นต้องคานึงถึงความถึงพอใจต่อการบริการ ดังนี้ 1.1 ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นตัวกาหนดคุณลักษณะของการบริการ ผู้บริหารการ บริการ และผู้ปฏิบัติงานบริการจาเป็นต้อง สารวจความพึงพอใจของลูกค้าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์บริการและ ลักษณะของการนาเสนอบริการที่ลูกค้าชื่นชอบ เพราะข้อมูลดังกล่าวจะบ่งบอกถึงการประเมินความรู้สึก และความคิดเห็นของลูกค้าต่อคุณสมบัติของการบริการที่ลูกค้าต้องการ และวิธีการตอบสนองความ ต้องการแต่ละอย่างในลักษณะที่ลูกค้าปรารถนา ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ให้บริการในอันที่จะตระหนักถึงความ คาดหวังของผู้รับบริการ และสามารถสนองตอบบริการที่ตรงกับลักษณะและรูปแบบที่ผู้รับบริการ คาดหวังไว้ได้จริง 1.2 ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นตัวแปรสาคัญในการประเมินคุณภาพของการบริการ หากกิจการใดนาเสนอบริการที่ดีมีคุณภาพตรงกับความต้องการตามความคาดหวังของลูกค้า ก็ย่อมส่งผล
  • 17. คุณภาพของการ บริการที่จะทาให้ลูกค้าพึงพอใจขึ้นอยู่กับลักษณะการบริการที่ปรากฏให้เห็น ( ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ เครื่องใช้ และบุคลิกลักษณะของพนักงานบริการ ) ความน่าเชื่อถือไว้วางใจของการบริการ ความเต็มใจที่ จะให้บริการ ตลอดจนความรู้ความสามารถในการให้บริการด้วยความเชื่อมั่นและความเข้าใจต่อผู้อื่น 1.3 ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานบริการเป็นตัวชี้คุณภาพและความสาเร็จของงาน บริการ การให้ความสาคัญกับความต้องการ และความคาดหวังของผู้ปฏิบัติงานบริการเป็นเรื่องที่จาเป็น ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการให้ความสาคัญกับลูกค้า การสร้างความพึงพอใจในงานให้กับผู้ปฏิบัติงานบริการ ย่อมทาให้พนักงานมีความรู้สึกที่ดีต่องานที่ได้รับมอบหมาย และตั้งใจปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ อันจะนามาซึ่งคุณภาพของการบริการที่จะสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และส่งผลให้กิจการบริการ ประสบความสาเร็จในที่สุด 2. ความสาคัญต่อผู้รับบริการ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นตัวผลักดันคุณภาพชีวิตที่ดี เมื่อองค์การบริการ ตระหนักถึงความสาคัญของความพึงพอใจของลูกค้า ก็จะพยายามค้นหาปัจจัยที่กาหนดความพึงพอใจของ ลูกค้าสาหรับนาเสนอบริการที่เหมาะสม เพื่อการแข่งขันแย่งชิงส่วนแบ่งตลาดของธุรกิจบริการ ผู้รับบริการย่อมได้รับการบริการทีมีคุณภาพและตอบสนองความต้องการที่ตนคาดหวังไว้ได้การดาเนิน ชีวิตที่ต้องพึ่งพาการบริการในหลาย ๆ สถานการณ์ทุกวันนี้ย่อมนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีตามไป ด้วย เพราะการบริการในหลายด้านช่วยอานวยความสะดวกและแบ่งเบาภาระการตอบสนองความต้องการ ของบุคคลด้วยตนเอง 2.2 ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานบริการช่วยพัฒนาคุณภาพของงานบริการและอาชีพ บริการ งานเป็นสิ่งที่สาคัญต่อชีวิตของคนเราเพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ในการดารงชีวิต และการแสดงออกถึง ความสามารถในการทางานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เป็นที่ยอมรับว่าความพึงพอใจในงานมีผลต่อการเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานในแต่ละองค์การ ในอาชีพบริการก็เช่นเดียวกัน เมื่อองค์การบริการ ให้ความสาคัญกับการสร้างความพึงพอใจในงานให้กับผู้ปฏิบัติงานบริการ ทั้งในด้านสภาพแวดล้อมใน การทางาน ค่าตอบแทน สวัสดิการและความก้าวหน้าในชีวิตการงาน พนักงานบริการก็ย่อมทุ่มเทความ พยายามในการเพิ่มคุณภาพมาตรฐานของงานบริการให้ก้าวหน้า ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ในการตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าและการสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าให้ใช้บริการต่อ ๆ ไป ทาให้อาชีพบริการเป็นที่ รู้จักมากขึ้น 2.3 ทฤษฎีความพึงพอใจ Kotler and Armstrong (2002) รายงานว่า พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นต้องมีสิ่งจูงใจ (motive) หรือแรงขับดัน (drive) เป็นความต้องการที่กดดันจนมากพอที่จะจูงใจให้บุคคลเกิดพฤติกรรมเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตนเอง ซึ่งความต้องการของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความต้องการบางอย่าง เป็นความต้องการทางชีววิทยา(biological) เกิดขึ้นจากสภาวะตึงเครียด เช่น ความหิวกระหายหรือความ
  • 18. เกิดจากความต้องการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง (esteem) หรือการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (belonging) ความต้องการส่วนใหญ่อาจ ไม่มากพอที่จะจูงใจให้บุคคลกระทาในช่วงเวลานั้น ความต้องการกลายเป็นสิ่งจูงใจ เมื่อได้รับการกระตุ้น อย่างเพียงพอจนเกิดความตึงเครียด โดยทฤษฎีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด มี 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของอับรา ฮัม มาสโลว์และทฤษฎีของซิกมันด์ ฟรอยด์ 1. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์(Maslow’s theory motivation) อับราฮัม มาสโลว์(A.H.Maslow) ค้นหาวิธีที่จะอธิบายว่าทาไมคนจึงถูกผลักดันโดยความต้องการ บางอย่าง ณ เวลาหนึ่ง ทาไมคนหนึ่งจึงทุ่มเทเวลาและพลังงานอย่างมากเพื่อให้ได้มาซึ่งความปลอดภัยของ ตนเองแต่อีกคนหนึ่งกลับทาสิ่งเหล่านั้น เพื่อให้ได้รับการยกย่องนับถือจากผู้อื่น คาตอบของมาสโลว์คือ ความต้องการของมนุษย์จะถูกเรียงตามลาดับจากสิ่งที่กดดันมากที่สุดไปถึงน้อยที่สุด ทฤษฎีของมาสโลว์ ได้จัดลาดับความต้องการตามความสาคัญ คือ 1.1 ความต้องการทางกาย (physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐาน คือ อาหาร ที่พัก อากาศ ยารักษาโรค 1.2 ความต้องการความปลอดภัย (safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกว่า ความต้องการเพื่อ ความอยู่รอด เป็นความต้องการในด้านความปลอดภัยจากอันตราย 1.3 ความต้องการทางสังคม (social needs) เป็นการต้องการการยอมรับจากเพื่อน 1.4 ความต้องการการยกย่อง (esteem needs) เป็นความต้องการการยกย่องส่วนตัว ความนับถือ และ สถานะทางสังคม 1.5 ความต้องการให้ตนประสบความสาเร็จ (self – actualization needs) เป็นความต้องการสูงสุด ของแต่ละบุคคล ความต้องการทาทุกสิ่งทุกอย่างได้สาเร็จ บุคคลพยายามที่สร้างความพึงพอใจให้กับความต้องการที่สาคัญที่สุดเป็นอันดับแรกก่อนเมื่อความ ต้องการนั้นได้รับความพึงพอใจ ความต้องการนั้นก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลพยายามสร้าง ความพึงพอใจให้กับความต้องการที่สาคัญที่สุดลาดับต่อไป ตัวอย่าง เช่น คนที่อดอยาก (ความต้องการ ทางกาย) จะไม่สนใจต่องานศิลปะชิ้นล่าสุด (ความต้องการสูงสุด) หรือไม่ต้องการยกย่องจากผู้อื่น หรือไม่ ต้องการแม้แต่อากาศที่บริสุทธิ์ (ความปลอดภัย) แต่เมื่อความต้องการแต่ละขั้นได้รับความพึงพอใจแล้วก็ จะมีความต้องการในขั้นลาดับต่อไป 2. ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด์ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ตั้งสมมุติฐานว่าบุคคลมักไม่รู้ตัวมากนักว่าพลังทางจิตวิทยามีส่วน ช่วยสร้างให้เกิดพฤติกรรม ฟรอยด์พบว่าบุคคลเพิ่มและควบคุมสิ่งเร้าหลายอย่าง สิ่งเร้าเหล่านี้อยู่ นอกเหนือการควบคุมอย่างสิ้นเชิง บุคคลจึงมีความฝัน พูดคาที่ไม่ตั้งใจพูด มีอารมณ์อยู่เหนือเหตุผลและมี พฤติกรรมหลอกหลอนหรือเกิดอาการวิตกจริตอย่างมาก
  • 19. ได้เสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไว้ว่า บุคคลพอใจจะกระทาสิ่งใดๆที่ให้มี ความสุขและจะหลีกเลี่ยงไม่กระทาในสิ่งที่เขาจะได้รับความทุกข์หรือความยากลาบาก โดยอาจแบ่ง ประเภทความพอใจกรณีนี้ได้ 3 ประเภท คือ 1.) ความพอใจด้านจิตวิทยา (psychological hedonism) เป็นทรรศนะของความพึงพอใจว่า มนุษย์ โดยธรรมชาติจะมีความแสวงหาความสุขส่วนตัวหรือหลีกเลี่ยงจากความทุกข์ใดๆ 2.) ความพอใจเกี่ยวกับตนเอง (egoistic hedonism) เป็นทรรศนะของความพอใจว่ามนุษย์จะ พยายามแสวงหาความสุขส่วนตัว แต่ไม่จาเป็นว่าการแสวงหาความสุขต้องเป็นธรรมชาติของมนุษย์เสมอ ไป 3.) ความพอใจเกี่ยวกับจริยธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะนี้ถือว่ามนุษย์แสวงหาความสุข เพื่อผลประโยชน์ของมวลมนุษย์หรือสังคมที่ตนเป็นสมาชิกอยู่และเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ผู้หนึ่งด้วย 3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 งานวิจัยภายในประเทศ มานพ งามสุวรรณ์ (2542) ความพึงพอใจสภาพแวดล้อมในโรงเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก พบว่าความพึงพอใจ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนของนักเรียนมัธยมตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเล ตะวันออกแต่ละด้านและรวม จาแนกตามเพศของนักเรียนและสถานที่ตั้งของโรงเรียน อยู่ในระดับมาก เรียงตามลาดับคือ ด้านการเรียนการสอนในชั้นเรียน ด้านการบริหารด้านบริเวณอาคารสถานที่และด้าน กลุ่มเพื่อน เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจสภาพแวดล้อมในโรงเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก จาแนกตามเพศ แต่ละด้านและรวม พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อจาแนกตามที่ตั้งของโรงเรียนโดยรวม พบว่า นักเรียนที่เรียน ในโรงเรียนที่ตั้งอยู่นอกเขตเทศบาลกับในเขตเทศบาล มีความพึงพอใจด้านการเรียนการสอนในขั้นเรียน และบริเวณอาคารสถานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <.05) โดยนักเรียนนอกเขตเทศบาลมี ความพึงพอใจมากกว่านักเรียนในเขตเทศบาล มาริสา ธรรมมะ (2545) ได้ศึกษาสภาพแวดล้อมมหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขต สารสนเทศสระแก้ว ในทัศนคติพบว่า 1) สภาพแวดล้อมด้านอาคารสถานที่ นิสิตส่วนใหญ่เห็นว่า ห้องเรียนไม่สะอาดแออัดมี การใช้ประโยชน์ห้องเรียนในการเรียนปานกลาง แต่ที่นั่งพักผ่อน สถานที่เล่นกีฬาและอุปกรณ์มีน้อย โรง อาหารและสถานที่รับประทานอาหารยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของนิสิตการให้บริการของห้องสมุด อยู่ในระดับปานกลาง 2) สภาพแวดล้อมด้านห้องเรียน นิสิตส่วนใหญ่เห็นว่าอาจารย์มีความเป็นกันเองมาก
