2024 ตรา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราช มงคล ไส ใหญ่

สำหรับตราสัญลักษณ์ของ มทส.มีขนาดเส้นเล็ก 7X10 ตารางไมโครเมตร เล็กกว่าความกว้างของเส้นผมราว 10 เท่า ตราสัญลักษณ์มีรายละเอียดชัดเจน เป็นภาพท้าวสุรนารี หรือย่าโม ยืนอยู่ตรงกลาง มีเส้นโค้งงอนหงายขนาบ 2 ข้าง ข้างละ 4 เส้น และมีภาพใบไม้บนเฟืองจักรรองรับฐานของภาพท้าวสุรนารี ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดประสิทธิภาพสูง หรือกล้อง Field Emission Scanning Electron Microscope ในการส่องจึงจะสามารถมองเห็นได้

ศ.ดร.ประสาทกล่าวว่า สืบเนื่องจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศ และเป็นต้นแบบแห่งการสร้างนวัตกรรมหลายด้าน อาทิ แนวคิดในการบริหารทรัพยากรแบบรวมบริการประสานภารกิจ เพื่อใช้ทรัพยากรทุกประเภทให้เกิดประโยชน์สูงสุด เกิดความคล่องตัวในการบริหารงาน ทำให้มหาวิทยาลัยสามารถบริหารจัดการ จัดหาเครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทันสมัย เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอน การวิจัยระดับสูงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงการให้บริการวิชาการแก่หน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

เข็มตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย นักศึกษาหญิงใช้กลัดที่อกเสื้อเบื้องซ้าย มีรูปลักษณะรายละเอียด ขนาด และสีดังนี้

  • ความสูงของเครื่องหมาย 3.5 เซนติเมตร
  • ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยทำด้วยโลหะสลักดุนหรือปั๊มนูนสีทอง
  • สี “ส่วนพื้นของพระราชสัญจกรและดอกบัว” ลงยาสีน้ำเงิน “ส่วนพื้นของชื่อมหาวิทยาลัย” ลงยาสีขาว

เข็มกลัดเนคไท ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ทำด้วยโลหะลายดุนนูนชุบสีทองขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.9 เซนติเมตร ส่วนพื้นของพระราชสัญจกร และดอกบัวลงยาสีน้ำเงิน พื้นของชื่อมหาวิทยาลัยลงยาสีขาวหัวเข็มขัดมหาวิทยาลัย สำหรับนักศึกษาชาย-หญิง มีรูปลักษณะขนาดและสีดังนี้

  • หัวเข็มขัดทำด้วยโลหะทองแดงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง 4.2 เซนติเมตร ยาว 5.9 เซนติเมตร มีขอบกว้าง 0.2 เซนติเมตร สลักดุนนูนภายในสี่เหลี่ยมเป็นตรารูปวงกลม มีดอกบัว 8 กลีบ ล้อมรอบภายในดอกบัวเป็นตราพระราชสัญจกรด้านล่างมีข้อความ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สลักดุนหรือปั๊มนูนบนพื้นเม็ดทราย สีเงิน หรือ รมดำ
  • กระดุมเสื้อนักศึกษาหญิง ทำด้วยโลหะชุบสีเงินมีลักษณะกลมมนขอบเกลี้ยง ทำเป็นตรารูปวงกลมมีดอกบัว 8 กลีบล้อมรอบ ภายในดอกบัวมีตราพระราชสัญจกรสลักดุนหรือปั๊มนูนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.8 เซนติเมตร

เครื่องแต่งกายชุดปฏิบัติการ ของนักศึกษาทุกคณะ ทุกสาขาวิชา

  1. เสื้อ แบบและสีตามที่คณะกำหนด การปักเครื่องหมาย ชื่อ-สกุล-สาขาวิชา-คณะ จะต้องเป็นแบบเดียวกัน ขนาดตัวอักษรจะต้องขนาดเดียวกันทั้งสาขาข้อความไม่มากเกินไป ขนาดเสื้อ แบบทั้งนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิง ให้สุภาพเหมาะสม และปลอดภัยตามที่กำหนด
  2. กางเกงให้ใช้ตามแบบการแต่งกายเครื่องแบบปกติชาย
  3. การแต่งชุดปฏิบัติการให้แต่งเฉพาะวันที่มีการเรียนการสอนปฏิบัติเท่านั้น

