ม ค าคงท สมด ลเท าก บ 20.40 ท 700

ช่ือเรอ่ื งวจิ ยั : การจดั การเรยี นซอ่ มเสริมแบบสังคมแห่งการเรียนรู้ วิชาเคมีเพ่มิ เตมิ 3 เรือ่ ง คา่ คงที่สมดุล

เคมขี องนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 สายวิทย์ –คณติ โรงเรยี นหาดใหญ่รฐั ประชาสรรค์ ปีการศกึ ษา 2563 ผูว้ จิ ัย : นายบญุ สนิท ย่ิงกุลมงคล สถานทว่ี จิ ัย : โรงเรียนหาดใหญร่ ัฐประชาสรรค์

บทคัดย่อ

การจัดการเรยี นรู้ซ่อมเสรมิ แบบสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ เรอื่ ง ค่าคงที่ของสมดลุ เคมนี ักเรียนมธั ยมศึกษาปี ที่ 5 สายวทิ ย์-คณิตเพื่อเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นก่อน-หลังจดั การเรียนร้ซู ่อมเสริมแบบ สังคมแห่งการเรยี นรู้เรอ่ื งคา่ คงที่สมดลุ นกั เรยี นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 สายวิทย์-คณติ โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชา สรรค์ ปรากฏวา่ คะแนนนักเรยี นที่ได้จากการทดสอบดว้ ยแบบทดสอบจำนวน 40 ขอ้ คะแนนเต็ม 20 คะแนน นำไปทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นซอ่ มเสริมแบบสงั คมแหง่ การเรียนรู้ของนกั เรยี นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาย วิทย์-คณติ แลว้ นำมาหาคา่ เฉล่ยี ของแตล่ ะหอ้ งปรากฎว่าคะแนนเฉล่ยี ระหวา่ งกอ่ นเรียนกับหลังเรยี นของ นกั เรยี นแต่ละห้องมีคะแนนท่ีแตกต่างกนั โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนของทุกห้องนั้นมคี ่ามากกวา่ อย่างชดั เจน และเมื่อนำผลคะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียน-หลังเรียนซ่อมเสรมิ แบบสังคมแหง่ การเรียนร้ขู องนักเรยี นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 สายวิทย์-คณติ มาเปรียบเทยี บดว้ ยสถิติ t-test ปรากฏวา่ ห้อง ม.5/6 มคี ่า t – test เทา่ กบั 14.70** นักเรยี นหอ้ งม.5/7มคี ่า t – test เท่ากับ 20.13** นักเรียนหอ้ งม.5/8มีค่า t – test เทา่ กับ 19.08**นักเรียน ห้องม.5/9มคี า่ t – test เทา่ กับ 22.36** ซงึ่ ทุกห้องท่ีไดร้ ับการเรยี นซ่อมเสริมแบบสังคมแหง่ การเรียนรู้เม่ือ เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ก่อนเรียนหลงั เรยี นมคี วามแตกตา่ งต่างกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่.01 และเม่ือนำ คะแนนมารวมกันของนักเรยี นท้ังหมด 80 คนมาเปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรียน-หลังเรียนมคี ่าคะแนนเฉลยี่ ที่ แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ .01

การศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นตอ่ จัดการเรียนรซู้ ่อมเสริมแบบสังคมแหง่ การเรยี นรู้ เรอื่ งค่าคงที่สมดลุ นักเรียนมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 สายวทิ ย์-คณิต โรงเรียนหาดใหญร่ ัฐประชาสรรค์ ปรากฏว่า ความพงึ พอใจของนกั เรียนต่อการจดั การเรียนรูซ้ ่อมเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรียนรขู้ องนกั เรียนมธั ยมศึกษาปี ที่ 5 สายวิทย์-คณิตผลการวเิ คราะห์ข้อมูลมีคา่ เฉล่ียของแต่ละประเด็นตั้งแต่ 3.50 ถงึ 4.63 โดยประเด็นทมี่ ี คา่ ความพงึ พอใจของนกั เรียนน้อยท่ีสุดคือ การวัดผลการประเมินผลการเรยี นรู้ ท่ีค่าเฉลี่ยที่ 3.50 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 1.00 อยใู่ นเกณฑ์ระดับมาก และค่าเฉลย่ี ความพงึ พอใจมากท่ีสดุ คือ นกั เรยี นทากจิ กรรม ดว้ ยตนเองโดยมีครูเป็นผอู้ านวยความสะดวก มคี่ าเฉลยี่ 4.63 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.71 อยู่ใน เกณฑ์ระดบั มากทส่ี ุด

สารบัญ หนา้ ก ชือ่ เรื่อง 1 บทคัดย่อ.............................................................................................................................................................. 5 ช่ือปญั หา/ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา………………………………………………………………………………….. 5 สาเหตปุ ญั หา……………………………………………………………………………………………………………………………….. 5 วตั ถปุ ระสงค์………………………………………………………………………………………………………………………………… 7 วิธีการวิจัย…………………………………………………………………………………………………………………………………… 8 วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมูล……………………………………………………………………………………………………………………. 11 สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………………………………………………………………………… 15 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ……………………………………………………………………………………………………………………. 16 สรุปผลและอภิปรายผล………………………………………………………………………………………………………………….. 18 บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………………………….. 19 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………………. 25 แผนจัดการเรยี นรู้…………………………………………………………………………………………………………………………. 36 กจิ กรรมแบบฝึกหดั การคิดคำนวณ…………………………………………………………………………………………………… 48 แบบทดสอบ………………………………………………………………………………………………………………………………… 50 คะแนนผลการทดสอบ…………………………………………………………………………………………………………………………. 51 แบบสอบถามความพงึ พอใจ…………………………………………………………………………………………………………… ประวัติผูว้ จิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………….

การจดั การเรียนซ่อมเสรมิ แบบสังคมแหง่ การเรียนรู้ วิชาเคมีเพ่ิมเติม 3 เร่ือง ค่าคงที่สมดุล เคมขี องนักเรียนมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 สายวทิ ย์ –คณติ โรงเรยี นหาดใหญร่ ัฐประชาสรรค์ ปีการศกึ ษา 2563

ชือ่ ปัญหา : นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองค่าคงท่ีของสมดุลต่ำ

ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา

ปัจจบุ ันสงั คมโลกมกี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ อันเนื่องมาจากกระแสโลกาภวิ ัตน์ ได้มกี ารคน้ พบ ความรู้ มีการพฒั นาเทคโนโลยใี หมๆ่ เกิดข้ึนตลอดเวลา รวมทง้ั มีการเช่ือมโยงข้อมูลข่าวสารกนั ท่วั โลก โดยเฉพาะการตดิ ต่อรับข้อมลู ขา่ วสารทางอนิ เตอร์เนต็ จากกระแสแห่งโลกไรพ้ รมแดน และกระแสผลักดัน ตา่ งๆ ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทำใหป้ ระเทศไทยต้องแข่งขันกับ ประเทศอน่ื ๆ ดังน้ันผู้ทจี่ ะมีชีวิตอยู่ในสังคมน้ีได้อย่างสมบรู ณต์ ้องเป็นบคุ คลท่มี ลี กั ษณะ มองไกล คิดไกล ใฝ่ รู้ และเป็นบุคคลที่มกี ารเรียนรูต้ ลอดชีวิต(lifelong education) (คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ สำนักงาน.2540)

ในปจั จบุ นั วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าเปน็ อยา่ งรวดเร็ว ทำใหป้ ระเทศต่าง ๆ ทว่ั โลกสามารถติดต่อเชอ่ื มโยงกนั ได้ สะดวก รวดเรว็ การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมือง ก่อให้เกิดผลกระทบที่มผี ลต่อเนอ่ื งไปท่ัวโลกครอบคลุม อาณาบริเวณกว้างปรากฏการณ์ดงั กล่าวยังมีผลต่อเน่อื งอย่างไมห่ ยดุ ยั้ง ในศตวรรษท่ี 21 นท้ี ว่ั ทุกประเทศต่าง เลง็ เห็นวา่ การศกึ ษาเปน็ เคร่ืองมือสำคัญในการผลิตคนในชาตใิ หป้ ระเทศมี ความพร้อมจะตั้งรบั ต่อการ เปล่ียนแปลงในการพฒั นาสงั คมและประเทศให้มีคุณภาพได้ (นาตยา ปลิ ันธนานนท์ และคณะ. 2542 : 1) จาก สถานการณ์ทีเ่ ปลยี่ นแปลงของโลกไปอยา่ งรวดเร็ว ประเทศไทยพร้อมรับกับสถานการณด์ งั กลา่ ว โดยใน รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ไดก้ ำหนดแนวทางการจัดการศกึ ษาของไทยไว้เพื่อ พฒั นาการศึกษาใหท้ นั กับอารยประเทศ จนเปน็ เหตุทำใหเ้ กิดการปฏริ ปู การศึกษาโดยมพี ระราชบัญญัติ การศกึ ษาชาตฉิ บับ พ.ศ. 2542 เป็นกรอบในการจดั การศกึ ษาของประเทศ

จากพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาชาติฉบับ พ.ศ. 2542 เป็นเหตุให้ปรับเปลย่ี นวธิ ีการสอนของผูส้ อน และวิธกี ารเรียนร้ขู องผ้เู รียนไดก้ ลับมาเรียนร้สู งั คมทีต่ นเองอาศัยอยู่ซงึ่ เปน็ แหล่งการเรียนรขู้ นาดใหญ่ เพอื่ ให้ นกั เรยี นได้รู้จักสังคมของตนเอง การเรยี นรู้ที่ใชส้ งั คมเป็นฐานทำให้เกิดสังคมแห่งการเรยี นรหู้ รอื สงั คมแห่ง ปัญญา (สำนักปฏิรปู ทางการศึกษา. 2544 : 11) เพราะมนุษยใ์ นสังคมเปน็ ทรัพยากรที่มคี า่ ท่สี ดุ ของประเทศ

ถ้าคนในสังคมมีความร้มู ีความสามารถ รจู้ กั การดำรงชวี ติ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ใชภ้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น มีวฒั นธรรม สังคมมีความเขม้ แขง็ การพัฒนาประเทศก็เปน็ ไดง้ ่าย ประเทศชาตกิ ย็ ่อมมีความม่ันคง การจดั การศึกษาทเ่ี นน้ ความร้เู ร่ืองเกีย่ วกับตนเอง และความสมั พันธ์ของตนเองกับสังคม ไดแ้ ก่ ครอบครวั ชุมชน ชาติ และสงั คม โลก รวมถงึ ความรูเ้ กีย่ วกบั ประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของสังคมไทย และระบบการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ พระประมุข มาตรา 24 ในพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดใหส้ ถานศึกษาและหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องดำเนินการจดั เน้ือหาสาระและกจิ กรรม ใหส้ อดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผ้เู รยี นโดยคำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยเฉพาะการ จัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานในระดับชว่ งช้ันท่ี 1-4 สถานศึกษาต้องจดั กระบวนการเรียนรู้ทม่ี ุ่งเน้นการฝึกทักษะ กระบวนการ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาใน ชีวิตประจำวัน จดั กิจกรรมให้ผ้เู รยี นได้เรียนร้จู ากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏิบัติให้ทำได้ คดิ เป็น ทำเปน็ รักการอา่ น และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง (กรมวชิ าการ. 2544 : 3) การศกึ ษาเปน็ กระบวนการพัฒนาคนใหเ้ ป็น มนษุ ย์ที่สมบรู ณท์ ้งั ร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจรยิ ธรรม และวัฒนธรรมในการ ดำรงชวี ิตตัง้ แตเ่ กิดจนตาย (สำนกั ปฏริ ปู การศึกษา. 2544 : 10) การปฏิรปู การเรียนรู้ของนักเรียนเป็นการ ปรบั เปล่ียนวิธีคดิ ให้มีความหลากหลายมากย่ิงข้ึนใชว้ ิธสี อนท่ีเก่ียวโยงกบั ชีวติ จริง และทันต่อเหตุการณ์กับการ เป็นอยขู่ องโลกปจั จบุ นั กล่าวไดว้ ่า ปรบั วธิ ีเรียนเปล่ยี นวิธสี อน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การเรียนการสอนท่ียึดหลัก วา่ ผู้เรยี นมีความสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ และถอื ว่านักเรียนมคี วามสำคญั ท่สี ดุ (กรมวชิ าการ. 2545 : 1) เนน้ การเรยี นการสอนท่ีมคี วามแตกต่างระหว่างบคุ คล ดงั นนั้ การจัดการเรยี นการสอนในแตล่ ะสาระ การเรียนรู้ตอ้ งมีการจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ จิ กรรมอย่างหลากหลายโดยมีเปา้ หมายใหผ้ เู้ รียนมคี ณุ ภาพอยู่ ร่วมในสังคมอย่างมีความสขุ

การจดั กระบวนการเรียนการสอนในสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ในสถานศึกษานบั วา่ มคี วามสำคัญ

อยา่ งมากเพราะวิทยาศาสตร์มบี ทบาทสำคัญอย่างย่ิงในสงั คมโลกปจั จบุ ัน และอนาคต วทิ ยาศาสตรเ์ ก่ียวขอ้ ง

กบั ชวี ติ ของทุกคนท้งั ในการดำรงชีวิตประจำวนั และในการประกอบอาชีพต่าง ๆ วิทยาศาสตร์ทำใหค้ นได้

พฒั นาความคิด ทั้งความคิดเปน็ เหตเุ ปน็ ผล คดิ สร้างสรรค์ คดิ วเิ คราะห์วจิ ารณ์ มีทกั ษะท่ีสำคัญในการ

ค้นควา้ หาความรู้ มีความสามารถในการแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นระบบ สามารถตดั สนิ ใจใชข้ ้อมลู ท่ีหลากหลายและ

ประจกั ษ์พยานทีต่ รวจสอบได้ วทิ ยาศาสตร์เปน็ วฒั นธรรมของโลกสมัยใหมซ่ ึ่งเป็นสังคมแหง่ ความรู้

(knowledge based society) ทุก ๆ คนจงึ จำเปน็ ต้องไดร้ ับการพฒั นาให้รวู้ ทิ ยาศาสตร์ (กรมวชิ าการ. 2545

: 2) ปจั จบุ ันสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรต์ ามหลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มีการจดั การศกึ ษาเพื่อมุง่ หวังให้

ผ้เู รยี นไดเ้ รียนร้วู ิทยาศาสตรท์ ่ีเนน้ กระบวนการไปสูอ่ งค์ความรู้ โดยมผี เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรียนทุกข้ันตอน

ผู้เรยี นจะได้ทำกจิ กรรมหลากหลายท้งั เป็นกลมุ่ และเปน็ รายบุคคลโดยอาศยั แหล่งเรยี นรู้ที่เปน็ สากลและ

ท้องถ่ิน โดยผ้สู อนมบี ทบาทในการวางแผนการเรยี นรู้ กระตุ้น แนะนำ ช่วยเหลอื ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้

เป้าหมายทส่ี ำคัญในการจัดการเรียนการสอนเนน้ ในด้านคณุ ภาพของผเู้ รียนใหผ้ ูเ้ รยี นเจรญิ งอกงามไปพร้อมกัน

ท้ัง 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. ดา้ นความรูค้ วามคดิ หรือพุทธิพสิ ยั เปน็ การพฒั นาทางด้านสตปิ ัญญา ความคดิ หรอื สมองของผู้เรยี นใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรูใ้ นสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรใ์ นส่วนทีเ่ ป็นองค์ความรูท้ าง วิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ ขอ้ เท็จจรงิ (fact) ความคิดรวบยอด (concept) หลักการหรือกฎ (principle/law) และ ทฤษฎี (theory) 2. ดา้ นความรู้สกึ หรือจิตพสิ ัยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้พัฒนาเจริญงอกงามในส่วนท่เี ปน็ จิตใจและความรู้สึก ท่ีสำคญั ได้แก่ ความสนใจ ความซาบซึง้ คา่ นิยม ความเชอ่ื และเจตคติ ส่วน เจตคตใิ นสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรผ์ ้สู อนพยายามใชก้ ระบวนการเรยี นการสอนเพื่อต้องการให้ผูเ้ รยี นเกดิ เจตคติหรอื มีเจตคติเกย่ี วกบั วิทยาศาสตร์หรอื เรยี กวา่ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ด้านทักษะปฏบิ ัติ หรือ ทกั ษะพิสยั มีจุดมุ่งหมายพฒั นาผูเ้ รยี นใหเ้ จริญงอกงามมที ักษะความชำนาญในการปฏบิ ัติ หรือทำเป็น ในทาง วทิ ยาศาสตรเ์ ปา้ หมายคือต้องการให้ผูเ้ รยี นเกดิ หรือมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การหยิบ การ จับเครื่องมอื การสังเกต การทดลอง การจัดกระทำข้อมูล การออกแบบการทดลอง การแปลความหมาย ขอ้ มลู เป็นต้น (ประวิตร ชูศิลป์. 2541:4) การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ในกิจกรรมหน่งึ ๆ สามารถพัฒนาผเู้ รียนได้ท้ัง 3 ด้าน ไปพร้อมๆ กนั โดยไม่สามารถใช้กจิ กรรมการเรยี น พฒั นาผู้เรยี นเพยี งเฉพาะดา้ นใดด้านหนงึ่ เทา่ นัน้ ทักษะท้ัง 3 ด้านท่ีจะใหเ้ กดิ ขึ้นในตัวผู้เรยี นน้ันต้องอาศัยซ่ึง กันและกนั การเกือ้ หนนุ ในการพฒั นาแตล่ ะดา้ น ซ่งึ ในสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรม์ คี วามมุ่งหวงั ท่จี ะพัฒนา ผเู้ รียนให้เกิดองคค์ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใหต้ กผลึกอยู่ในจติ ใจ สามารถนำความรทู้ ่ีได้ไป ใช้แกป้ ัญหาในชีวิตประจำวันโดยทำใหม้ นุษย์มชี วี ติ จติ ใจเย่ียงนกั วิทยาศาสตร์ ดังในเปา้ หมายวิสยั ทัศน์การ เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ได้กำหนดไวว้ า่ เพื่อให้เป็นคนทมี่ จี ติ วิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมใน การใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์ (กรมวิชาการ. 2545 : 3 ) นอกจากนี้ในสาระการเรยี นรู้ได้มี การกำหนดคุณภาพผู้เรยี นเมื่อเรียนรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ครบ 12 ปี ในแตล่ ะช่วงชนั้ ผู้เรียนตอ้ งมีเจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์ ดังน้ี ความสนใจใฝร่ ู้ ความมงุ่ ม่ันอดทน รอบคอบ ความซ่อื สตั ย์ ประหยัด การรว่ มแสดงความคิดเหน็ และยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ความมเี หตผุ ล การทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้ อย่างสร้างสรรค์ (กรมวิชาการ. 2545 : 5)

การจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานไดเ้ น้นใหผ้ เู้ รียนเปน็ สำคญั โดยผ้เู รียนมี บทบาทวางแผนการเรยี นรู้ เลือกทำกจิ กรรมการเรยี นรู้และลงมือปฏบิ ตั ิ ท้งั น้ีเพื่อพฒั นาผูเ้ รียนให้มคี วาม สมบรู ณท์ ง้ั รา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ใชแ้ นวทางการจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 ที่ระบใุ ห้สถานศึกษา ดำเนนิ การดังน้ี 1. จัดเนื้อหาสาระและกจิ กรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของโดยคำนึงถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 2. ฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ และการ ประยุกต์ความรู้มาใชเ้ พ่ือป้องกันและแกไ้ ขปัญหา 3. จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏบิ ัติ ให้คดิ เปน็ ทำเป็น รกั การอา่ นและเกดิ การใฝ่รรู้ ้อู ยา่ งต่อเนือ่ ง 4. จัดการเรยี นการสอนโดย

ผสมผสานสาระความรูด้ า้ นตา่ งๆ อย่างไดส้ ัดสว่ น รวมทัง้ ปลกู ฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะอัน

พงึ ประสงค์ 5. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สอื่ การเรียนและอำนวยความ

สะดวกเพื่อให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรแู้ ละมคี วามรอบรู้รวมท้งั สามารถใชก้ ารวิจยั เปน็ สว่ นหน่ึงของกระบวนการ

เรียนรู้ ทัง้ นีผ้ ู้สอนและผเู้ รียนอาจเรยี นอาจเรียนรู้ไปพร้อมกนั การสื่อการเรยี นการสอนและแหลง่ วิทยาการ

ตา่ งๆ 6. จดั การเรยี นรู้ให้เกดิ ขึน้ ได้ทกุ เวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรว่ มมือกับบดิ ามารดา ผู้ปกครอง

และบคุ คลในชุมชน เพอ่ื ร่วมกันพัฒนาผเู้ รียนตามศักยภาพ(สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยี.2546 : 3)

ในการจดั การเรยี นการสอนในโรงเรียนเพ่อื พฒั นาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพตอ้ งอาศัยความร่วมมอื กนั ระหว่างผู้บริหาร ผ้สู อน ผูเ้ รยี น และผู้ปกครองจะตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือกนั เพื่อพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ รียนรู้ตาม ศกั ยภาพต้องอาศยั การรู้จกั นักเรียนเปน็ รายบุคคล รู้ความต้องการของนักเรยี น เข้าใจความรู้สกึ นึกคิดของ นักเรยี นตามความตอ้ งการของวยั ซง่ึ จะทำใหผ้ ู้เรียนไดม้ สี ่วนรว่ มในการพัฒนาการเรยี นรู้ มสี ่วนรว่ มในการ ออกแบบการเรยี นรู้ สามารถจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ในการจัดการเรยี นการสอนท่ีจะ พัฒนานักเรยี นให้ตรงจดุ ปญั หา การตอ่ ยอดนักเรียนที่เกง่ ซ่อมเสรมิ นกั เรียนกลมุ่ อ่อน ดแู ลการเรียนเรยี นรู้ ของผเู้ รยี นใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ และในสถานการณป์ จั จบุ ันในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชื้อโรคโควิด2019 นัน้ นกั เรยี นเองไม่มีเวลาในการจัดการเรียนการสอนเหมือนเหตกุ ารณ์ปกติ การทบทวน การซ่อมเสริมนักเรียน เป็นไปค่อนยากและนักเรียนขาดทกั ษะในการคิดคำนวณเป็นอยา่ งมาก ดงั นัน้ ผวู้ จิ ยั ไดจ้ ัดการเรยี นการสอน แบบปกติเรื่องคา่ คงท่ีของสมดลุ เคมีแลว้ ทำการทดสอบผลปรากฎวา่ นักเรียนมคี ะแนนต่ำกว่าเกณฑ์จำนวนมาก เมอื พจิ ารณาแลว้ วา่ นักเรียนกลุ่มตำ่ ควรไดร้ ับการพฒั นาให้ดีข้ึน จงึ มกี ารจัดการเรยี นซ่อมเสริมแบบชุมชน แบบสงั คมแห่งการเรยี นรู้เร่ืองค่าคงทสี่ มดุล นักเรียนมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 สายวทิ ย์-คณติ โรงเรียนหาดใหญ่รฐั ประชาสรรค์ข้ึนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ข้างตน้

สาเหตุ :

1. นักเรียนขาดทกั ษะในการคดิ คำนวณ 2. ครสู อื่ สารไมเ่ หมาะสมกับวยั 3. เวลาในการจัดการเรยี นการสอนนอ้ ย

วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นก่อน-หลงั จัดการเรียนรซู้ ่อมเสริมแบบสงั คม แห่งการเรียนรู้เร่ืองคา่ คงท่สี มดุล นกั เรียนมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 สายวิทย์-คณิต โรงเรียนหาดใหญร่ ฐั ประชาสรรค์

2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั เรยี นต่อจดั การเรียนรู้ซ่อมเสริมแบบสงั คมแห่งการเรียนร้เู รือ่ ง คา่ คงที่สมดลุ นักเรียนมัธยมศึกษาปที ี่ 5 สายวิทย์-คณติ โรงเรียนหาดใหญร่ ฐั ประชาสรรค์