  • 20. นิสิตส่วนใหญ่เห็นว่า การเข้าร่วมกิจกรรมและการ พบปะสังสรรค์ระหว่างนิสิตต่างคณะและชั้นปีมีน้อย นิสิตสนใจเข้าร่วมในองค์การ หรือสโมสรนิสิต ใน ระดับปานกลางและพบว่า มีความอบอุ่นในกลุ่มเพื่อนมาก18 3.2 งานวิจัยต่างประเทศ Bemard (1968 อ้างถึงใน อานวย บุญศรี, 2531) ได้กล่าวถึง สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องกระตุ้น บุคคลให้เกิดความพึงพอใจในงานไว้8 ประการ คือ 1.) สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ ได้แก่ เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกายที่ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานเป็นการตอบ แทน ชดเชย หรือเป็นรางวัลที่เขาได้ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานนั้นมาเป็นอย่างดี 2.) สิ่งจูงใจที่เป็นโอกาสของบุคคลที่มิใช่วัตถุ เป็นสิ่งจูงใจสาคัญที่ช่วยส่งเสริมความร่วมมือใน การทางานมากกว่ารางวัลที่เป็นวัตถุ เพราะสิ่งจูงใจที่เป็นโอกาสนี้บุคลากรจะได้รับแตกต่างกัน เช่น เกียรติภูมิ การใช้สิทธิพิเศษ เป็นต้น 3.) สภาพทางกายที่พึงปรารถนา หมายถึง สิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ได้แก่ สถานที่ทางาน เครื่องมือการทางาน สิ่งอานวยความสะดวกในการทางานต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งอันก่อให้เกิดความสุขทางกาย ในการทางาน 4.) ผลประโยชน์ทางอุดมคติ หมายถึง สมรรถภาพของหน่วยงานที่สนองความต้องการของบุคคล ด้านความภาคภูมิใจที่ได้แสดงฝีมือ การได้มีโอกาสช่วยเหลือครอบครัวตนเองและผู้อื่น ทั้งได้แสดงความ ภักดีต่อหน่วยงาน 5.) ความดึงดูดใจในสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ฉันท์มิตร ถ้าความสัมพันธ์เป็นไปด้วยดีจะทาให้ เกิดความผูกพันและความพอใจที่จะร่วมงานกับหน่วยงาน 6.) การปรับสภาพการทางานให้เหมาะสมกับวิธีการและทัศนคติของบุคคล หมายถึง การปรับปรุง ตาแหน่งวิธีทางานให้สอดคล้องกับความสามารถของบุคลากร 7.) โอกาสที่จะร่วมมือในการทางาน หมายถึง การเปิดโอกาสให้บุคลากรรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในงาน เป็นบุคคลสาคัญคนหนึ่งของหน่วยงาน มีความรู้สึกเท่าเทียมกันในหมู่ผู้ร่วมงานและมีกาลังใจในการ ปฏิบัติงาน 8.) สภาพของการอยู่ร่วมกัน หมายถึง ความพอใจของบุคคลในด้านสังคมหรือความมั่นคงในการ ทางาน
  • 21. โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ผู้ศึกษาได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้าโดยลาดับ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือและวิธีการสร้างเครื่องมือ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การจัดกระทาข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ของโรงเรียน ยโสธรพิทยาคม ปีการศึกษา 2559 จานวน 47 คน ตารางที่ 1 เปรียบเทียบสัดส่วนประชากรกับกลุ่มตัวอย่าง ระดับชั้น นักเรียน ประชากร กลุ่มตัวอย่าง มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 47 47 รวมทั้งสิ้น 47 47 เครื่องมือและวิธีการสร้างเครื่องมือ เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน คือ แบบสอบถาม (question naire) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวมรวมข้อมูล โดยการทบทวนแนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนานมา แล้วมาปรับปรุงใช้ให้ เหมาะสมกับการศึกษาวิจัย ในครั้งนี้แบ่งเนื้อหาของคาถามออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้