เครื่องแต่งกายชุดกีฬา ทั้งนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิง

  1. ให้แต่งตามแบบ และสีที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  2. ให้แต่งกายชุดกีฬาได้เฉพาะในวัน เวลา ที่มีการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา หรือกรณีที่มหาวิทยาลัยมีกิจกรรมพิเศษ

มหาวิทยาลัยอนุญาตให้นักศึกษา แต่งชุดนักศึกษาวิชาทหารได้ โดยให้เป็นไปตามระเบียบของหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน กระทรวงกลาโหม กำหนด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลจัดตั้งขึ้นเป็นสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาครั้งแรก เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 โดยพระราชบัญญัติวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ. 2518 ใช้ชื่อว่า “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” และโอนวิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยเกษตรกรรม และวิทยาลัยต่างๆ ในสังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เข้ามาสังกัด ต่อมาพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “ราชมงคล” เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2531 (วันราชมงคล) พร้อมทั้งมีพระราชบัญญัติเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2532 ทำให้วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ได้รับการเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล"

ในระยะต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งกำหนดให้สถาบันการศึกษาที่เปิดสอนระดับปริญญาต้องเป็นนิติบุคคล ทำให้สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลเริ่มมีแนวคิดในการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยนิติบุคคล กระทั่งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นผลให้มีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเกิดขึ้นใหม่ จำนวน 9 แห่ง เป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี จัดการศึกษาด้านวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติ ผลิตครูวิชาชีพ และให้ผู้สำเร็จอาชีวศึกษามีโอกาสในการศึกษาต่อด้านวิชาชีพเฉพาะทางระดับปริญญาเป็นหลัก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เน้นการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการบุคลากรและพัฒนาพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย ผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์สถาปัตยกรรมศาสตร์ การท่องเที่ยว การบริหารจัดการและทักษะด้านธุรกิจ สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ เป็นมหาลัยที่มีคุณภาพทางด้านเทคโนโลยีที่ดีในภาคใต้ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังมีคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกของภาคใต้ ในช่วงเริ่มของการก่อตั้งนั้นได้รวบรวมเอาสถาบันการศึกษาที่เดิมเคยสังกัด สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ในเขตภาคใต้

  • วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เดิม "โรงเรียนประถมวิสามัญเกษตรกรรม ประจำอำเภอทุ่งสง" จัดการเรียนการสอนแบบให้เปล่า นักเรียนที่เข้าเรียนที่นี่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่จำกัดอยู่ในวงแคบเพราะเปิดรับเฉพาะนักเรียนชายที่สำเร็จ การศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในท้องที่อำเภอทุ่งสงเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2478 เข้าเป็นนักเรียนกินนอนของโรงเรียนเท่านั้นโดยใช้ เวลาในการเรียน 2 ปี จึงจบหลักสูตร โรงเรียนเปิดดำเนินการได้เพียง 2 ปี ก็ต้องงดรับนักเรียนในปี พ.ศ. 2481 ทั้งนี้เพื่อเตรียมโอนกิจการเป็นโรงเรียนรัฐบาล ในปี พ.ศ. 2482 และเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนเกษตรกรรมนครศรีธรรมราช"
    • พ.ศ. 2484 โรงเรียนเกษตรกรรมนครศรีธรรมราช ได้ทำการโอนกิจการเป็นโรงเรียนรัฐบาล แต่ภาระหน้าที่ ให้ความรู้ยังเน้นในเรื่องเกษตรกรรม
    • พ.ศ. 2489 เปิดสอนชั้นประโยคอาชีวศึกษาตอนปลาย แผนกเกษตรกรรมหลักสูตร 3 ปี ขึ้นอีกหนึ่งแผนก
    • พ.ศ. 2499 ได้ยกเลิกหลักสูตรประโยคอาชีวศึกษา ตอนต้นและเปิดหลักสูตรประโยคอาชีวศึกษาชั้นสูง แผนกเกษตรกรรม หลักสูตร 3 ปีโดยรับผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าและได้ขยายการรับนักเรียนให้กว้างขึ้นตั้งแต่จังหวัดสุพรรณบุรี ลงไปจนถึงจังหวัดนราธิวาส รวม 22 จังหวัด
    • พ.ศ. 2505 ทุนอุดหนุนได้ยกเลิกไป แต่ภารกิจการเรียนการสอนยังคงดำเนินต่อไป จนปี พ.ศ. 2507 ได้เปิดสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (เทียบเท่าอนุปริญญา) รับผู้สำเร็จประกาศนียบัตรวิชาชีพแผนก เกษตรกรรม หรือประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ แผนกเกษตรกรรม (ม.ศ.6 แผนกเกษตรกรรม) เข้าเรียนต่ออีก 2 ปี
    • พ.ศ. 2432 กระทรวงศึกษาธิการได้ ยกฐานะโรงเรียนเกษตรกรรมนครศรีธรรมราชขึ้นเป็น "วิทยาลัยเกษตรกรรมนครศรีธรรมราช" เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2508
    • พ.ศ. 2510 กรมอาชีวศึกษาได้จัดให้วิทยาลัยเกษตรกรรมนครศรีธรรมราชได้เข้า เป็นวิทยาลัย
    • พ.ศ. 2520 วิทยาลัยเกษตรกรรมนครศรีธรรมราช ได้เปลี่ยนโอนไปสังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ซึ่งเป็นหน่วยงานระดับกรมที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้เพื่อให้จัดการเรียนการสอนได้ทั้งระดับปริญญาตรีและต่ำกว่าปริญญาตรีในสายอาชีวศึกษา วิทยาลัยเกษตรกรรมนครศรีธรรมราช จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช
    • พ.ศ. 2531 นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ไปยังคณะเกษตรศาสตร์นครศรีธรรมราช ณ ป่าสงวนบ้านขอนไทรหัก อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และในปี พ.ศ. 2531 วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ได้รับพระราชทานชื่อใหม่เป็น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นผลให้วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช เปลี่ยนชื่อเป็น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
  • วิทยาเขตสงขลา เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคภาคใต้ สังกัดกรมอาชีวศึกษา ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2497โดยเปิดสอน 3 แผนกวิชา ได้แก่ ช่างก่อสร้าง พาณิชยการ และช้างไม้ปลูกสร้าง ต่อมาได้เปิดสอนเพิ่มเติมในแผนกวิชาช่างยนต์ แผนกวิชาช่างโลหะแผนกวิชาคหกรรมศาสตร ์ แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง รวมเป็น 7 แผนกวิชาแผนกวิชาที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เป็นการศึกษา ระดับประโยคอาชีวศึกษาหรือระดับประกาศนียบัตรใช้เวลาเรียน 3 ปี ในช่วงการเจัดตั้ง
  • วิทยาเขตตรัง คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติในหลักการให้จัดตั้ง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง จังหวัดตรัง เป็นการสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมชายฝั่งทะเลภาคใต้ ใน วันที่ 20 พฤศจิกายน 2533
  • วิทยาเขตศรีวิชัย อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช
    • พ.ศ. 2548 ได้ทำการรวมวิทยาเขตศรีวิชัย เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ วิทยาเขตนครศรีธรรมราช โดยใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ

รายนามอธิการบดี[แก้]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย รายนามอธิการบดี วาระการดำรงตำแหน่ง 1. ผศ.ประชีพ ชูพันธุ์ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 (รักษาราชการแทน) 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2555 (รักษาราชการแทน) รศ.ดร.อัศวิน พรหมโสภา 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553 (รักษาราชการแทน) นายสุรพงษ์ ถาวโรจน์ 24 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2556 (รักษาราชการแทน) 2. ผศ.รุจา ทิพย์วารี 13 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2560 ผศ.ยงยุทธ หนูเนียม 13 มีนาคม พ.ศ. 2560 - 21 กันยายน 2562 3. ศ.ดร.สุวัจน์ ธัญรส 22 กันยายน 2562 - ปัจจุบัน