วธิ กี ารวิจัย

1. กลมุ่ เป้าหมาย นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 สายวทิ ย์ – คณิต ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ทม่ี ีคะแนนการทดสอบเร่ืองค่าคงทส่ี มดลุ ต่ำกว่าเกณฑ์ นำมาสอนซ่อมเสริมนอกเวลาเรยี นปกติ จำนวน 80 คน ประกอบด้วย

1.1 นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/6 จำนวน 25 คน 1.2 นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5/7 จำนวน 20 คน 1.3 นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/8 จำนวน 20 คน 1.4 นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5/6 จำนวน 15 คน 2. วิธกี ารหรือนวตั กรรมทีใ่ ช้ ชือ่ นวัตกรรม แผนการจดั การเรียนรู้ ซ่อมเสริมแบบสงั คมแหง่ การเรียนรเู้ รื่องค่าคงที่สมดลุ นักเรียนมธั ยมศึกษาปีที่ 5 สายวทิ ย์-คณิต

2.3 เคร่ืองมือวัดผลและการรวบรวมข้อมูล 2.3.1 แบบทดสอบเรอ่ื ง ค่าคงท่ีของสมดุล 2.3.2 แบบฝึกหดั ทักษะการคิดคำนวณเร่ืองค่าคงที่ของสมดลุ 2.3.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจเก่ียวกบั จดั การเรียนรซู้ ่อมเสริมแบบสงั คมแห่งการเรียนรู้

เรื่อง คา่ คงทขี่ องสมดลุ เคมีนักเรยี นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สายวิทย์-คณติ

วธิ ีเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

ข้นั ท่ี 1 ศึกษาเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

- ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีเกย่ี วข้องกับชมุ ชนการเรียนรู้ - เอกสารจิตวทิ ยาการเรยี นรู้ - ผลสัมฤทธ์ขิ องนักเรียน - แบบฝกึ หัดทักษะการคิดคำนวณคา่ คงทข่ี องสมดลุ ขั้นท่ี 2 วิเคราะห์ผ้เู รียนและเน้ือหาทเ่ี รียน

- ทดสอบก่อนเรียน

- ศกึ ษาความสามารถในการเรียนรู้ ทางสงั คมของผเู้ รียน แบ่งนักเรียนออกเปน็ กลมุ่ เล็ก ประมาณ 4-5 คน

- วเิ คราะห์เนื้อหาความยากง่ายหน่วยของเร่ืองคา่ คงท่ีของสมดุล - แบ่งเนอื้ หานักเรยี นใหร้ ับผดิ ชอบรปู แบบการคดิ คำนวณค่าคงที่เพ่ือไปศึกษาดว้ ยตนเอง

ใหเ้ กดิ ความชำนาญ ขนั้ ท่ี 3 สร้างชุมชนการเรยี นรู้ขนาดเล็ก

- นักเรยี นในกล่มุ เลือกกำหนดหนา้ ท่ีของสมาชกิ ภายในกลุ่ม - นกั เรยี นกลุม่ กลุ่มเล็กท่ีไดร้ ับผิดชอบหวั ข้อย่อยโจทย์การคิดคำนวณรูปแบบต่างๆ โดยมี

นักเรียนกล่มุ เกง่ ช่วยอธบิ ายโดยใช้แบบฝกึ หัดทักษะการคิดคำนวณ ให้เขา้ ใจ - นกั เรียนในกลุ่มเดียวกันมาพดู คุยเนือ้ หาท่ีตนได้ไปศึกษาดว้ ยตนเองและวิเคราะห์สภาพ

ของกลุ่มว่ามคี วามเข้าใจเน้ือหาสาระการคดิ คำนวณเรื่องคา่ คงที่ ที่ได้ศึกษามาระดับใด ข้นั ท่ี 3 การพัฒนาชมุ ชนการเรียนร้ขู นาดเลก็ โดยครผู ู้สอน

- นักเรียนกลมุ่ ขนาดเลก็ มาพูดคยุ เกยี่ วกับปญั หาความไม่เข้าใจในการคิดคำนวณเร่ือง คา่ คงท่ี และพืน้ ฐาน ปญั หาอปุ สรรคตา่ งๆ ของสมาชกิ ในกลุ่มกับครูผสู้ อน

- นักเรยี นกล่มุ ขนาดเล็กพบครูท่ปี รึกษารว่ มพูดคุยแลกเปลยี่ นเนอื้ หาความรู้โดยครูทำ หนา้ ท่ใี หค้ ำปรึกษาและแก้ไขความไมเ่ ข้าใจพรอ้ มท้งั เสริมความรู้เนื้อหาเกี่ยวกบั การคิด คำนวณแบบท่ีนักเรยี นได้รบั ผิดชอบ จนเกดิ ความชำนาญ

ขั้นที่ 4 วางแผนเพ่ือลงสชู่ มุ ชนขนาดใหญ่

- นักเรียนในกลุ่มประชมุ ระดมความคดิ เพ่อื หาวธิ กี ารอธบิ ายกลมุ่ เพ่ือนกลุ่มอื่นๆในรปู แบบ การคดิ คำนวณของเรา เพ่ือนำความรูท้ ไี่ ด้ สกู่ ลุม่ อนื่ ๆทง้ั ห้อง

- เตรยี มอุปกรณ์ ฝกึ ซ้อม กำหนดหน้าทล่ี งสกู่ ลุ่มตา่ งๆในหอ้ งเรียน ขน้ั ที่ 5 ลงสชู่ ุมชนขนาดใหญ่

- กลุ่มนักเรียนขนาดเล็กท่รี บั ผิดชอบเนอื้ หาโจทย์การคิดคำนวณเรอ่ื งคา่ คงที่ของสมดลุ สง่ ตัวแทนกระจายไปยงั กลุ่มเลก็ ในห้องเพื่ออธิบายโจทยข์ องตนเอง

- ตัวแทนกลมุ่ เป็นผ้นู ำการพูดคุยเนือ้ หาที่ตนรบั ผดิ ชอบตามกรอบทก่ี ำหนดไวใ้ นกลุม่ - พดู คุย ซกั ถาม อภปิ ราย ทำกจิ กรรมในกลุม่ ย่อยตามเวลาทก่ี ำหนด - เมื่อกลมุ่ ท่ี 1 เสรจ็ ก็เปลยี่ นกระจายกลมุ่ ท่ี 2 ลงไปสกู่ ลุ่มอ่ืนๆเพอ่ื เลือกเปลยี่ นความร้ทู ่ี

ได้มา ข้นั ที่ 6 ชมุ ชนขนาดใหญ่รว่ มกนั สรุป

- เม่อื นกั เรียนทุกกลุ่มได้แลกเปลีย่ นเรียนรูค้ รบทุกข้อในหน่วยสมดุลเคมเี รอ่ื งค่าคงทข่ี อง สมดลุ

- นักเรยี นรว่ มกันสรุปเนอ้ื หาที่ได้เรียนรูม้ าโดยครูดำเนนิ การอภปิ ราย ตอบข้อสงสยั พรอ้ ม ทง้ั เพิ่มเตมิ เนื้อหาท่ยี งั ไม่สมบูรณ์

ขั้นที่ 7 ประเมนิ ผล

- นักเรียนรบั แบบฝึกทักษะการคิดคำนวณเรื่องค่าคงที่ของสมดลุ ไปฝกึ อีกรอบเพ่ือให้ เกดิ ความชำนาญ โดยครใู ห้คำแนะนำเพ่มิ เติม

- นำแบบทดสอบผลการเรียนรู้เรื่องค่าคงท่ีของสมดุล ทดสอบหลงั เรยี นเพื่อดู ความกา้ วหน้า

- ทดสอสอบความพงึ พอใจของนักเรียนตอ่ จัดการเรียนรซู้ ่อมเสริมแบบสงั คมแหง่ การ เรยี นรู้ เร่ือง ค่าคงท่ขี องสมดุลเคมนี ักเรยี นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 สายวิทย์-คณิต

ขนั้ ท่ี 8 รายงานผล - นำผลคะแนนที่ไดจ้ ากแบบฝกึ ทักษะการคดิ คำนวณมาวเิ คราะห์ หลงั จดั กาเรยี นรู้ - นำขอ้ มลู จากการทดสอบมาวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นการคำนวณ ค่าคงที่ของสมดุล ก่อน-หลังดว้ ยค่าสถติ ิ - จดั ทำรายงานผลการดำเนนิ การกับผ้ทู ่เี กยี่ วข้อง

วิธกี ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู

การวิเคราะห์ขอ้ มลู คร้งั น้ีผรู้ ายงานได้วเิ คราะห์ข้อมูลในประเด็นดงั ต่อไปนี้ 1 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแผนการสอนแบบสงั คมแหง่ การเรยี นรเู้ ร่ืองคา่ คงที่ของสมดุลเคมี 2. การวเิ คราะหค์ วามก้าวหน้าของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนและหลังการการจดั การเรยี นรู้ 3. การวเิ คราะหค์ ุณภาพของแบบทดสอบก่อนและหลงั ใช้จัดการเรียนรู้แบบสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 4. การวเิ คราะห์ทักษะการคิดคำนวณของคา่ คงท่ีของสมดุลเคมี

สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

1. ค่าสถิตพิ นื้ ฐาน ได้แก่ 1.1 ค่าเฉลย่ี

สตู ร  =   (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ 2528 : 59) N

เมื่อ  แทน คะแนนเฉล่ยี

เม่ือ   แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

N แทน จำนวนขอ้ มลู

1.2 ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน

สตู ร SD = N 2 − ( )2 (ลว้ น สายยศและอังคณา สายยศ. 2528 : 59)

N(N −1)

เม่อื SD แทนความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

X แทน คะแนนในแตล่ ะคนในกลุม่ ตัวอย่าง

  แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด  2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละคนยกกำลังสอง

N แทน จำนวนคนในกลมุ่ ตัวอย่าง

2. สถิติทใี่ ช้ในการหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื 2.1 การหาอำนาจจำแนกของเครอ่ื งมือ ดงั น้ี แบบทดสอบ สตู รการคำนวณ

R = Ru − Rl (พวงรัตน์ ทวีรตั น.์ 2540 : 130)

N/2

R = อำนาจจำแนกข้อสอบ(discrimination power) Ru = จำนวนผู้ตอบถกู ในกลุ่มสงู Rl = จำนวนผู้ตอบถกู ในกลุ่มตำ่ N = จำนวนกลุ่มตวั อยา่ ง

แบบประเมิน/แบบสอบถาม โดยใช้ t – test แบบเทคนคิ 25 % ของกลุ่มสงู กล่มุ ตำ่

สูตร t = H − L (ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. 2528 : 185) เม่อื t S 2H 2 − S L

NH NL

แทน คา่ อำนาจจำแนกแบบสอบถาม

 H แทน คะแนนเฉลยี่ ของกลมุ่ ไดค้ ะแนนสูง

 L แทน คะแนนเฉล่ยี ของกลุ่มได้คะแนนตำ่ S2H แทน ความแปรปรวนของกล่มุ ไดค้ ะแนนสงู S2 แทน ความแปรปรวนของกลุ่มไดค้ ะแนนตำ่

NH แทน จำนวนผู้ตอบแบบทดสอบในกล่มุ สูง NL แทน จำนวนผ้ตู อบแบบทดสอบในกลุม่ ต่ำ 2.2 ค่าหาความยาก (Difficulty) ของขอ้ สอบแต่ละขอ้ โดยคำนวณจากสตู ร ดังน้ี

(พวงรตั น์ ทวรี ัตน์. 2540 : 129)

P= R P แทน ความยากของคำถามแตล่ ะขอ้

N

เมื่อ

R แทน จำนวนผู้ตอบถกู ในแต่ละขอ้

N แทน จำนวนผ้ตู อบทงั้ หมด

2.3 หาคา่ ความเชื่อม่นั ของแบบประเมนิ /แบบสอบถามโดยใช้สัมประสิทธิแอลฟาของครอนบัค

(Cronbach alpha coefficient)สูตรการคำนวณดงั น้ี

 = n  si 2  1 − st 2  n −1   (ลว้ น สายยศและองั คณา สายยศ. 2528 : 187)

