บ านกองแขก อ.แม แจ ม จ.เช ยงใหม ภาษาอ งกฤษ

: Longdo provides neither warranty nor responsibility for any damages occured by the use of Longdo services. Longdo makes use of many freely available dictionaries (we are really grateful for this), please refer to their terms and licenses (see Longdo About page).

สามารถเขียนจดหมายถึงสถานกงสุลใหญ่ฯ พร้อมแนบซองและติดแสตมป์ โดยจ่าหน้าซองถึงตนเอง เพื่อสถานกงสุลใหญ่ฯ จะได้ดำเนินการส่งแบบฟอร์มไปให้ต่อไป

คำเตือน ผู้ใดทำเอกสารปลอมขึ้นทั้งฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วนใด เติม หรือตัดทอนข้อความ หรือแก้ไขด้วยประการใด ๆ ในเอกสารที่แท้จริง หรือประทับตราปลอม หรือลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น หรือประชาชน ถ้าได้กระทำเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารที่แท้จริง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานปลอมเอกสาร ต้องระหว่างโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

ผู้ใดกรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งมีลายมือชื่อของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอม หรือโดยฝ่าฝืนคำสั่งของผู้อื่นนั้น ถ้าได้กระทำเพื่อนำเอาเอกสารนั้นไปใช้ในกิจการที่อาจเกิดเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือประชาน ให้ถือว่าผู้นั้นปลอมเอกสาร ต้องระหว่างโทษเช่นเดียวกัน

บ านกองแขก อ.แม แจ ม จ.เช ยงใหม ภาษาอ งกฤษ

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

✍️ กำกึ๊ดกำปาก

✍️ กำกึ๊ดกำปาก

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

7,463 ไร่ พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 2,650 ไร่ และพื้นที่ป่า 4,319 ไร่ หรือดินในพื้นที่เพาะปลูกข้าวมีสมบัติไม่เหมาะสม

เชน่ มีความไม่สมดุลของธาตอุ าหารพืช บางชนิดมไี มเ่ พียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าว บางชนิดมมี ากจนเป็นพิษ ทำ ใหผ้ ลผลิตขา้ วลดลง นอกจากนี้เกษตรกรยงั ขาดความรู้การเกษตรหลายดา้ นท้ังดา้ นการปรับปรงุ บำรงุ ดนิ การดูแลรกั ษา การใช้ป๋ยุ และวิทยาการหลังการเก็บเก่ยี ว เป็นต้น นอกจากน้ีศตั รูพืชข้าวที่สูงยงั เป็นปัจจยั หนึ่งที่ทำให้ผลผลิตข้าวถูก ทำลาย โดยเฉพาะการเข้าทำลายเพลี้ยกระโดดหลังขาว และโรคไหม้ ทำให้ผลผลิตข้าวลดลง และมีการใช้สารป้องกัน กำจัดศัตรูพืชทางการเกษตรมากเกินความจำเป็น และใช้ไม่ถูกต้อง ทำให้เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากบนพื้นที่สงู เป็นป่าต้นน้ำลำธาร หากมีการลดการใช้สารเคมีลงไม่เพียงพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรบนพื้นที่สูง ยังมีผลดีต่อ ประชาชนพน้ื ราบอกี ดว้ ย และการขาดแคลนเมล็ดพันธ์ุดี ก็เป็นปจั จยั หนง่ึ ท่ีทำให้ผลผลติ ขา้ วลดลง

เพื่อแก้ปัญหาการปลูกข้าวดังกล่าวจึงควรมีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวที่สูงเฉพาะพื้นที่ใน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อยกระดับผลผลิตข้าวสร้างความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกร โดยมีแนวทางท่ี เหมาะสม คือ ถ่ายทอดองค์ความรู้เร่ือง ข้าว และจัดประชุมเพื่อเข้าใจถึงขอ้ จำกัดและปัญหาการผลิตข้าวในพื้นที่ และ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวของกรมการข้าว โดยการใช้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสม การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้ปุ๋ยชีวภาพ และการใช้เช้ือจุลินทรีย์ปฏิปกั ษเ์ พือ่ ปอ้ งกนั กำจัดโรคและแมลง รวมท้งั การผลติ เมล็ดพนั ธ์ุ และการจดั การขา้ วในชมุ ชน ในรูปแบบธนาคารข้าว โดยให้เกษตรกรคัดเลอื กเป็นแนวหนึ่งในในการพัฒนาการผลิตข้าวเพื่อใหเ้ กษตรกรบนพื้นที่สูง เกิดความมั่นคงด้านข้าว ซึ่งเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น จัดเป็นเทคโนโลยีที่เปิดโอกาสให้เกษตรกรและนักวิชาการของ กรมการข้าว ได้มีโอกาสรับรู้และทดลอง แลกเปลี่ยนความคิดในการคัดเลือกใช้เทคโนโลยีกรมการข้าวและภูมิปัญญา ท้องถิ่นของเกษตรกรร่วมกัน จนนำไปสู่เทคโนโลยีที่ไม่ขัดกับกิจกรรมเดิมหรือความเชื่อและวิถีชีวิตของชุมชน