  • 22. โดยคาถามมีลักษณะเป็นแบบสารวจรายการ (Checklist) ส่วนที่ 2 คะแนนความพึงพอใจในการใช้ห้องน้า มีลักษณะเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยจาแนกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ 1.) ด้านความปลอดภัยขณะใช้ห้องน้า 2.) ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง 3.) ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง 4.) ด้านความสะอาดของห้องน้า 5.) ด้านความเพียงพอของน้าในแต่ละวัน 6.) ด้านความเหมาะสมของการวางถังขยะ 7.) ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน 8.) ด้านกลิ่นรบกวนจากห้องน้า วิธีการสร้างเครื่องมือ 1. ศึกษาค้นคว้า ตารา วารสาร บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการใช้ห้องน้าของ โรงเรียนยโสธรพิทยาคม และรายละเอียดวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการสร้าง แบบสอบถาม 2. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามจากไพศาล วรคา (2552, หน้า 241) (ผู้เขียนตารา) เพื่อใช้เป็น แนวทางในการสร้างแบบสอบถาม 3. ศึกษา ความหมาย ทฤษฎี หลักการ แนวคิด องค์ประกอบ เพื่อนามาจัดทานิยามศัพท์เฉพาะและนา นิยามศัพท์เฉพาะมาเป็นแนวทางในการสร้างข้อคาถาม 4. พัฒนาแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความ พึงพอใจในการใช้ห้องน้าของโรงเรียนยโสธรพิทยาคมโดยจาแนกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ 1.) ด้านความปลอดภัยขณะใช้ห้องน้า 2.) ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง 3.) ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง 4.) ด้านความสะอาดของห้องน้า 5.) ด้านความเพียงพอของน้าในแต่ละวัน 6.) ด้านความเหมาะสมของการวางถังขยะ 7.) ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน 8.) ด้านกลิ่นรบกวนจากห้องน้า
  • 23. 47 คน และนามาหาค่าสัมประสิทธิ์ความ เชื่อมั่นโดยวิธีครอนบาค (Cronbach) 6. นาไปจัดพิมพ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ดาเนินการเก็บรวบรวมโดยวิธีการแจกแบบสอบถามด้วยตนเองซึ่งมีขั้นตอนการ ดาเนินงาน ดังนี้ 1.) สร้างแบบสอบถามและจัดพิมพ์แบบสอบถาม 2.) ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีแจกแบบสอบถามให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 47 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลกลับด้วยตนเอง การจัดกระทาข้อมูล 1. ได้รับแบบสอบถามกลับคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามมีความสมบูรณ์จานวน 47 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 2. นาแบบสอบถามมาตรวจให้คะแนนตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) บุญชม ศรีสะอาด (2541, หน้า 113) ดังนี้ ความพึงพอใจมากที่สุด ให้ 5 คะแนน ความพึงพอใจมาก ให้ 4 คะแนน ความพึงพอใจปานกลาง ให้ 3 คะแนน ความพึงพอใจน้อย ให้ 2 คะแนน ความพึงพอใจน้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน 3. นาคะแนนที่ได้หาค่าทางสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. วิเคราะห์สภาพทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ค่าเฉลี่ย เสนอในรูปแบบตาราง 2. วิเคราะห์ความพึงพอใจในการใช้ห้องน้าของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม โดยการหาค่าเฉลี่ย เป็น รายด้านและโดยรวม เสนอในรูปแบบตาราง 3. นาผลการวิเคราะห์ทางสถิติมาแปลผลดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