 แทน ความเช่อื มน่ั

n แทน จำนวนขอ้ ของขอ้ ทดสอบ

Si2 แทน ความแปรปรวนของข้อสอบแต่ละข้อ St 2 แทน ความแปรปรวนของข้อสอบทั้งชุด การหาความเชอ่ื มั่นของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นโดยใช้สตู รของ คูเดอร์

ริชารด์ สัน(Kuder Richardson ; อ้าวองิ จาก พวงรัตน์ ทวรี ัตน์. 2540 : 123)

\=rtt n 1 − pq  n − 1 sl2 

เมื่อ rtt แทน ค่าความเชือ่ มั่นของแบบทดสอบ

N แทน จำนวนข้อ

P แทน สดั ส่วนของคนทำถกู ในแต่ละข้อ

q แทน สดั สว่ นของคนทำผิดในแตล่ ะข้อ เท่ากบั 1- p

Si2 แทน ความแปรปรวนของของคะแนนทัง้ ฉบบั

สถิตทิ ใี่ ช้ในการทดสอบสมมตฐิ าน 3.1 ทดสอบความแตกต่างระหวา่ งคะแนนเฉล่ยี กอ่ นและหลังจัดการเรยี นรู้ซ่อมเสริมแบบสังคมแห่งการ เรียนรู้ เรอื่ ง ค่าคงทขี่ องสมดุลเคมีนกั เรยี นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 สายวทิ ย์-คณิต

โดยใช้

t – test (กุศยา แสดงเดช. 2545 : 22)

สูตร t= D เม่ือ D N  D 2 − ( D)2

N −1

แทนผลบวกของผลต่างของคะแนนคร้งั หลังกับคะแนนครง่ึ แรก

 D2 แทนผลบวกของค่ากำลงั สองของผลตา่ งของคะแนนครัง้ หลงั กบั คะแนน

ครงั้ แรกของแตล่ ะคน

(D)2 แทนคา่ กำลังสองของผลบวกของผลต่างของคะแนนครง้ั หลงั กับคะแนน ครง้ั แรกของแต่ละคน

N แทนขนาดของกลมุ่ ตัวอย่าง

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล

1. การวิเคราะห์คะแนนจากการทดสอบกับแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น 1.1 นำผลคะแนนจากการทดสอบก่อนและหลังเรียนซ่อมเสริมแบบสงั คมแห่งการเรยี นรู้ของ

นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 สายวทิ ย์-คณติ โดยนำผลการเยนแยกเป็นห้องแล้วนำมารวมกันหาคา่ เฉล่ยี กอ่ น นำไปทดสอบหาความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนเฉลีย่ กอ่ นและหลงั จัดการเรยี นรู้ซ่อมเสริมแบบสังคมแห่งการ เรยี นรู้ เรื่อง ค่าคงทีข่ องสมดุลเคมนี ักเรยี นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 สายวิทย์-คณิต

ตาราง 1 แสดงผลคะแนนนกั เรียนก่อนเรยี น-หลังเรียนซ่อมเสริมแบบสังคมแห่งการเรียนรู้ของนักเรยี น มัธยมศึกษาปีท่ี 5 สายวทิ ย์-คณติ

คะแนนนักเรยี นในแตล่ ะห้อง

คนที่ 5/6(20) 5/7(20) 5/8(20) 5/9(20)

กอ่ น หลงั ก่อน หลัง กอ่ น หลงั ก่อน หลัง

1 8 12 5 15 5 11 8 18

2 7 15 4 14 6 12 7 17

3 5 16 7 15 8 14 9 15

4 8 17 8 17 8 15 8 16

5 6 12 8 16 7 14 7 14

6 9 15 8 15 7 14 10 14

7 4 14 9 19 8 14 8 14

8 5 14 7 18 8 18 9 15

9 4 15 4 17 9 14 7 15

10 4 12 7 15 7 15 8 18

11 5 11 8 14 4 15 7 17

12 5 14 8 15 8 18 9 17

13 8 17 9 18 8 17 7 15

14 9 18 4 12 8 16 8 18

15 7 15 5 11 7 16 9 15

16 7 14 8 18 8 16 - -

17 4 18 5 10 9 18 - -

18 7 15 4 10 7 15 - -

ตาราง 1 ตอ่ แสดงผลคะแนนนักเรยี นก่อนเรียน-หลังเรยี นซ่อมเสรมิ แบบสงั คมแห่งการเรียนรขู้ องนักเรียน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 สายวิทย์-คณิต

คะแนนนักเรยี นในแตล่ ะหอ้ ง

คนท่ี 5/6(20) 5/7(20) 5/8(20) 5/9(20)

กอ่ น หลัง กอ่ น หลัง กอ่ น หลงั ก่อน หลงั

19 7 15 7 15 4 15 - -

20 8 14 8 12 7 17 - -

21 6 14 - - - -

22 8 14 - - - -

23 9 16 - - - -

24 7 18 - - - -

25 7 16 - - - -

รวม 164 371 133 296 135 304 129 238

เฉลย่ี 6.56 14.54 6.65 14.80 6.75 15.20 8.60 15.87

จากตาราง 1 แสดงผลคะแนนนักเรียนที่ไดจ้ ากการทดสอบดว้ ยแบบทดสอบจำนวน40 ข้อคะแนน เต็ม 20 คะแนน นำไปทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นซ่อมเสรมิ แบบสงั คมแหง่ การเรียนรขู้ องนักเรียนมธั ยม ศึกษาปีท่ี 5 สายวิทย์-คณิต แลว้ นำมาหาค่าเฉล่ียของแต่ละห้องปรากฎว่าคะแนนเฉลี่ยระหว่างก่อนเรยี นกับ หลังเรยี นขอแตล่ ะห้องมีคะแนนที่แตกตา่ งกันโดยคะแนนเฉล่ียหลังเรยี นของทกุ ห้องนนั้ มีค่ามากกว่าอยา่ ง ชดั เจน

1.2 นำผลคะแนนนักเรยี นก่อนเรยี น-หลงั เรยี นซอ่ มเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรียนรขู้ องนักเรียน มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 สายวทิ ย์-คณติ ของแตล่ ะห้องมาวิเคราะหน์ ำไปทดสอบหาความแตกต่างระหว่างคะแนน เฉล่ียกอ่ นและหลังจัดการเรยี นรู้ซ่อมเสรมิ แบบสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ เรื่อง ค่าคงท่ีของสมดลุ เคมนี ักเรยี น มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 สายวทิ ย์-คณติ

ตาราง 2 แสดงผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียก่อนเรียน-หลงั เรยี นซ่อมเสรมิ แบบสังคมแหง่ การเรยี นรู้ของ นกั เรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 5สายวิทย์-คณิต

หอ้ งนกั เรยี น N คะแนนก่อน คะแนนหลงั t- test เรยี น เรียน 5/6 25 14.70** 5/7 20  S.D.  S.D. 20.13** 5/8 20 6.56 1.38 14.54 1.21 19.08** 5/9 15 6.65 1.89 14.80 1.25 22.36** รวม 80 6.75 1.93 15.20 1.24 20.45** 8.60 1.09 15.87 1.20 7.14 1.57 15.10 1.22

จากตาราง 2 นำผลคะแนนเฉลย่ี ก่อนเรียน-หลงั เรยี นซ่อมเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรียนรู้ของนักเรยี น มัธยมศึกษาปที ี่ 5สายวทิ ย์-คณติ มาเปรียบเทยี บดว้ ยสถติ ิ t-test ปรากฏว่า ห้อง ม.5/6 มีคา่ t – test เทา่ กับ 14.70** นกั เรยี นหอ้ งม.5/7มีคา่ t – test เทา่ กับ 20.13** นักเรยี นหอ้ งม.5/8มีค่า t – test เท่ากบั 19.08** นักเรียนหอ้ งม.5/9มีค่า t – test เทา่ กับ 22.36** ซ่ึงทุกห้องท่ีได้รับการเรียนซอ่ มเสรมิ แบบสงั คมแหง่ การ เรียนรู้เมอื่ เปรียบเทยี บคา่ เฉล่ียก่อนเรียนหลังเรียนมีความแตกต่างต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่.01 และ เมอื่ นำคะแนนมารวมกนั ของนักเรียนท้ังหมด 80 คนมาเปรยี บเทยี บคะแนนก่อนเรยี น-หลงั เรยี นมคี า่ คะแนน เฉลยี่ ท่ีแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติที่ .01

2. วเิ คราะห์การใชเ้ คร่ืองมือวดั ความพงึ พอใจในการจดั การเรยี นรู้ซ่อมเสรมิ แบบสงั คมแห่งการเรยี นรู้ เรอื่ ง คา่ คงทีข่ องสมดลุ เคมนี ักเรยี นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 สายวิทย์-คณิต โดยนำแบบสอบถามท่ผี ู้วจิ ัยได้สรา้ ง ข้ึนมาวัดความพงึ พอใจหลังจากการจดั การเรียนซ่อมเสริมแบบสงั คมแห่งการเรียนรู้ ได้ผลดงั น้ี

ตาราง 3 แสดงผลความพงึ พอใจของนกั เรียนต่อการจดั การเรียนรูซ้ ่อมเสรมิ แบบสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ของ

นกั เรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 5 สายวทิ ย์-คณิต

รายการ N ผลการวเิ คราะห์ ความหมาย 1. รูปแบบการเรยี นซ่อมเสรมิ แบบสังคมแหง่ การเรยี นรู้ของ  S.D. ความพงึ พอใจ

80 4.10 0.57 ระดบั มาก

นกั เรียนมธั ยมศึกษาปีที่ 5สายวทิ ย์-คณิต

2. วิธีสอนซ่อมเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรียนรู้ของ นกั เรียน 80 4.36 0.96 ระดบั มาก

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5สายวทิ ย์-คณิต

3. นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการทากจิ กรรมกลมุ่ 80 4.46 0.63 ระดบั มาก

4. นักเรียนทากิจกรรมด้วยตนเองโดยมีครูเป็นผู้อานวย 80 4.63 0.71 ระดบั มาก

ความสะดวก ท่สี ดุ

5. นกั เรยี นสรา้ งชนิ้ งานไดจ้ ากการทากจิ กรรมกลมุ่ 80 4.50 0.73 ระดบั มาก

ท่สี ดุ

6. นกั เรยี นมีทกั ษะในการปฏิบตั ิงานมากขนึ้ 80 4.60 0.56 ระดบั มาก

ท่สี ดุ

7. นกั เรยี นเขา้ ใจเนอื้ หาการคิดคานวณคา่ คงท่ีของสมดลุ 80 4.53 0.62 ระดบั มาก

ท่สี ดุ

8. นกั เรียนสามารถนาวธิ ีการ กระบวนการไปใชใ้ น 80 4.53 0.86 ระดบั มาก

ชวี ติ ประจาวนั ท่สี ดุ

9. การวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 80 3.50 1.00 ระดบั มาก

10. การเรียนรู้ซ่อมเสริมแบบสังคมแห่งการเรียนรู้ของ 80 3.80 0.81 ระดบั มาก

นักเรยี นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5สายวทิ ย์-คณิตเกิดผลการเรียนดีขนึ้

จากตาราง 3 แสดงผลความพงึ พอใจของนกั เรยี นตอ่ การจดั การเรียนรูซ้ ่อมเสรมิ แบบสงั คมแห่งการ เรยี นรู้ของนักเรยี นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 สายวทิ ย์-คณิตผลการวิเคราะห์ข้อมลู มีค่าเฉล่ยี ของแต่ละประเดน็ ตง้ั แต่ 3.50 ถึง 4.63 โดยประเดน็ ท่ีมีคา่ ความพึงพอใจของนักเรียนนอ้ ยท่สี ุดคือ การวดั ผลการประเมินผลการ เรียนรู้ ทค่ี ่าเฉลีย่ ท่ี 3.50 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 1.00 อยใู่ นเกณฑร์ ะดับมาก และค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจมากที่สดุ คือ นกั เรยี นทากจิ กรรมดว้ ยตนเองโดยมีครูเป็นผูอ้ านวยความสะดวก ม่ีคาเฉลย่ี 4.63 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.71 อยใู่ นเกณฑ์ระดับมากทส่ี ุด