2

วฒั นธรรมของกลมุ่ ชาติพันธ์ุ หรอื มลี กั ษณะทตี่ ้องการบางประการเฉพาะกบั กล่มุ ชาติพนั ธ์นุ ั้นๆ หรือไม่เปน็ เทคโนโลยีที่ ต้องพง่ึ พาอาศัยปจั จยั การผลิตภายนอกมากเกินไป หรืออาจนำไปสกู่ ารผสมผสานภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ของเกษตรกร หรือ นำไปปรับใช้ในนาที่สงู ของตนเอง เพอื่ ให้เกิดความมัน่ คงทางอาหาร โดยการยกระดับผลผลติ ขา้ วของเกษตรกรบนพ้ืนท่ี 1.2 วตั ถุประสงค์

  1. เพื่อให้ได้แนวทางบริหารจดั การข้าวใหช้ ุมชนในอำเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชียงใหมม่ ีความมั่นคงดา้ นอาหาร
  2. เพ่ือพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ ขา้ วเฉพาะพื้นที่แกเ่ กษตรกรและนวตั กร ชุมชนในอำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่
  1. เพ่ือใหไ้ ด้ตน้ แบบการผลติ และการจดั การขา้ วทสี่ งู ทีส่ ามารถยกระดบั ผลผลติ ขา้ วเฉพาะพ้ืนท่ีใน

อำเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ 1.3 ขอบเขตการดำเนนิ งาน

1.3.1 ขอบเขตดา้ นพื้นที่และกลุม่ เป้าหมาย การดำเนินงานของโครงการวิจัยนี้มุ่งเน้นการทำงานวิจัยร่วมกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในพื้นที่ 3 ชุมชน

และ 3 ตำบลในอำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ดงั แสดงในตารางท่ี 1.1

ตารางท่ี 1.1 กล่มุ เปา้ หมายและพน้ื ท่ีดำเนนิ การในอำเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่

ลำดับ ชุมชนเปา้ หมาย ตำบล อำเภอ จงั หวดั เชยี งใหม่ 1 บา้ นแม่ปาน ชา่ งเค่ิง แม่แจ่ม เชียงใหม่ เชยี งใหม่ 2 บา้ นกองกาน แมศ่ ึก แมแ่ จ่ม

3 บา้ นแม่นาจร แมน่ าจร แม่แจ่ม

1.3.2 ขอบเขตดา้ นประเด็นวิจัย จากลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและประเด็นงานวิจัย รวมถึงนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีการผลิตข้าวท่ี เหมาะสมของกรมการขา้ ว จงึ ได้กำหนดขอบเขตด้านประเดน็ วิจัยในแตช่ มุ ชนเปา้ หมายงั แสดงในตารางท่ี 1.2 ตารางท่ี 1.2 ปญั หา ประเด็นวจิ ยั และนวตั กรรม/เทคโนโลยที ่ใี ช้ในชมุ ชนเปา้ หมายในอำเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่

ลำดับ ชุมชนเป้าหมาย ปัญหา (Pain Point) ประเดน็ วจิ ัย เทคโนโลย/ี นวตั กรรมที่ใช้

1 บา้ นแม่ปาน การเข้าทำลายผลผลิตข้าว 1.การจัดการโรคและแมลง 1. การป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูข้าวตาม

ของศัตรูข้าวได้แก่ บั่ว เพล้ีย ศัตรขู า้ ว คำแนะนำของกรมการข้าวทั้งวิธีการใช้สารเคมี

กระโดดหลังขาว และโรคไหม้ 2.การปรับใช้และถ่ายทอด รวมทั้งการใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ และกับดัก

นอกจากนี้เกษตรกรใส่ เทคโนโลยีการผลิตข้าวท่ี กาวเหนียว เพื่อลดการใชส้ ารเคมีในพ้นื ท่ี

ปุ๋ยเคมีใส่ในช่วงเวลาที่ไม่ สงู เฉพาะพ้นื ท่ี 2.เทคโนโลยีการผลติ ขา้ วของกรมการข้าวในเรื่อง

เหมาะสม และใส่ในปริมาณ 3. การพัฒนาระบบการ การคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพ ข้าว และการ

มากเกินไป และการขาด สำรองข้าวภายในชุมชน ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน การปลูกปอเทือง

แคลนเมล็ดพนั ธุด์ ี โดยใชร้ ปู แบบธนาคารข้าว กอ่ นการปลูกขา้ วเพ่อื เปน็ ปุย๋ พชื สด

3. การผลติ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วเพอ่ื ใช้ภายในชมุ ชน

3

ตารางที่ 1.2 (ต่อ) ปญั หา (Pain Point) ประเดน็ วจิ ยั เทคโนโลย/ี นวตั กรรมที่ใช้

ลำดบั ชมุ ชนเปา้ หมาย การเข้าทำลายผลผลิตข้าว 1.การจัดการโรคและแมลง 1. การป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูข้าวตาม 2 บา้ นกองกาน

ของศัตรูข้าวได้แก่ เพล้ีย ศตั รขู า้ ว คำแนะนำของกรมการข้าวท้งั วิธีการใชส้ ารเคมี

กระโดดหล ั งขาว และ 2.การปรับใช้และถ่ายทอด 2.เทคโนโลยกี ารผลิตขา้ วของกรมการขา้ วในเรื่อง

เกษตรกรต้องการลดต้นทุน เทคโนโลยีการผลิตข้าวที่ การใส่ปยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดนิ

การผลติ ขา้ วลง สูงเฉพาะพื้นท่ี

3 บา้ นแมน่ าจร การเข้าทำลายผลผลิตข้าว 1.การจัดการโรคและแมลง 1. การป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูข้าวตาม