หน่วยงานในมหาวิทยาลัย[แก้]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย แบ่งส่วนราชการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย พ.ศ. 2550 ดังนี้

  • สำนักงานอธิการบดี
  • คณะเกษตรศาสตร์
  • คณะบริหารธุรกิจ
  • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง
  • คณะวิศวกรรมศาสตร์
  • คณะศิลปศาสตร์
  • คณะอุตสาหกรรมเกษตร
  • วิทยาเขตตรัง
  • วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
  • สถาบันวิจัยและพัฒนา
  • สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
  • วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว
  • วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ

การจัดตั้งวิทยาเขต[แก้]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย แบ่งการจัดตั้งหน่วยงานตามวิทยาเขตต่าง ๆ ดังนี้

สงขลา

  • สำนักงานอธิการบดี
  • คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
  • คณะบริหารธุรกิจ
  • คณะวิศวกรรมศาสตร์
  • คณะศิลปศาสตร์
  • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
  • วิทยาลัยรัตภูมิ
  • สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
  • สำนักการจัดการนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี

วิทยาเขตตรัง

  • สำนักงานวิทยาเขต
  • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง
  • คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
  • วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว
  • สถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • สถาบันวิจัยและพัฒนา

วิทยาเขตนครศรีธรรมราช

  • คณะเกษตรศาสตร์
  • คณะสัตวแพทยศาสตร์
  • คณะอุตสาหกรรมเกษตร
  • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • คณะเทคโนโลยีการจัดการ
  • วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ

โครงการจัดตั้ง[แก้]

  • โครงการจัดตั้งวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
  • โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตพังงา
  • โครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
  • โครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน วิทยาเขตสงขลา
  • โครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ วิทยาเขตสงขลา
  • โครงการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
  • โครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีการจัดการ วิทยาเขตตรัง

พื้นที่จัดการศึกษา[แก้]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มีพื้นที่จัดการศึกษา 3 แห่งคือ

  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (สงขลา)
    • พื้นที่สงขลา
    • พื้นที่รัตภูมิ
  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
    • พื้นที่ไสใหญ่
    • พื้นที่ทุ่งใหญ่
    • พื้นที่ขนอม

สถานที่ติดต่อ[แก้]

  1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลาเลขที่ 1 ถ.ราชดำเนินนอก ต.บ่อยาง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา 90000]
  2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา จ.ตรัง 92150]]
  3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ทุ่งใหญ่ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช 80240]
  4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ไสใหญ่ ต.ถ้ำใหญ่ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 80110
  5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ขนอม อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช 80210
  6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาลัยรัตภูมิ 414 ม.14 ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ จ.สงขลา 90180

อ้างอิง[แก้]

  • สถิติอุดมศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอน 74ก ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2542
  • พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 122 ตอน 6ก ลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548
  • ประกาศวำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 ราย เก็บถาวร 2015-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนราชกิจานุเบกษา เล่ม 122 ตอน 88ง วันที่ 20 ตุลาคม 2548 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (นางสาวรุจา ทิพย์วารี)

ไสใหญ่ ทุ่งสง มีคณะอะไรบ้าง

คณะที่เปิดสอน พื้นที่ไสใหญ่.

คณะเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาพืชศาสตร์ ​ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ ​ สาขาวิชาประมง ​ สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ ... .

คณะเทคโนโลยีการจัดการ สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการบัญชี ... .

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์.

9ราชมงคล มีอะไรบ้าง

เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.

ม.ราชมงคลมีกี่ที่

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ทั้ง 9 แห่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ที่เน้นการปฏิบัติ ทำการสอน การวิจัย ...

มทร ภาคใต้มีที่ไหนบ้าง

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาลัยรัตภูมิ.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ไสใหญ่.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ทุ่งใหญ่.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ขนอม.