สรุปผลและอภปิ รายผล การจดั การเรยี นรู้ซ่อมเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรียนรู้ เรือ่ ง คา่ คงที่ของสมดลุ เคมนี ักเรยี นมธั ยมศกึ ษา

ปีที่ 5 สายวิทย์-คณติ เพือ่ เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นก่อน-หลังจัดการเรียนร้ซู ่อมเสริม แบบสงั คมแห่งการเรียนรู้เรื่องค่าคงที่สมดุล นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 5 สายวทิ ย์-คณติ โรงเรียนหาดใหญ่รัฐ ประชาสรรค์ ปรากฏว่า คะแนนนักเรียนทีไ่ ดจ้ ากการทดสอบดว้ ยแบบทดสอบจำนวน 40 ข้อคะแนนเต็ม 20 คะแนน นำไปทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นซ่อมเสริมแบบสงั คมแห่งการเรยี นรขู้ องนักเรียนมัธยม ศกึ ษาปีท่ี 5 สายวิทย์-คณิต แลว้ นำมาหาค่าเฉลี่ยของแตล่ ะห้องปรากฎวา่ คะแนนเฉลีย่ ระหว่างก่อนเรยี นกบั หลงั เรยี นของนักเรียนแต่ละห้องมีคะแนนทีแ่ ตกต่างกัน โดยคะแนนเฉลย่ี หลังเรียนของทกุ ห้องน้ันมีคา่ มากกวา่ อย่างชัดเจน และเมอ่ื นำผลคะแนนเฉล่ียก่อนเรียน-หลังเรยี นซอ่ มเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรียนร้ขู อง นักเรยี นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 สายวทิ ย์-คณติ มาเปรยี บเทียบด้วยสถิติ t-test ปรากฏวา่ หอ้ ง ม.5/6 มีคา่ t – test เทา่ กับ 14.70** นกั เรยี นห้องม.5/7มคี ่า t – test เทา่ กบั 20.13** นกั เรียนห้องม.5/8มีคา่ t – test เทา่ กบั 19.08**นกั เรยี นห้องม.5/9มีคา่ t – test เท่ากับ 22.36** ซึง่ ทกุ ห้องทีไ่ ดร้ ับการเรียนซ่อมเสรมิ แบบ สังคมแห่งการเรยี นรู้เม่ือเปรียบเทียบคา่ เฉล่ียก่อนเรียนหลังเรยี นมีความแตกตา่ งต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทาง สถติ ิท.ี่ 01 และเมื่อนำคะแนนมารวมกันของนักเรียนท้งั หมด 80 คนมาเปรียบเทียบคะแนนกอ่ นเรียน-หลงั เรียนมคี ่าคะแนนเฉล่ียทีแ่ ตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ .01

การศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นตอ่ จัดการเรยี นรซู้ ่อมเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรยี นรู้ เรอื่ งค่าคงทส่ี มดุล นักเรยี นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 สายวิทย์-คณิต โรงเรยี นหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ ปรากฏวา่ ความพงึ พอใจของนกั เรียนต่อการจดั การเรียนรูซ้ ่อมเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรยี นรู้ของนักเรยี นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 สายวิทย-์ คณติ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลมคี ่าเฉลี่ยของแตล่ ะประเดน็ ตั้งแต่ 3.50 ถึง 4.63 โดยประเดน็ ที่ มคี า่ ความพึงพอใจของนักเรียนน้อยทสี่ ุดคือ การวัดผลการประเมินผลการเรียนรู้ ทีค่ ่าเฉลี่ยที่ 3.50 ค่า เบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 1.00 อยูใ่ นเกณฑ์ระดับมาก และคา่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจมากที่สุดคอื นกั เรียนทา กิจกรรมดว้ ยตนเองโดยมีครูเป็นผอู้ านวยความสะดวก ม่ีคาเฉลยี่ 4.63 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.71 อย่ใู นเกณฑร์ ะดับมากที่สุด

อ้างอิง/บรรณานกุ รม

คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, สำนักงาน. (2548). พระราชบญั ญัติการศึกาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: บริษัทสยามสปอร์ต ชินคเคท จำกัด การวิจยั ในชนั้ เรยี นความหมาย ความสำคัญขั้นตอน : [ออนไลน]์ .เข้าถงึ จาก:

สวุ ิมล วอ่ งวาณชิ . เทคนิคการเขยี นรายงานการวิจยั ในช้นั เรยี น. ภาควชิ าวจิ ัยและจติ วิทยา การศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ระวีวรรณ พนั ธ์พานิช. เอกสารประกอบการสอน : แบบแผนเชงิ สถติ ขิ องการทดลอง. ภาควชิ า การวดั ผลและ วิจัยการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. 2540.

ลว้ น และอังคณา สายยศ. เทคนคิ การวจิ ัยทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ่งเสรมิ วิชาการ, 2540 ล้วน และองั คณา สายยศ. สถติ วิ ิทยาทางการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์ , 2540 วรชยั เยาวปราณี. โปรแกรมสําเร็จรปู ทางสถติ ิ สาํ หรับไมโครคอมพิวเตอร์ SPSS/PC+ ขัÊนกา้ วหน้า.

กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์, 2533 http://www.gotoknow.org/posts/488195 [2] การทำวจิ ยั ไมย่ ากอยา่ งที่คิด ครบู า้ นนอก

ดอทคอม http://210.1.20.40/~supervision/userfiles/10.pdf (วนั ทีส่ ืบคน้ 1 เมษายน 2556)

ภาคผนวก

1. แผนจดั การเรยี นรู้ 2. แบบฝกึ หดั การคดิ คำนวณ 3. แบบทดสอบเรอ่ื งคา่ คงที่ของสมดุลเคมี 4. คะแนนผลการทดสอบ 5. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนการจดั การเรียนรูซ้ อ่ มเสรมิ แบบสังคมแห่งการเรยี นรู้ของ นักเรยี นมัธยมศึกษาปีที่ 5สายวทิ ย์-คณติ 7. ประวัติโดย่อของผ้วู จิ ยั

ภาคผนวก

แผนการจัดการเรยี นรู้ซอ่ มเสริม

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ วิชา เคมีเพม่ิ เติม 3 (ว30223) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เร่ือง คา่ คงทสี่ มดลุ กับสมการเคมี ผสู้ อน นายบุญสนทิ ย่ิงกลุ มงคล ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561

จำนวนหนว่ ยกติ 1.5 หน่วยกิต เวลา 6 ช่ัวโมง

(ใช้เวลานอกเวลาเรียนตามปกต)ิ

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการ และธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร การ

เกิดสารละลาย การเกิดปฏิกริ ยิ า มีกระบวนการสืบเสาหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิง่ ที่เรียนรู้ และ

นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้

แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ่เี กดิ ข้นึ สว่ นใหญ่มีรูปแบบทแี่ น่นอน สามารถอธิบาย และตรวจสอบ

ได้ภายใตข้ อ้ มลู และเคร่ืองมือท่ีมีอยู่ในชว่ งเวลานน้ั ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิง่ แวดล้อม

มีความเกีย่ วขอ้ งสมั พันธ์กัน

2. ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการ

เกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลบั 2. คำนวณค่าคงทสี่ มดุลของปฏกิ ริ ยิ า

3. สาระสำคญั ค่าคงที่สมดุลเป็นอัตราส่วนระหว่างผลคูณความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับผลคูณความเข้มข้นของสาร

ตั้งต้น ณ ภาวะสมดุล ทำให้สามารถนำค่าคงที่สมดุลไปใช้คำนวณหาความเข้มข้นของสารต่างๆ ได้ และถ้า ทราบความเขม้ ขน้ ของสารแต่ละชนดิ ทอ่ี ยใู่ นภาวะสมดลุ กส็ ามารถคำนวณหาค่าคงทีส่ มดุล

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ความเข้าใจ (K) 1. คำนวณค่าคงทสี่ มดลุ ของปฏกิ ิรยิ าที่กำหนดได้ 4.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) 1. ทกั ษะการสบื ค้นข้อมูล 2. ทักษะการอธิบาย และอภิปรายขอ้ มลู 3. ทกั ษะการคำนวณ 4. ทกั ษะการตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป 5. ทักษะกระบวนการกลมุ่ 4.3 ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) 1. ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ 2. มีวนิ ัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ

5. สาระการเรยี นรู้ 5.1. การคำนวณค่าคงทีส่ มดลุ ของปฏกิ ิริยา

6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ ที่ 1 ศกึ ษาเอกสารทเี่ ก่ียวข้อง - ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับชุมชนการเรียนรู้ - เอกสารจิตวทิ ยาการเรียนรู้ - ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรยี น - แบบฝกึ ทักษะการคิดคำนวณค่าคงท่ีของสมดลุ ข้ันที่ 2 วเิ คราะหผ์ ู้เรียนและเนอ้ื หาที่เรยี น

- ทดสอบก่อนเรียน - ศึกษาความสามารถในการเรียนรู้ ทางสังคมของผู้เรยี น แบง่ นักเรียนออกเปน็ กลมุ่ เล็ก

ประมาณ 4-5 คน - วิเคราะห์เนอื้ หาความยากง่ายหนว่ ยของเรื่องคา่ คงท่ีของสมดลุ - แบ่งเนื้อหานักเรียนให้รับผิดชอบรปู แบบการคดิ คำนวณค่าคงทเ่ี พอ่ื ไปศึกษาดว้ ยตนเอง

ให้เกิดความชำนาญ ข้ันที่ 3 สรา้ งชมุ ชนการเรยี นรขู้ นาดเลก็

- นักเรียนในกลุม่ เลือกกำหนดหนา้ ท่ขี องสมาชิกภายในกลุ่ม - นักเรียนกลมุ่ กลุม่ เลก็ ท่ีได้รบั ผิดชอบหัวข้อย่อยโจทย์การคิดคำนวณรูปแบบตา่ งๆ โดยมี

นกั เรยี นกลุ่มเกง่ ชว่ ยอธิบายโดยใช้แบบฝกึ ทักษะการคดิ คำนวณ ใหเ้ ข้าใจ - นกั เรยี นในกลมุ่ เดียวกันมาพูดคยุ เนอื้ หาที่ตนได้ไปศึกษาดว้ ยตนเองและวิเคราะหส์ ภาพ

ของกลุ่มวา่ มคี วามเข้าใจเนื้อหาสาระการคดิ คำนวณเร่ืองค่าคงท่ี ท่ีได้ศึกษามาระดับใด ขน้ั ที่ 3 การพัฒนาชุมชนการเรียนรขู้ นาดเล็กโดยครูผู้สอน

- นักเรียนกลมุ่ ขนาดเล็กมาพูดคยุ เกย่ี วกบั ปญั หาความไมเ่ ข้าใจในการคิดคำนวณเรื่อง คา่ คงท่ี และพน้ื ฐาน ปัญหาอปุ สรรคตา่ งๆ ของสมาชิกในกลมุ่ กับครูผู้สอน

- นักเรยี นกลมุ่ ขนาดเล็กพบครูท่ีปรึกษารว่ มพดู คุยแลกเปลย่ี นเน้ือหาความรโู้ ดยครูทำ หน้าทใ่ี ห้คำปรึกษาและแก้ไขความไม่เข้าใจพร้อมทั้งเสรมิ ความรเู้ นื้อหาเกี่ยวกับการคดิ คำนวณแบบทน่ี ักเรียนได้รับผิดชอบ จนเกิดความชำนาญ

- ข้ันท่ี 4 วางแผนเพื่อลงสูช่ ุมชนขนาดใหญ่

- นักเรียนในกลุม่ ประชมุ ระดมความคดิ เพ่ือหาวธิ กี ารอธิบายกลุ่มเพ่ือนกลุ่มอนื่ ๆในรูปแบบ การคิดคำนวณของเรา เพ่ือนำความรทู้ ่ีได้ ส่กู ลุ่มอนื่ ๆท้งั ห้อง