ของศัตรูข้าวได้แก่ หนอนหอ่ ศัตรขู ้าว คำแนะนำของกรมการข้าว รวมทั้งการใช้

ใบข้าว เพลย้ี กระโดดหลังขาว 2.การปรับใช้และถ่ายทอด เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ และกับดักกาวเหนียว

และโรคไหม้ เกษตรกรอยาก เทคโนโลยีการผลิตข้าวท่ี เพอื่ ลดการใช้สารเคมใี นพ้ืนที่

ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และ สูงเฉพาะพื้นที่ 2.เทคโนโลยีการผลิตขา้ วของกรมการข้าวในเรื่อง

เกษตรกรขาดแคลนเมล็ด 3. การพัฒนาระบบการ การคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพ ข้าว ร่วมกับ

พันธุ์ดี สำรองข้าวภายในชุมชน การใสป่ ยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน

โดยใช้รูปแบบธนาคาร 3. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อใช้ภายใน

ขา้ ว ชมุ ชน

1.4 กรอบการวิจยั การวิจัยในพืน้ ท่ีปลูกข้าวที่สูงในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มีเป้าหมายเพื่อยกระดับผลผลิตข้าว

สร้างความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกร โดยมีแนวทางที่เหมาะสม คือ ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง ข้าว และจัดประชุมเพื่อเข้าใจถึงข้อจำกัดและปัญหาการผลิตข้าวในพื้นที่ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าว ของกรมการข้าว โดยการใช้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสม การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้ปุ๋ยชีวภาพ และการใช้เชื้อจุลินทรีย์ ปฏิปักษ์เพื่อป้องกันกำจัดโรคและแมลง การปรับพื้นที่ปลูกสภาพไร่เป็นนาขั้นบันได รวมทั้งการปลูกพืช หมุนเวียน รวมทั้งการผลิตเมล็ดพันธุ์ และการจัดการข้าวในชุมชนในรูปแบบธนาคารข้าว โดยให้เกษตรกร คัดเลือกเป็นแนวหนึ่งในในการพัฒนาการผลิตข้าวเพื่อให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงเกิดความมั่นคงด้านข้าว ซึ่ง เทคโนโลยีใหมท่ ี่เกิดขึ้น จัดเปน็ เทคโนโลยที เ่ี ปิดโอกาสใหเ้ กษตรกรและนักวชิ าการของกรมการข้าว ได้มีโอกาส รับรู้และทดลอง แลกเปลี่ยนความคิดในการคัดเลือกใช้เทคโนโลยีกรมการข้าวและภูมิปัญญาท้องถิ่นของ เกษตรกรร่วมกัน จนนำไปสู่เทคโนโลยีที่ไม่ขัดกับกิจกรรมเดิมหรือความเชื่อและวิถีชีวิตของชุมชน วัฒนธรรม ของกลุ่มชาติพันธุ์ หรือมีลักษณะที่ต้องการบางประการเฉพาะกับกลุ่มชาติพันธุ์นั้นๆ หรือไม่เป็นเทคโนโลยีที่ ต้องพึ่งพาอาศัยปัจจัยการผลิตภายนอกมากเกินไป หรืออาจนำไปสู่การผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของ เกษตรกร หรือนำไปปรับใช้ในนาที่สูงของตนเอง เพื่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร โดยการยกระดับผลผลิต ข้าวของเกษตรกรบนพน้ื ทส่ี งู จงึ มีกรอบแนวคิดในการดำเนนิ งานวจิ ยั ดงั นี้

4

ขา้ วทีส่ งู ผลผลติ ข้าวไมเ่ พยี งพอต่อการบรโิ ภค

เกษตรกรบนพืน้ ทสี่ ูง การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยกี ารผลติ ขา้ วของกรมการข้าว วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อารกั ขาขา้ ว พันธุ์ขา้ วที่เหมาะสมกับพน้ื ท่ี ปยุ๋ เคมี ความเชอื่ การใช้เชอื้ จลุ ินทรีย์ปฏปิ ักษ์ การปรบั พ้นื ทส่ี ภาพไรเ่ ปน็ นาขน้ั บนั ได ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ป๋ยุ ชีวภาพ การปลกู พชื หมุนเวยี น การผลติ เมลด็ พันธุ์

สามารถยกระดบั ผลผลิตขา้ ว

การผลติ เมลด็ พันธุข์ ้าว การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเพมิ่ ผลผลิตขา้ วที่สงู เพือ่ ใช้ภายในชุมชน รับรู้ แลกเปลีย่ น ทดสอบรว่ มกัน

ธนาคารเมล็ดพนั ธุข์ า้ ว เทคโนโลยีทผี่ สมผสานระหวา่ งเทคโนโลยีการผลติ ขา้ วทสี่ ูงของ กรมการขา้ วกับเกษตรกร

ยกระดับผลผลติ ข้าวทีส่ งู

ความมน่ั คงทางอาหาร

ภาพท่ี 1กรอบและแนวคิดของโครงการวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีการผลิตข้าวทสี่ งู เฉพาะพ้นื ทีใ่ นอำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชยี งใหม่

1.5 คำถามการวิจัย 1)ทำอยา่ งไรเพือ่ ที่จะหาแนวทางบรหิ ารจัดการขา้ วให้ชมุ ชนในอำเภอแมแ่ จ่มจงั หวัดเชียงใหม่มีความม่นั คงดา้ นอาหาร

  1. ทำอย่างไรจึงจะสามารถพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่แก่