  • 24. 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ค่าร้อยละ (Percentage) (%)เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถามตอนที่ 1 2. ค่าเฉลี่ย (Mean) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X ใช้สูตร (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2552, หน้า 8) n X X  เมื่อ X คือ ค่าเฉลี่ย X คือ ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล n คือ จานวนกลุ่มตัวอย่าง 3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ S.D. ใช้สูตร (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2552, หน้า 73) 1n )XX( .D.S n 1i 2 i      เมื่อ S.D. คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง Xi คือ ค่าของข้อมูลแต่ละตัว X คือ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง n คือ จานวนข้อมูลทั้งหมดของกลุ่มตัวอย่าง
  • 25. ผู้ศึกษาได้นาเสนอการ วิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลข้อมูลตามลาดับดังนี้ 1.ขั้นตอนนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 เป็นผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ว่าเป็นเพศชายหรือเพศหญิง ตอนที่ 2 เป็นผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับค่าความพึงพอใจในการใช้ห้องน้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 เป็นผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง แสดงไว้ในตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามเพศ สภาพของกลุ่มตัวอย่าง จานวน (คน) ร้อยละ 1. เพศ 1.1 เพศชาย 1.2 เพศหญิง 16 31 34.05 65.95 รวม 47 100 จากตารางที่ 1 แสดงว่าในกลุ่มตัวอย่าง 47 คน เป็นเพศชาย จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 34.05 และเป็นเพศหญิง จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 65.95
  • 26. 5/1 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม ซึ่งแสดงไว้ในตารางที่ 2 ดังนี้ ตารางที่ 2 ตารางแสดงความพึงพอใจโดยหาค่าความถี่และค่าร้อยละ ที่ ด้าน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อย ที่สุด 1 1 ด้านความปลอดภัยขณะใช้ห้องน้า 6 19 19 1 2 คิดเป็นร้อยละ 12.77 40.42 40.42 2.13 4.26 2 ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้ง 9 15 18 3 2 คิดเป็นร้อยละ 19.15 31.91 38.30 6.38 4.26 3 ด้านความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง 6 15 21 2 3 คิดเป็นร้อยละ 12.77 31.91 44.68 4.26 6.38 4 ด้านความสะอาดของห้องน้า 1 9 23 12 2 คิดเป็นร้อยละ 2.13 19.15 48.94 25.53 4.26 5 ด้านความเพียงพอของน้าในแต่ละวัน 0 10 22 10 5 คิดเป็นร้อยละ 0 21.28 46.80 21.28 10.64 6 ด้านความเหมาะสมของการวางถังขยะ 6 13 20 5 3 คิดเป็นร้อยละ 12.77 27.66 42.55 10.64 6.38 7 ด้านจานวนห้องน้าเพียงพอต่อนักเรียน 8 10 12 10 7 คิดเป็นร้อยละ 17.02 21.28 25.53 21.28 14.89 8 ด้านกลิ่นรบกวนจากห้องน้า 0 0 13 14 20 คิดเป็นร้อยละ 0 0 27.66 29.79 42.55 จากตารางความพึงพอใจโดยหาค่าความถี่และค่าร้อยละ พบว่าระดับความพึงพอใจของกลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่จะอยู่ในเกณฑ์ปานกลางถึงมากที่สุด ในรายการประเมินที่ 1-7 และระดับความพึงพอใจ อยู่ในเกณฑ์น้อยที่สุดในรายการประเมินที่ 8 ในเรื่องกลิ่นรบกวนจากห้องน้า