- เตรียมอุปกรณ์ ฝกึ ซ้อม กำหนดหนา้ ที่ลงสกู่ ลุ่มตา่ งๆในห้องเรยี น ขั้นที่ 5 ลงสชู่ ุมชนขนาดใหญ่

- กลมุ่ นกั เรียนขนาดเล็กที่รบั ผิดชอบเนือ้ หาโจทย์การคิดคำนวณเรอื่ งคา่ คงที่ของสมดุลสง่ ตวั แทนกระจายไปยังกล่มุ เลก็ ในหอ้ งเพื่ออธิบายโจทยข์ องตนเอง

- ตวั แทนกลมุ่ เป็นผ้นู ำการพูดคุยเนอื้ หาทตี่ นรับผิดชอบตามกรอบทีก่ ำหนดไวใ้ นกลุม่ - พดู คยุ ซกั ถาม อภปิ ราย ทำกิจกรรมในกลุ่มย่อยตามเวลาท่กี ำหนด - เมอ่ื กลมุ่ ท่ี 1 เสรจ็ กเ็ ปล่ียนกระจายกลมุ่ ท่ี 2 ลงไปสู่กลุม่ อื่นๆเพอื่ เลือกเปลย่ี นความรู้ที่

ไดม้ า ขน้ั ที่ 6 ชมุ ชนขนาดใหญ่รว่ มกันสรปุ

- เมือ่ นกั เรียนทกุ กลมุ่ ได้แลกเปลย่ี นเรยี นร้คู รบทุกข้อในหน่วยสมดลุ เคมเี ร่ืองคา่ คงท่ขี อง สมดุล

- นกั เรียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาทไี่ ด้เรียนรู้มาโดยครดู ำเนินการอภิปราย ตอบขอ้ สงสยั พร้อม ท้ังเพ่ิมเตมิ เน้ือหาทยี่ ังไมส่ มบูรณ์

ขัน้ ที่ 7 ประเมนิ ผล

- นักเรียนรบั แบบฝึกทักษะการคิดคำนวณเรื่องค่าคงท่ีของสมดุล ไปฝกึ อีกรอบเพื่อให้ เกดิ ความชำนาญ โดยครใู ห้คำแนะนำเพิ่มเติม

- นำแบบทดสอบผลการเรียนรู้เร่ืองคา่ คงท่ีของสมดุล ทดสอบหลงั เรียนเพื่อดู ความก้าวหนา้

ข้นั ท่ี 8 รายงานผล - นำผลท่ไี ดจ้ ากแบบฝกึ ทักษะการคิดคำนวณมาวิเคราะหเ์ พื่อทกั ษะการคิดคำนวณของ นักเรยี น เมอ่ื หลงั จัดกาเรยี นรู้ - นำขอ้ มลู จากการทดสอบมาวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนการคำนวณ ค่าคงท่ีของสมดุล กอ่ น-หลังด้วยค่าสถิติ - จดั ทำรายงานผลการดำเนินการกับผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง

7. สื่อ / แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบฝกึ ทกั ษะการคดิ คำนวณ 2. เอกสารประกอบการเรยี น เรื่อง สมดุลเคมี 3. Power point ประกอบการสอน เร่ือง ค่าคงท่ีสมดุลกับสมการเคมี

8. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวดั ผลประเมินผลด้าน จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารผา่ น

1. ด้านความรูค้ วามเข้าใจ 1. คำนวณค่าคงที่สมดุล 1. แบบฝกึ หัด เร่อื ง ผา่ นเกณฑ์ 70%

ของปฏกิ ิริยาที่กำหนดได้ ค่าคงที่สมดุลกับ

สมการเคมี

2. การตอบคำถาม

มสี ว่ นร่วมในช้ันเรยี น

2. ด้านทกั ษะกระบวนการ 1. ทกั ษะการสบื ค้น 1. แบบฝกึ หดั เร่อื ง ผ่านเกณฑ์ 70% ข้อมลู ค ่ า ค ง ท ี ่ ส ม ด ุ ล กั บ

2. ทักษะการอธบิ าย สมการเคมี และอภปิ รายข้อมูล 2. การตอบคำถาม 3. ทกั ษะการคำนวณ มีสว่ นรว่ มในช้นั เรยี น 4. ทกั ษะการ ตีความหมายข้อมูล และ ลงขอ้ สรุป

5. ทกั ษะกระบวนการ กลุ่ม

3. ด้านคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึง 1. มวี ินัย 1. แบบประเมนิ อยูใ่ นระดับดขี นึ้

ประสงค์ 2. ใฝเ่ รียนรู้ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ไป

3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน ประสงค์

9. บนั ทึกหลังการสอน ผลการเรยี นรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ปญั หา/อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................... .................................... ...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแกป้ ัญหา ..................................................................................................................................................................... ......... .......................................................................................................................... .................................................... .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................... .................................................... ........................................................................................................ ข้อเสนอแนะจากครูพ่เี ลีย้ ง .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ..................................... ..................................................................................................................................................

ลงช่อื .................................................

(คุณครูบุญสนทิ ยงิ่ กลุ มงคล)

ครผู สู้ อน

วันท.่ี .....เดอื น.....................พ.ศ ..........

แบบฝึ กหัดการคดิ คานวณค่าคงทส่ี มดุล

ปฏิกิริยาท่ีผนั กลบั ได้ ไม่วา่ จะเริ่มตน้ จากสารต้งั ตน้ ท่ีมีความเขม้ ขน้ เทา่ ใดก็ตาม ถา้ ระบบเขา้ สู่ภาวะ สมดุลความเขม้ ขน้ ของสารตา่ ง ๆในระบบจะมีคา่ คงที่

จากการศึกษาปฏิกิริยาที่ภาวะสมดุลและการเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารในปฏิกิริ ยา กลุ เบอร์ก (C.M. Guldberg) และเวเก (P. Waage) ไดค้ น้ พบกฎของสมดุลเคมีวา่ ณ อณุ หภูมิคงท่ี อตั ราส่วน ระหวา่ งผลคณู ความเขม้ ขน้ ของผลิตภณั ฑก์ บั ผลคูณความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ จะมีคา่ คงท่ี เมื่อความเขม้ ขน้ ของแต่ละสารมีเลขยกกาลงั เท่ากบั เลขสมั ประสิทธ์ิแสดงจานวนโมลของสารน้นั ในสมการเคมีท่ีสมดุลแลว้ และเรียกอตั ราส่วนน้ีวา่ ค่าคงท่สี มดุล(Equilibrium constant : K)

กาหนดสมการทวั่ ไปดงั น้ี aA + bB cC + dD ค่าคงที่สมดุลคือ

หน่วยค่าคงที่สมดุลเป็นอะไรก็ไดข้ ้ึนอยกู่ บั อตั ราส่วนระหว่างผลคูณความเขม้ ขน้ ของผลิตภณั ฑก์ บั

ผลคูณความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ และบางปฏิกิริยาคา่ คงที่สมดุลอาจไม่มีหน่วยกไ็ ด้

ในกรณีท่ีสมดุลในสารละลายมีแก๊สเขา้ ทาปฏิกิริยาดว้ ย เราสามารถใชค้ วามเขม้ ขน้ ของสารละลาย

กบั ความดนั แกส๊ ในสมการคา่ คงท่ีสมดุลปนกนั ได้ เช่น

2 Fe3+(aq) + H2(g) 2 Fe2+(aq) + 2 H+(aq)

เขียนค่าคงที่สมดุลไดด้ งั น้ี

K= [Fe2+]2[H+]2 [Fe3+]2PH2

ในสมดลุ ววิ ิธภณั ฑ์ ซ่ึงมีของแขง็ หรือของเหลวอย่รู วมกบั แกส๊ เช่น

CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)

สมดุลประเภทน้ีเราจะไม่นาของแข็งมาคิดในสมการค่าคงท่ีสมดุล ใหถ้ ือความเขม้ ขน้ ของของแขง็ มีค่าคงที่ ดงั น้นั จึงเขียนคา่ คงที่สมดุลของปฏิกิริยาน้ีไดด้ งั น้ี

Kc = [CO2] หรือ Kp = PCO2

ในปฏิกิริยาท่ีสมดุล CH4(g) + 4 Cl2(g) CCl4(l) + 4 HCl(g)

สมดุลประเภทน้ีเราก็จะไม่นาของเหลวมาคิดในสมการค่าคงท่ีสมดุลเช่นกนั ให้ถือว่าของเหลวบริสุทธ์ิมี

ความเขม้ ขน้ คงท่ีเช่นเดียวกบั ของแขง็ ดงั น้นั จึงเขยี นค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาน้ีไดด้ งั น้ี

K= [HCl]4 [CH4][Cl2]4

ในสมดุลเอกพันธ์ ของสารละลายที่มีของเหลวปนอย่กู จ็ ะไม่นาความเขม้ ขน้ ของของเหลวมาคิดใน

สมการคา่ คงท่ีสมดุลเช่นกนั ดงั สมการ

[Cu(H2O)4]2+(aq) + 4 Cl-(aq) [CuCl4]2- (aq) + 4 H2O(l)

เขยี นสมการคา่ คงท่ีสมดุลไดด้ งั น้ี [[CuCl4]2-]

Kc =[[Cu(H2O)4]2+][Cl-]4

แบบฝึ กหดั การเขยี นค่าคงที่สมดลุ

1. PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl2 (g) K=

2. H2O (l) H+ (aq) + OH- (aq) K=

3. Pb2+ (aq) +Zn (s) Pb (s) + Zn2+ (aq)

K=

4. Cu (s) + 2Ag+ (aq) Cu2+ (aq) + 2Ag (s) K=

5. จงเขยี นสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีที่มีคา่ คงท่ีสมดุลต่อไปน้ี K = [NO2]2 [Cl2]

[NO2Cl]2

2NO2Cl (g) 2NO2 (g) + Cl2 (g)

3.2 ค่าคงทีส่ มดลุ กบั สมการเคมี 2 HI(g)

ปฏิกิริยาเคมีดงั สมการ H2(g) + I2(g)

K1 = -[-H[-H-2-]I-[]-I2-2]

ปฏิกิริยายอ้ นกลบั 2 HI(g) H2(g) + I2(g)

K2 = [-H[-H-2-]I-[]-I2-2-]

K1.K2 = [-H-[-H2-]-I[-]I-22-] . -[-H-[H-2-]-[I-I]-22] = 1

สรุปไดว้ า่ ผลคณู ของคา่ คงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาไปขา้ งหนา้ กบั คา่ คงที่สมดุลของปฏิกิริยายอ้ นกลบั

ในปฏิกิริยาเดียวกนั มีค่าเทา่ กบั 1

นอกจากน้ีในปฏิกิริยาเดียวกนั อาจเขยี นสมการท่ีดุลแลว้ ไดม้ ากกวา่ 1 สมการ เช่น

N2O4(g) 2 NO2(g) ; K1 = ([NO2]2)/[N2O4] ……….(1)

2 N2O4(g) 4 NO2(g) ; K2 = ([NO2]4)/([N2O4]2) ……….(2) จาก

สมการ(1) ยกกาลงั สองท้งั สองขา้ ง (K1)2 = ([NO2]4)/([N2O4]2) ……….(3) จาก

สมการ (2) และ (3) ; (K1)2 = K2

สรุปไดว้ า่ เมื่อคูณตวั เลขใดๆ ในสมการเคมีที่ดุลแลว้ ค่าคงที่สมดุลของสมการใหม่(K2) มีคา่ เทา่ กบั คา่ คงท่ี

สมดุลของสมการเดิม(K1) ยกกาลงั ดว้ ยตวั เลขท่ีนามาคูณ

ในบางปฏิกิริยาอาจเกิดจากปฏิกิริยายอ่ ยหลายข้นั ตอน เช่น

N2(g) + 2 O2(g) 2 NO2(g) ; K1 = ([NO2]2)/([N2][O2]2) ……….(1) มี

ข้นั ตอนการเกิด 2 ข้นั ตอน ดงั น้ี

N2(g) + O2(g) 2 NO(g) ; K2 = ([NO]2)/([N2][O2]) ……….(2) 2NO(g) + O2(g) สมการ(2) และ (3) 2 NO2(g) ; K3 = ([NO2]2)/([NO]2[O2]) ……….(3) จาก