เกษตรกรและนวตั กรชุมชนในอำเภอแม่แจม่ จงั หวัดเชียงใหม่

  1. ทำอย่างไรจึงจะได้ต้นแบบการผลิตและการจัดการข้าวที่สูงที่สามารถยกระดับผลผลิตข้าวเฉพาะ

พืน้ ทใี่ นอำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่

5

บทที่ 2 ทบทวนบรบิ ทขอ้ มูล ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง

2.1 บริบทของพนื้ ท่ี 2.1.1 ขอ้ มลู ท่ัวไป

  1. ประวตั แิ ละความเป็นมา ในอดีตอำเภอแม่แจ่ม ถูกเรียกว่า เมืองแจ๋ม เดิมเป็นที่อาศัยของชนชาติลัวะ (ละว้า) มีวิถีชีวิตที่เรียบ ง่าย และได้สร้างวัฒนธรรมของตนจนรุ่งเรือง ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นวัดวา อาราม จิตรกรรมฝาผนัง เครอื่ งปั้นดินเผา ตอ่ มาคนไทยพนื้ ทีร่ าบจากอำเภอจอมทองและอำเภอสนั ป่าตองเข้ามา ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามที่ราบลุ่มน้ำแม่แจ่ม และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอ เมื่อปี พ.ศ. 2451 ตั้งชื่อว่าอำเภอเมือง แจ่มและเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอช่างเคิ่ง ในปี พ.ศ. 2460 (ปัจจุบันช่างเคิ่งเป็นชื่อตำบลหนึ่งในอำเภอแม่แจ่ม) ต้ัง ที่ว่าการอำเภอที่บ้านหมู่ที่ 4 ตำบลท่าผา แต่ขณะนั้นราษฎรอดอยากขาดแคลนและไม่นิยมการปกครองที่มีการ เกบ็ ภาษีอากร ในทส่ี ดุ จึงมีราษฎรกลุ่มหนึ่งเข้าปล้นที่ว่าการอำเภอและทำร้ายนายอำเภอจนเสียชีวิต ทางราชการ จึงได้ย้ายที่ว่าการอำเภอไปอาศัยที่วัดช่างเคิ่งเพื่อความปลอดภัย (อิศรา, 2557) อำเภอแม่แจ่มได้ยกฐานะเป็น อำเภอเมื่อปี พ.ศ.2447 เรียกว่าอำเภอช่างเคิ่ง พ.ศ. 2481 เกิดความอดอยากขาดแคลน ราษฎรพากันอพยพ ไปตั้งถิ่นฐานอื่นทำให้จำนวนประชากรลดลง ทางการจึงยุบเป็นกิ่งอำเภอขึ้นกับอำเภอจอมทอง เรียกชื่อก่ิง อำเภอแม่แจ่ม จนกระทั่งถึงปี พ.ศ 2499 ทางราชการเห็นว่าเป็นท้องที่ที่ห่างไกล ทุรกันดาร หากยังคงให้เขต การปกครองขึ้นกับอำเภอจอมทอง ประชาชนไม่ได้รับความสะดวกในการติดต่อราชการ จึงได้ยกฐานะเป็น อำเภอแม่แจ่ม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 เป็นต้นมา (ฝอยทอง, 2533)และ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2552 ได้มีการแบ่ง พ้ืนทขี่ องตำบลแจ่มหลวง ตำบลบ้านจนั ทร์ และ ตำบลแม่แดด ออกไปจดั ต้ัง อำเภอกลั ยาณิวัฒนา จึงทำให้อำเภอ แมแ่ จ่ม มี 7 ตำบล จนถึงปจั จบุ นั
  2. พ้ืนท่ี อำเภอแม่แจม่ ต้ังอยทู่ างทิศตะวนั ตกเฉียงใตข้ องจงั หวัดเชียงใหม่ หา่ งจากจงั หวดั เชยี งใหมป่ ระมาณ 115 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 3,361.151 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอแม่แจ่มอยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติ ใกล้ดอยอนิ ทนนทซ์ ่ึงเป็นยอดเขาสงู ทสี่ ุดของประเทศไทย ทำให้มรี ะดับนำ้ ฝนเฉลีย่ สูงกวา่ พืน้ ราบ คือ ไม่น้อย กวา่ 2,000 มลิ ลิเมตรต่อปี กอ่ กำเนดิ แม่น้ำแจ่มท่ใี ห้นำ้ แก่แม่น้ำปิง ร้อยละ 40 และแม่น้ำเจ้าพระยา ร้อยละ 17 (กรม อทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่าและพนั ธ์ุพืช, 2562) เขตตดิ ต่อ ทิศเหนอื ตดิ กบั อำเภอกลั ยาณวิ ฒั นา จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภอปาย อำเภอเมอื งจังหวดั แม่ฮ่องสอน ทศิ ตะวนั ตก ติดกับอำเภอขุนยวม อำเภอแม่ลาน้อย ทศิ ใต้ ติดกับอำเภอฮอด จงั หวดั เชียงใหม่ และอำเภอแมส่ ะเรยี ง จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ทิศตะวนั ออก ติดกับอำเภอสะเมงิ อำเภอแมว่ าง และอำเภอจอมทอง

6

  1. ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่เป็นป่าและภูเขาสูงชันทุรกันดารอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเกือบทั้ง พื้นที่มีลำน้ำแม่แจ่มเป็นแม่น้ำสายน้ำหลัก พื้นที่ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เป็นป่าไม้และภูเขาสูงชัน เป็นที่ราบเชิงเขา รอ้ ยละ 20 และเปน็ ท่ีราบลุ่มร้อยละ 10
  1. ลักษณะภูมิอากาศ มีอากาศค่อนข้างเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 25 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 20 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์เฉล่ีย ตลอดทั้งปีร้อยละ 72 และสภาพภูมิอากาศอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิอากาศพ้นื ท่ีอำเภอแม่แจ่ม แบ่งออกได้เปน็ 3 ฤดู ได้แก่

ฤดฝู น เรมิ่ ตัง้ แตก่ ลางเดือนพฤษภาคมจนถงึ เดือนตุลาคมโดยได้รับอทิ ธพิ ลจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันออกเฉยี งเหนอื ซึ่งพัดพาเอาความหนาวเยน็ จากประเทศจนี ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน ฤดรู ้อน เรม่ิ ตง้ั แตเ่ ดอื นกุมภาพันธถ์ ึงกลางเดือนพฤษภาคม ซง่ึ อยภู่ ายใตอ้ ิทธพิ ลของลมมรสุมตะวันตก เฉยี งใตแ้ ละลมฝ่ายใต้

  1. จำนวนตำบล หมู่บ้าน ครัวเรือน และประชากร สำนักงานพฒั นาชุมชนอำเภอแมแ่ จ่ม(2564)ได้สำรวจ ข้อมูลในปี 2564พบวา่ อำเภอแม่แจ่มประกอบดว้ ย 7ตำบลรวม104หมบู่ ้าน 12,564ครวั เรอื นและมจี ำนวนประชากรทง้ั หมด 41,741 คน (ตารางภาคผนวกที่ 1) สามารถแยกเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ดังนี้ชาวไทยพื้นราบ (คนเมือง) ร้อยละ 44และเป็นชาวไทย ภเู ขาร้อยละ56โดยชาวไทยภูเขาประกอบดว้ ย กระเหรี่ยงร้อยละ46,แมว้ (ม้ง)รอ้ ยละ6,ลวั ะร้อยละ3และลซี อร้อยละ1.1 (สนุ ทร, 2560)
  2. การประกอบอาชีพ จากการศึกษาข้อมูลเศรษฐกิจและสังคมในแม่แจ่มโดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพนั ธพุ์ ืช (2562) พบวา่ อำเภอแม่แจ่มมปี ระชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตร หากมีการ บริหารจัดการที่ดีในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถพัฒนาพื้นที่ให้ เป็นแหลง่ ผลิตทางการเกษตรท่ีสำคญั ของประเทศทัง้ พืชเศรษฐกิจหรือพืชไมเ้ มืองหนาว การทำการเกษตรในอำเภอแม่แจ่ม สามารถจำแนกคือ พื้นที่สภาพไร่ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวไร่ หอมแดง และกะหล่ำปลี พื้นที่นาหลังจากปลูกข้าวนาปีแล้วเกษตรกรนิยมปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์เพื่อผลิตเปน็ เมลด็ พันธุ์ ข้าวโพดหวาน มนั ฝรง่ั และถัว่ เหลืองและการทำสวนไม้ผล ไดแ้ ก่ มะมว่ ง ลำไย ลิน้ จี่ ส้มเขียวหวาน โดยในอำเภอแม่แจม่ มีพืชเศรษฐกิจสำคัญที่เกษตรกรปลกู กันมากทีส่ ุด 10 อันดบั ไดแ้ ก่ ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ ข้าว หอมแดง กะหลำ่ ปลี มนั ฝรงั่ ถวั่ เหลือง กระเทียม ฟกั ทอง กาแฟและยางพารา ส่วนการเลี้ยงสัตวน์ ั้นเกษตรกร มีการเลี้ยงไกพ่ ้นื เมือง โค สุกร กระบอื เปด็ เทศ ไกไ่ ข่ และช้าง
  3. รายได้ของครัวเรือนต่อปี และรายได้เฉลี่ยของประชากร ประชากรในอำเภอแม่แจ่ม มีรายได้ เฉลี่ยของครัวเรือนต่อปี คิดเป็น 165,229.85 บาทต่อครัวเรือน โดยตำบลช่างเคิ่งมีรายได้ของครัวเรือนต่อปี มากที่สุด 187,250.50 บาท ส่วนตำบลแม่นาจรมีรายได้ของครัวเรือนต่อปีน้อยที่สุด 147,202.51 บาท ดัง แสดงในตารางที่ 2.2 ส่วนรายได้เฉลี่ยของประชากรทั้งหมดในอำเภอแม่แจ่มคิดเป็น 49,484.37 บาทต่อคน โดยมีรายไดเ้ ฉลีย่ ของประชากรในแตล่ ะตำบลแสดงในตารางภาคผนวกที่ 2

7

  1. จำนวนกลุ่มอาชีพ ประชากรในอำเภอแม่แจ่มมีการประกอบอาชีพสามารถแบ่งกลุ่มอาชีพได้ ทง้ั หมด 13 กลุม่ โดยส่วนใหญ่ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลกั โดยอาชีพเกษตรกร-ทำไร มจี ำนวน ครัวเรือนมากที่สุด 8,323 ครัวเรือน และเป็นพนักงานบริษัทน้อยทีส่ ุด 15 ครัวเรือน สิ่งที่น่าเป็นกังวลสำหรบั จำนวนกลุ่มอาชีพคือ ประชากรที่ไม่มีอาชีพ 1,269 ครัวเรือน โดยรายละเอียดการประกอบอาชีพแสดงใน ตารางภาคผนวกที่ 3