K2 . K3 = ([NO]2)/([N2][O2]) . ([NO2]2)/([NO]2[O2])

\= ([NO2]2)/([N2][O2]2)

K2 . K3 = K1

สรุปไดว้ า่ ปฏิกิริยารวมที่เกิดจากปฏิกิริยายอ่ ยรวมกนั ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยารวม(K1) มี ค่าเทา่ กบั ผลคูณของค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยายอ่ ย (K2 และ K3)

ข้นั ตอนการหาค่าคงท่ีสมดุล 1. เขยี นสมการเคมี 2. ดุลสมการเคมี 3. ณ จุดสมดุล หาความเขม้ ขน้ ของผลิตภณั ฑ์ 4. ณ จุดสมดุล หาความเขม้ ขน้ ของ สารต้งั ตน้ ที่เหลือ 5. เขียนค่า K และแทนค่าความเขม้ ขน้ ของสารผลิตภณั ฑ์ และสารต้งั ตน้ ลงในสมการค่า K

โจทย์การหาค่าคงที่สมดลุ

ตัวอย่างท่ี 1 ปฏิกิริยา N2 + O2 2 NO มี K = 4.1 x 10-4 ท่ี 2000C ถา้ ความเขม้ ขน้ ท่ีสมดุลของ O2

และ NO เทา่ กบั 1.5 และ 0.02 M ตามลาดบั ความเขม้ ขน้ ของ N2 ที่สมดุลจะเป็น เทา่ ใด

วิธีทา คา่ คงท่ีสมดุลคอื Kc = [NO]2 [N2][O2]

ท่ีสมดุล [N2] = [NO]2 = (0.02)2 = 0.65 M Kc [O2] (4.1 ×10)-4 (1.5)

ตัวอย่างท่ี 2 ปฏิกิริยา 2SO2 (g) + O2 (g) 2SO3 (g) ซ่ึงเกิดในภาชนะขนาด 1 L เมื่อปฏิกิริยาเขา้ สู่

ภาวะสมดุล พบว่า ภายในภาชนะประกอบดว้ ย SO3 6 mol, SO2 0.2 mol และ O2 0.3 mol จง

คานวณหาคา่ คงที่สมดุล

วิธีทา K = [SO3]2 [SO2]2 [O2]

K = [0.2 [0.6 mol/L]2 mol/L]2 [0.3 mol/L]

K = 30 L/mol

ตัวอย่างท่ี 3 ปฏิกิริยา SO2 (g) + 1 O2 (g) SO2 (g) มีคา่ คงที่สมดุลเทา่ กบั 20.40 ที่ 700 ˚C จงหาหา 2 1 ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา SO3 (g) SO2 (g) + 2 O2 (g)

ตัวอย่างที่ 4 เม่ือเติม H2 (g) และ I2 (g) อยา่ งละ 0.5 mol ลงในภาชนะ 5 dm3 ที่อุณหภมู ิ 520 ˚C เม่ือระบบเขา้ สู่ภาวะสมดุล จากการวิเคราะห์ ภายในภาชนะประกอบดว้ ย HI (g) 0.06 mol จงคานวณหาคา่ คงท่ีสมดุล (K) สาหรับปฏิกิริยาน้ี

H2 (g) + I2 (g) 2HI (g)

จากสมการ HI 2 mol ไดจ้ าก H2 = 1 mol และ I2 = 1 mol HI 0.06 mol ไดจ้ าก H2 = 0.06 = 0.03 mol และ I2 = 0.06 = 0.03 mol 2 2

ดงั น้นั ท่ีภาวะสมดุลมี H2 และ I2 เหลืออยา่ งละ = 0.5 – 0.03 = 0.47 mol

ความเขม้ ขน้ ของ HI, H2 และ I2 ที่ภาวะสมดุลคือ

[HI] = 0.06 = 0.012 mol/dm3 [H2] = 5 0.47 = 0.094 mol/dm3 [I2] = 2

การคานวณหาความเขม้ ขน้ สารที่ภาวะสมดุลเพอื่ หาคา่ K สรุปไดด้ งั ตาราง

ภาวะ ปริมาณ H2 ปริมาณ I2 ปริมาณ HI หน่วย ที่เริ่มตน้ เปล่ียนแปลง สมดุล

แบบฝกึ หัด เรอื่ ง ค่าคงท่สี มดุลกบั สมการเคมี

1. จงเขียนคา่ คงทีส่ มดลุ ของปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้

ก. 2CO2 (g) 2CO (g) + O2 (g)

K=

ข. PbI2 (s) Pb2+ (aq) + 2I- (aq)

K=

ค. Cu (s) + 2Ag+ (aq) Cu2+ (aq) + 2Ag (s)

K=

2. ระบบหนึ่งประกอบด้วย PCl5 , PCl3 , Cl2 เมื่อทำการทดลองที่อุณหภูมิ 250 oC มีสมการดังนี้

PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl2 (g) ที่ภาวะสมดุลพบ PCl5 = 1.5 mol/dm3, PCl3 = 0.2 mol/dm3 และ

Cl2 เข้มขน้ 0.3 mol/dm3 จงหาคา่ คงทส่ี มดุล

วธิ ีทำ

ข้นั ท่ี 1 สมการ+ดลุ PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl2 (g) ข้นั ท่ี 2 สมดลุ .............. ……….... ……………. mol/dm3

ข้ันที่ 3 สตู ร K=

แทนคา่ K =

K=

ดังนน้ั คา่ คงท่สี มดุลของระบบนเ้ี ท่ากับ ………………………….

3. ค่าคงทส่ี มดุลของปฏิกริ ิยา H2 (g) + I2 (g) 2HI (g) เท่ากับ 9.0 ที่ 30˚C ณ ภาวะสมดลุ ทอี่ ุณหภูมิเดียวกัน

น้ี พบว่าในภาชนะขนาด 2 dm3 มีแกส๊ HI และแก๊ส H2 อยู่ 0.6 และ 0.4 mol ตามลำดับ จะมแี ก๊ส I2 อยู่กี่ mol/dm3

วิธีทำ K =

ณ ภาวะสมดุล [HI] = = ……………….. mol/dm3

[H2] = = ……………….. mol/dm3 \= แทนคา่

[I2] =

[I2] = ดงั น้นั จะมแี กส๊ I2 อยู่ …………………………………

4. จงคำนวณหาค่าคงท่สี มดลุ ของปฏกิ ริ ิยา A + 2B 2C เมื่อผสมสาร A 1.00 mol กับสาร B 1.50

mol ในภาชนะขนาด 2 dm3 พบวา่ ทภี่ าวะสมดลุ ความเข้มขน้ ของสาร C = 0.350 mol/dm3

วธิ ที ำ A + 2B 2C

ปรมิ าณสารเริม่ ตน้ (mol) …..…….. …………… ………….. …………… ………….. ความเข้มขน้ เร่ิมต้น (mol/dm3) …..…….. …………… ………….. …………… ………….. ความเขม้ ขน้ เปลย่ี นไป (mol/dm3) …..……..

ความเขม้ ข้น ณ ภาวะสมดลุ (mol/dm3 …..……..

K=

K=

K= ดงั นน้ั ค่าคงท่สี มดลุ ของปฏิกิรยิ าน้เี ท่ากับ ……………………..

K = [HI]2 [H2][I2]

K = (0.012 mol/dm3)2 (0.094 mol/dm3) (0.094 mol/dm3)

K = 1.63 × 10-2

ฉลยแบบฝกึ หดั เร่อื ง คา่ คงทีส่ มดลุ กบั สมการเคมี

1. จงเขียนคา่ คงทีส่ มดลุ ของปฏิกิรยิ าตอ่ ไปน้ี

ก. 2CO2 (g) 2CO (g) + O2 (g) ข. PbI2 (s) K = [CO]2 [O2]

[CO2]2

Pb2+ (aq) + 2I- (aq) K = [Pb2+] [I-]2

ค. Cu (s) + 2Ag+ (aq) Cu2+ (aq) + 2Ag (s)

K = [Cu2+] [Ag+]2

2. ระบบหนึ่งประกอบด้วย PCl5 , PCl3 , Cl2 เมื่อทำการทดลองที่อุณห ภูมิ 250 oC มีสมการดังน้ี

PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl2 (g) ที่ภาวะสมดุลพบ PCl5 = 1.5 mol/dm3, PCl3 = 0.2 mol/dm3 และ

Cl2 เข้มขน้ 0.3 mol/dm3 จงหาคา่ คงทสี่ มดุล

วิธที ำ

ข้ันท่ี 1 สมการ+ดลุ PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl2 (g) mol/dm3 ข้นั ท่ี 2 สมดุล 1.5 0.2 0.3

ขน้ั ที่ 3 สตู ร K = [PCl3][Cl2] แทนค่า [PCl5]

K = (0.2mol/dm3)(0.3 mol/dm3) (1.5 mol/dm3)

K = 0.04 mol/dm3

ดังนนั้ ค่าคงทีส่ มดลุ ของระบบนเี้ ท่ากบั 0.04 mol/dm3

3. ค่าคงทีส่ มดลุ ของปฏิกริ ยิ า H2 (g) + I2 (g) 2HI (g) เท่ากับ 9.0 ที่ 30˚C ณ ภาวะสมดุล ที่อณุ หภูมิเดียวกัน

น้ี พบวา่ ในภาชนะขนาด 2 dm3 มีแก๊ส HI และแก๊ส H2 อยู่ 0.6 และ 0.4 mol ตามลำดับ จะมแี กส๊ I2 อย่กู ี่ mol/dm3

วธิ ที ำ K = [ ][HI]2 = 0.9 ณ ภาวะสมดลุ [HI] = [H2] I2

0.6 mol= 0.3 mol/dm3

2 dm3

แทนคา่ [H2] = 0.4 mol= 0.2 mol/dm3 0.9 = 2 dm3

(0.3)2 (0.2) [I2]

[I2] = (0.3)2 (0.9) [0.2]

\= 0.05 mol/dm3 ดงั น้นั จะมีแก๊ส I2 อยู่ 0.05 mol/dm3

4. จงคำนวณหาคา่ คงที่สมดุลของปฏกิ ริ ยิ า A + 2B 2C เมื่อผสมสาร A 1.00 mol กับสาร B 1.50

mol ในภาชนะขนาด 2 dm3 พบวา่ ท่ภี าวะสมดุลความเข้มข้นของสาร C = 0.350 mol/dm3

วิธีทำ A + 2B 2C

ปรมิ าณสารเร่มิ ตน้ (mol) 1.00 1.50 0 0 ความเขม้ ขน้ เริ่มตน้ (mol/dm3) 0.500 0.750 0.350 0.350 ความเขม้ ข้นเปลี่ยนไป (mol/dm3) -0.175 -0.350

ความเขม้ ข้น ณ ภาวะสมดุล (mol/dm3) 0.325 0.400

K= [C]2

[A][B]2

K = (0.350)2 (0.325)(0.400)2

K = 2.36

ดังนน้ั คา่ คงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เทา่ กับ 2.36

โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ข้อสอบเรื่องค่าคงทขี่ องสมดุล ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 รหัสวชิ า ว30223 เคมเี พ่ิมเติม 3

คะแนนเต็ม 20 คะแนน เวลา 60 นาที

………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำชี้แจง

1. ข้อสอบมจี ำนวนท้ังหมด 40 ข้อ

2. ใหน้ กั เรยี นเลือก ก. ข. ค. ง. ข้อถกู ท่ีสดุ เพียงขอ้ เดยี ว

3. เวลาทใ่ี ช้ 60 นาที

........................................................................................................................ ..............................