10 ) ความรูแ้ ละภมู ปิ ัญญา ภูมิปัญญาถือเป็นจุดเด่นท่ีสำคัญและเป็นท่ีนิยมในกลุ่มนักท่องเท่ียวคือ ภูมิปัญญาการทอผ้าซิ่นตีนจก เป็นผลิตภัณฑ์พื้นเมืองเนื่องจากลายผ้าท่ีมีความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ มีทั้งลายโบราณและลายประยุกต์ นอกจากนี้ผ้าตีนจกแม่แจ่มได้รับขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ทำให้ผ้าซิ่นตีนจกแม่แจ่มเป็นที่รู้จักกว้างขวางมากขึ้น และภูมิปัญญาด้านการเกษตรที่เป็นอีกหนึ่งจุดเด่น เพราะเกษตรกรรมคือวิถีชีวิตของชาวแม่แจ่ม ด้วยสภาพภูมิประเทศอันเหมาะสมแก่การเพาะปลูก และเป็นที่ ราบบรเิ วณหุบเขา ชาวแมแ่ จ่มจึงมกี ารทำนาแบบข้ันบันได มีคันนาลดหลัน่ ตามเนินเขา เม่อื ถงึ ฤดูกาลปลูกข้าว จึงสร้างเสน่ห์ดึงดูดด้วยผืนนาข้าวที่เขียวขจีสลับสีเหลืองทองของต้นข้าวเมื่อข้าวเริ่มสุก ให้บรรยากาศที่สงบ สวยงามและมองเห็นถงึ วิถีชวี ิตทีเ่ รียบง่ายอย่างแทจ้ ริง จึงนับเปน็ แหลง่ ท่องเท่ียวในแง่มุมภูมิทัศน์วัฒนธรรมได้ เปน็ อยา่ งดีอกี แหลง่ หน่งึ (ศริ มิ าลย์, 2562)

2.1.2 ข้อมลู ทางสงั คม

  1. การศึกษา จากการสำรวจข้อมูลของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอแม่แจ่ม (2564) พบว่า ระดับ

การศึกษาของประชากรในอำเภอแม่แจม่ แบง่ เปน็ ไม่เคยไดร้ ับการศึกษา รอ้ ยละ 21.87 ระดับอนบุ าล รอ้ ยละ 2.68 ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 9 ประถมศึกษา ร้อยละ 26.31 มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 13.23 มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 16.44 อนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือ ปวส. ร้อยละ 3.09 ปริญญาตรีหรือ เทียบเท่า ร้อยละ 7.38 และสูงกวา่ ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 0.33 ดังแสดงในตารางภาคผนวกที่ 4

  1. ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม ศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่ชาวแม่แจ่มส่วนใหญ่ให้ความศรัทธา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ส่วนในกลุ่มชาติพันธุ์มีการนับถือผี และมีบางส่วนที่เปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนา ซึ่ง เป็นศาสนาที่เข้ามาใหม่จากการเผยแพร่ของมิชชันนารี เมื่อประมาณ 100 ปีที่ผ่านมาส่วนใหญ่ชาวปกาเกอะญอบน ดอยสูงหลายหมู่บ้าน ที่ละจากคตินับถือผีมานับถือเพราะได้รับความช่วยเหลือด้านความรู้ใหม่ๆ และการ รักษาพยาบาลจนถึงปัจจุบัน(ภาสวรรธน์ และคณะ, 2561) และนครนทร์ ชัยแก้ว (2559) ได้ศึกษาการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ในอำเภอแม่แจ่ม พบว่าอำเภอแม่แจ่มมีความหลากหลายทางด้านประชากรส่งผลให้ ประเพณีและวัฒนธรรมจึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ แม้ว่าในปัจจุบันการพัฒนาจากทาง ภาครัฐเข้ามาช่วยทำให้เกิดเปลี่ยนแปลงต่อพื้นที่อำเภอแม่แจ่มในหลายๆด้าน แต่ประชากรในพื้นที่แม่แจ่มก็ ยังคงยึดถือปฏิบัติตามพฤติกรรมหลายอย่างด้วยความเชื่อมั่นในแบบอย่างชีวิตที่คนรุ่นเก่าเคยปฏิบัติกันมา ท่ี แสดงให้เห็นถึงความเป็นอยู่ของผู้คนที่ยังคงใกล้ชิดและพึ่งพาธรรมชาติ เช่น ประเพณีทานหลัวหิงไฟพระเข้า ประเพณที านข้าวลันบาตรในวนั เพญ็ เดือน 4 เหนอื และประเพณีลอ่ งสังขาร ทถ่ี ือได้ว่าเป็นบทเร่ิมต้นของพิธีกรรม ในช่วงเทศกาลปีใหม่ของชาวแม่แจ่มมีการเก็บกวาดบ้านเรือน วัดวาอาราม ชำระร่างกายและจิตใจให้ผ่องใส ในช่วงดังกลา่ ว และยังมีพิธีกรรมทีเ่ ก่ยี วกับความเช่ือมากมาย เช่น การสรา้ งพระพุทธรูป การข้ึนท้าวทั้งส่ี การ เลี้ยงผีปูย่า ผีเจ้าบ้าน พิธีกรรมเหล่าน้ีล้วนทำเพื่อความเป็นสิริมงคลในการดำเนินชีวิตและเพื่อสักการะและ

8

แสดงความกตัญญูต่อสิ่งรอบตัว ทั้งคน ธรรมชาติ และวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ โดยบางประเพณีของคนในพื้นท่ี อำเภอแม่แจ่มส่วนใหญ่จะเป็นประเพณีของชาวไทยภูเขาได้แก่ งานประเพณีเลี้ยงผีเจ้าเมือง - เจ้าบ้าน และ ประเพณีการแก้บนผี

  1. อัตลักษณ์ ชาวแม่แจ่มส่วนใหญ่ยังคงยึดอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำสวน ทำไร่ มีวิถีชีวิตที่เรียบ ง่าย ผูกพันกับวัดและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพนับถือในชุมชน แม้ในปัจจุบันที่การคมนาคมและการสื่อสาร เจริญก้าวหน้าเทคโนโลยแี ละวถิ ชี วี ิตแบบใหมจ่ ากภายนอกหลัง่ ไหลเข้าสทู่ ุกชุมชนในแม่แจม่ แตพ่ วกเขาก็ยังคง รกั ษารปู แบบดง้ั เดิมของตนเองไว้ได้ในระดับที่น่าพอใจ ด้วยคตคิ วามเชื่อและการยดึ มัน่ ในจารึกประเพณี อกี ท้ัง แม่แจ่มยังมีภูมิประเทศที่สวยงามด้วยความเป็นเมืองในหุบเขา ล้อมรอบด้วยเขาสูง พื้นที่นาในแม่แจ่มไม่น้อย จงึ เปน็ นาขัน้ บันใด เมอ่ื ถงึ ฤดกู าลปลูกขา้ ว ในชว่ งทตี่ น้ ข้าวในนาเขยี วขจจี นถงึ ยามทีเ่ มลด็ ขา้ วสุก ทอ้ งนาเหลือง อร่ามเปน็ ท่งุ รวงทองยง่ิ สง่ เสริมใหแ้ มแ่ จ่มมีทิวทัศนส์ วยงามน่าหลงไหลดงึ ดดู นักท่องเทย่ี วและผนู้ ิยมถ่ายภาพ

เสนห่ ข์ องแม่แจม่ อย่างหน่งึ คือ หตั ถกรรมประเภทส่ิงทอ คอื ผ้าทอ ลายหน้าหมอน แต่เดิมน้ันการทอ ผ้าเป็นจิตวิญญาณของหญิงชาวแม่แจ่ม เด็กผู้หญิงทุกคนถูกปลูกฝังให้ทอผ้าเป็นตั้งแต่อายุน้อย และเป็นการ เรียนรู้ทั้งกระบวนการ ตั้งแต่การปลูกฝ้ายเก็บฝ้าย การเตรียมด้ายจนถึงการทอผ้าและเย็บผ้า เริ่มจากผ้าและ แบบง่ายๆ เรื่อยไปจนถึงขั้นสูงเป็นการทอผ้าเพื่อใช้งานทอเพื่อใส่เองในครอบครัว ใช้เวลาว่างจากการทำงาน แม้ความเข้มข้นของวัฒนธรรมนี้ลดลงไปในปัจจุบัน แต่ก็ยังคงปรากฏให้เห็นทั่วไป เราเห็นที่ทอผ้าอยู่แทบทุก บ้าน ทั้งมีการรวมกลุ่มทอผ้ากัน เช่นที่ บ้านท้องฝ่าย บ้านทัพ บ้านไร่ และที่บ้านต่อเรือ ผ้าทอที่โดดเด่นมี ชื่อเสียงมากของแม่แจ่มคือการทอผ้าตีนจก เป็นการทอที่ใช้การ "จกลาย" ที่ต้องใช้ความสามารถและเวลาใน การทอมาก การทอจกของแม่แจ่มมีลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมือนที่ใด เพราะเป็นการทอคว่ำหน้าลายลง ใช้ขน เม่นหรือเหล็กแหลมตวัดเส้นฝ้ายขึ้นมาผูกเงื่อนเก็บลายตา้ นบน ทำให้ประณีตเรียบร้อยมากเพราะช่างทอมอง จากด้านหลังลาย นอกจากนี้ปิ่นปักผมทองเหลืองของพ่ออุ๊ยกอนแก้ว อินต๊ะก๋อน ก็เป็นหัตถกรรมพื้นบ้านที่มี ส่วนสรา้ งชอ่ื เสยี งให้แม่แจม่

พิธีกรรมต่างๆ จากความเชื่อยังคงมีให้เห็นได้ในแม่แจ่ม ทั้งพิธีกรรมเนื่องในพุทธศาสนาเกิดขึ้นในวัด วาอาราม พิธีกรรมเนื่องในประเพณีล้านนา และพิธีกรรมเนื่องในความเชื่อเรื่องผี แม้แม่แจ่มมีภูมิประเทศ สวยงาม เป็นเมืองในหุบเขาหลังดอยอินทนนท์ มีสถาปัตยกรรมล้ำค่าท่ีหาดูยากในพื้นท่ีอื่น เป็นแบบประเพณี ล้านนาที่เปลี่ยนแปลงช้ากว่าดินแดนล้านนาอื่น แต่เสน่ห์ของแม่แจ่ม อยู่ที่วิถีชีวิตของผู้คนชาวแม่แจ่มเป็น สำคัญ วิถีชีวิตที่ถูกอนุรักษ์ไว้โดยจิตวิญญาณของชาวแม่แจ่ม เป็นไปโดยธรรมชาติ ปราศจากกระบวนการ อนุรักษ์ใดๆ มาบริหารจัดการ การเข้ามาของวัฒนธรรมอื่น โดยสื่อต่างๆและผู้คนที่อพยพเคลื่อนย้ายเข้ามา ย่อมส่งผลต่อแม่แจ่ม แม้จะไม่รุนแรงและรวดเร็วเหมือนที่อื่นๆ แต่ในท่ีสุด การเปลี่ยนแปลงก็จะทำให้เสน่ห์น้ี หมดไป และถ้าสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้ำค่าก็เปลี่ยนแปลงเสื่อมถอยไปด้วยไม่ว่าเพราะเหตุผลใดๆ คุณค่าของ เมอื งแจม๋ หรอื แมแ่ จ่มก็จะเหลือเพียงอำเภอหน่ึงของเชยี งใหม่ทม่ี ีอดีตที่น่าชืน่ ชมเท่าน้นั