ผลการเรยี นรู้

1. ทดสอบและอธบิ ายความหมายของปฏกิ ิริยาผันกลบั ได้และภาวะสมดุลเกดิ ปฏกิ ริ ิยาย้อนกลบั เมอื่ เรม่ิ ปฏกิ ริ ยิ าจนกระทงั่ ระบบอย่ใู นภาวะสมดุล ข้อ 1-5

1. ในการทดลองศึกษาภาวะทีท่ ำใหเ้ หล็กผุกร่อนงา่ ยนน้ั ถ้าสังเกตไม่เหน็ การเปล่ียนแปลงชดั เจนจะมวี ิธี ตรวจสอบไอออนของเหลก็ ว่าเกิดข้ึนหรือไม่โดยวิธใี ด ก. ใช้ K3Fe(CN)6 ถา้ สารละลายมีสีนำ้ เงนิ แสดงว่ามี Fe2+ ช. ใช้ K3Fe(CN)6 ถา้ สารละลายมีสีนำ้ ตาลแสดงวา่ มี Fe2+ ค. ใช้ Cu(NH3)4SO4 ถา้ สารละลายมสี นี ้ำตาลแสดงวา่ มี Fe2+ ง. ใช้ Cu(NH3)4SO4ถา้ สารละลายมีสีน้ำเงนิ แสดงว่ามี Fe2+

2. ข้อใดคือความหมายของภาวะสมดุลทถ่ี กู ต้อง ก. ภาวะทส่ี ารทกุ ชนดิ มคี วามเข้มขน้ เท่ากนั เสมอ

ข. ภาวะทีม่ ที งั้ ปฏกิ ริ ยิ าไปขา้ งหน้าและย้อนกลับ

ค. ภาวะที่สารผลติ ภัณฑม์ ีความเขม้ ข้นคงท่แี ละเทา่ กับความเขม้ ข้นของสารตั้งตน้ เสมอ

ง. ไม่มขี ้อใดกลา่ วถกู ต้อง

3. สมดลุ ไดนามิก หมายความว่า ณ ภาวะสมดลุ ก. การเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า และยอ้ นกลับดำเนนิ ต่อไป

ข. ระบบจะยงั มีสารตั้งต้น และผลิตภณั ฑ์

ค. ความเขม้ ข้นของสารตั้งต้น และผลติ ภัณฑ์มีค่าคงท่ี

ง. ความเข้มขน้ ของสารตั้งต้น และผลติ ภัณฑม์ คี ่าเทา่ กัน

4. พิจารณาวา่ ข้อความตอ่ ไปนข้ี ้อความใดถูกต้อง ก. ที่ภาวะสมดลุ ปรมิ าณของสารตั้งตน้ และปริมาณของผลติ ภณั ฑจ์ ะมีค่าเทา่ กนั

ข. การเพม่ิ ความเข้มขน้ สารตง้ั ต้น จะไม่ทำให้คา่ คงทีข่ องสมดุลเปล่ียนไป

ค. ระบบที่มีสมบัติคงที่ ย่อมอย่ใู นภาวะสมดุลเสมอ

ง. กอ่ นท่ีระบบจะถึงภาวะสมดุล จะมีเฉพาะการเปลย่ี นแปลงไปข้างหนา้ เท่านัน้

คำชีแ้ จง ขอ้ มูลต่อไปน้ีใช้ประกอบตอบคำถามข้อ 5 - 6

นำสารละลาย Fe(NO3)3 0.2 mol/l จำนวน 5 cm3 และสารละลาย NH4SCN 0.2 mol/l จำนวน 5 cm3 ผสมในบิกเกอร์ แล้วแบ่งเปน็ 4 สว่ นเทา่ ๆกนั บรรจุลงในหลอทดลองเท่ากัน 4 หลอด

หลอดท่ี 2 เติมสารละลาย Fe(NO3)3 0.2 mol/ อกี 2 หยด

หลอดท่ี 3 เติมสารละลาย NH4SCN 0.2 mol/l อีก 2 หยด หลอดท่ี 4 เติมสารละลาย Na2HPO4 0.2 mol/l อกี 2 หยด

ไดผ้ ลตามตาราง สารละลายทเ่ี ตมิ ลงไป ผลสงั เกตได้ หลอดที่ สารละลายสีแดง 1 Fe(NO3)3 สารละลายสีแดงเข้มข้นึ และคงที่ 2 NH4SCN สารละลายสแี ดงเขม้ ข้นึ และคงที่ 3 Na2HPO4 ไดต้ ะกอนสีขาวและสารละลายสีจาง 4

5. จากผลการทดลองสรุปได้วา่ Fe3+ + SCN- ก. ปฏกิ ริ ยิ าในหลอดท่ี 1 คือ FeSCN2+

ข. ปฏกิ ิรยิ า ระหว่าง NO3- กบั SCN- เป็นปฎกิ ริ ยิ าผันกลับได้ ค. การเตมิ Na2HPO4 เท่านน้ั ทำให้สมดุลเปลีย่ น ง. สารละลายทุกหลอดอย่ใู นสภาวะสมดุลท่ตี า่ งกัน

6. จากผลการทดลองในหลอดท่ี 4 สรุปไดว้ ่า ก. ตะกอนสีขาวคือตะกอน NaSCN

ข. สารละลายสจี างลงเพราะเกดิ ปฏกิ ิรยิ าย้อนกลบั มากขึน้

ค. การเกิดตะกอนสขี าวแสดงว่าคา่ K เพม่ิ ขน้ึ

ง. สารละลายสจี างลงแสดงว่าแสดงว่าค่า K ลดลง

ผลการเรยี นรู้

2. คำนวณค่าคงทส่ี มดุลของปฏกิ ริ ยิ า ข้อ 7-13

7. บรรจุ NH3 2 โมล ในภาชนะปิดขนาด 1.0 ลติ ร ที่ 650 C ทสี่ มดุล พบว่ามีก๊าซเหลอื อยู่ 70% คา่ K ของปฏกิ ิรยิ านเ้ี ปน็ เท่าใด

ก. 0.0041 2NH3(g)  N2(g) + 3H2(g) ข. 0.064

ค. 0.11 ง. 0.21

8. ปฏกิ ิริยา X(aq) + Y(aq)  2Z(aq) + A(aq) เมอ่ื นำสารละลาย X 0.010 mol/dm3 20 cm3 สารละลาย Y 0.020 mol/dm3 20 cm3 สารละลาย Z 0.040 mol/dm3 10 cm3

และสารละลาย A a mol/dm3 50 cm3 มาผสมกนั จะได้ระบบซึ่งอยใู่ นสภาวะสมดุลพอดี คา่ คงที่

ของสมดุลของปฎกิ ริ ิยานเี้ ทา่ กับ 0.14 จงหาค่า a

ก. 0.0175 mol/dm3 ข. 0.065 mol/dm3

ข. 0.0750 mol/dm3 ง. 0.085 mol/dm3

9. ปฏิกิริยา 2CO2(g)  2CO(g) + O2(g) ในภาชนะ 1 dm3 เร่ิมตน้ ด้วย CO2 1.0 mol เมือ่ ถึงภาวะสมดุล ท่อี ุณหภมู หิ น่งึ พบว่ามี O2 เกดิ ขึ้น 5.6 dm3 ท่ี STP ค่า k ของปฏิกริ ิยาน้เี ป็น

เท่าใด

ก. 0.12 ข. 0.25

ข. 0.50 ง. 0.75

10. ทภี่ าวะสมดุล สาร A ทำปฏกิ ิรยิ ากับสาร B ในอตั ราส่วน 1 ตอ่ 2 mol ได้สาร C 2 mol ถา้

ผสมสาร A 1.0 mol กบั สาร B 1.8 mol ในภาชนะ 2 dm3 เมื่อถงึ ภาวะสมดลุ ความเข้มขน้ ของ

C เป็น 0.81 mol/dm3 จงคำนวณคา่ คงทสี่ มดลุ

ก. 8.1 X 102 ข. 4.43 X 102

ง. 3.33 X 102 ง. 2.13 X 102

11. เมอื่ ผสมก๊าซ A และ กา๊ ซ B เขา้ ดว้ ยกนั ในภาชนะขนาด 500 cm3 ทีอ่ ุณหภมู ิ 70C เมื่อเขา้ สู่ ภาวะสมดุลพบว่ามีก๊าซ A, B และ C เท่ากับ 2, 2.5 และ 4 โมล ตามลำดับ จงคำนวณหา

ค่าคงที่สมดุลของปฏิกริ ยิ าท่ีกำหนดให้ A + 2B  2C

ก. 1.28 ข. 0.64

ค. 0.13 ง. 6.40

12. กำหนดสมการ SO2(g) + NO2(g)  SO3(g) + NO(g) และให้ความเข้มข้นเร่ิมต้นของ SO2 เป็น 0.5 mol/dm3 และ NO2 เปน็ 0.6 mol/dm3 เม่ือปฏิกิริยาสิ้นสุดลงมี NO2 เหลอื 0.2 mol/dm3 จงหาคา่ คงท่สี มดลุ

ก. 0.16 ข. 1.6

ค. 0.8 ง. 8.0

13. กำหนดคา่ คงทีส่ มดุลของปฏิกริ ยิ า Ag+(aq) + 2NH3(aq)  Ag(NH3)2+(aq) คอื 4.00 X 104 จง หาค่าคงที่สมดลุ ของปฏิกริ ิยาต่อไปนี้ ½Ag(NH3)2+(aq)  ½ Ag+(aq) + NH3(aq) ก. 0.5 ข. 0.008

ค. 0.005 ง. 0.08

ผลการเรียนรู้

3. คำนวณความเข้มข้นของสารท่ีภาวะสมดุล ขอ้ 14 -20

14. ปฏกิ ริ ยิ า A + 2B  C + D มีคา่ คงทขี่ องสมดลุ เป็น 1.0 X 104 เมอ่ื บรรจุ A 1.0

โมล และ B 3.0 โมล ลงในภาชนะขนาด 1 ลติ ร ปลอ่ ยใหเ้ ขา้ สู่สมดุล จงหาความเขม้ ข้นของ A ท่ี

สมดลุ เปน็ โมล/ลิตร

ก. 1.0 X 10-4 ข 5.0 X 10-3

ค. 2.0 X 10-2 ง. 3.2 X 10-2

15. ค่าคงท่ีของปฏกิ ิรยิ า XO กับ O2 เพื่อเกิดเป็น XO2 ท่ี 400 K มคี ่าเปน็ 1.0 X 10-4 ลติ ร/โมล

ถา้ บรรจุ XO 1.0 โมล และ O2 2.0 โมล ในภาชนะขนาด 1 ลิตร จงหาความเขม้ ข้น XO2 ท่ี

สมดุล

ก. 1.41 X 10-2 โมล/ลิตร ข. 1.14 X 10-2 โมล/ลติ ร

ค. 1.14 X 10-4 โมล/ลิตร ง. 2.0 X 10-4 โมล/ลิตร

16. ปฏกิ ริ ยิ า PCI3(g) + CI2(g)  PCI5(g) ในภาชนะขนาด 1 ลิตร มีความเข้มข้นทีส่ มดลุ

ของ PCI3, CI2 และ PCI5 เป็น 0.20, 0.10 และ 0.40 โมล ตามลำดบั เมอ่ื เพิ่มความเขม้ ขน้ ของ

CI2 อีก 0.1 โมล จงหาความเข้มข้นของ PCI5 ทส่ี มดุลใหม่ (หน่วย mol/l)

ก. 0.50 mol/l ข. 0.60 mol/l

ข. 0.70 mol/l ง. 0.80 mol/l

17. ปฏกิ ิรยิ า CI2(g)  2CI(g) มีค่า K = 1.21 X 10-16 ท่ี 1000 C ถา้ ใส่ I2 1.0 mol ใน ภาชนะขนาด1 dm3 ท่ีภาวะสมดลุ CI2 จะสลายตัวไปก่ี mol

ก. 1.1 X 10-3 ข. 1.21 X 10-6

ข. 1.1 X 10-6 ค. 5.5 X 10-4

18. ที่อุณหภูมิทก่ี ำหนดให้ ปฏกิ ริ ยิ า H2(g) + I2(g)  2HI(g) มีคา่ คงทสี่ มดุล K = 9.0 ทีอ่ ณุ หภมู นิ ้ี