9

  1. การสาธารณสุข อำเภอแม่แจ่มมีโรงพยาบาลทั้งหมด 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลแม่แจ่มและ

โรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกุลเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา อยู่ในเขตตำบลช่างเคิ่ง ตำบลแม่นาจร

ประกอบด้วยสถานพยาบาล โดยแบ่งเป็น 1)โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีจำนวน 3 แห่ง ได้แก่

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลแม่นาจร โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลบ้านแม่แฮเหนือ และโรงพยาบาล

ส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแม่ซา 2) สถานพยาบาลเอกชน 3 แห่ง ได้แก่ แม่นาจรคลินิก แม่แฮคลินิก และ

คลินิกผดุงครรภ์ 3) สถานบริการสาธารณสุขชุมชน 4 แห่ง ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุขชุมชนบ้านสบแม่

รวม สถานบริการสาธารณสุขชุมชนบ้านแม่สะงะกลาง สถานบริการสาธารณสุขชุมชนบ้านแม่เอาะและสถาน

บริการสาธารณสุขชุมชนบ้านห้วยผา ส่วนตำบลแม่ศึกมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทั้งหมด 3 แห่ง ได้แก่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปางอุ๋ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาฮ่อง และโรงพยาบาล

ส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นกองกาน

  1. ปฏิทินฤดูกาล และประเพณี ในอำเภอแม่แจ่มมีปฏิทนิ ฤดูกาลและประเพณีท่ีสำคญั สามารถสรุป

ได้ในตารางที่ 2.1 แตป่ ฏิทินฤดูกาลและประเพณีมีการนบั เดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี เพราะยึดตามการ

เปลย่ี นศกั ราชใหม่ของคนเมืองโดยนบั ประเพณีปใี หม่เมืองหรือวันสงกรานต์เป็นการเปลย่ี นศักราชใหม่ซึ่งอยู่ใน

เดือนเมษายน หรอื เดอื น 7 เหนอื ในอำเภอแม่แจม่ ประกอบด้วยหลายกลุ่มชาตพิ ันธท์ุ ่ีมีความเช่ือและประเพณี

แตกต่างกนั ไป แบ่งตามชว่ งเวลา

ตารางที่ 2.1 ข้อมลู ปฏิทินฤดูกาลและประเพณใี นอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่

ช่วงเวลา คนเมอื ง ชาติพันธุ์ ลวั ะ ปกาเกอะญอ

ปใี หม่หลวง

เมษายน ล่องสงั ขาน ลงพนื้ ท่ีเพาะปลูก/มดั มือ ประเพณปี ีใหม่ ดำหวั เจา้ หลวง

ประเพณเี ดอื นเจ็ดวดั พระบาท

พฤษภาคม ปใี หมห่ น้อย ลงพน้ื ทเ่ี พาะปลูก/มดั มอื เล้ยี งผีหมบู่ า้ น ประเพณีเดือนแปด

มถิ นุ ายน เลี้ยงผีปู่ยา่ - ปลูกขา้ วโพด ประเพณีเดอื นเกา้ วัดแมป่ าน เลย้ี งเจ้าทีส่ วน

กรกฎาคม เขา้ พรรษา - ดูแลพชื ไร่

สงิ หาคม นอนวัดจำศลี -

กนั ยายน ตานกว๋ ยสลาก - เกบ็ เก่ยี วผลผลติ เลย้ี งผีเจ้าทีส่ วน (เกบ็ เก่ียวผลผลิต)

ตลุ าคม กฐิน เก็บเกีย่ วผลผลติ เริ่มเกย่ี วขา้ ว จลุ กฐนิ เล้ยี งผี

10

ตารางท่ี 2.1 (ตอ่ )

ช่วงเวลา คนเมือง ชาตพิ ันธ์ุ ลัวะ ปกาเกอะญอ เลยี้ งผเี จา้ ท่ีบา้ น/ไร่ ฟงั ธรรม เกบ็ เกยี่ วผลผลิต ทานข้าวใหม่ พฤศจิกายน จดุ โคม เล้ียงผเี จ้าทปี่ ระจำปี - จุดผางประทปี ครสิ ตม์ าส เริม่ เพาะปลูก ปใี หม่ เลีย้ งผีหมู่บ้าน ธันวาคม เข้ากำ มัดมอื เตรียมพ้ืนท่เี พาะปลกู เผาหลัวพระเจ้า ถางไร่ เล้ยี งผีไร่ เกบ็ เกี่ยวผลผลติ มกราคม เผาหลวั พระเจ้า เตรยี มไร่

ทานขา้ วใหม่

กมุ ภาพันธ์ ปอยหลวง

ไหวพ้ ระธาตุเดือนหา้ เปง็

มนี าคม ปอยหน้อย ปอยลกู แกว้

ทมี่ า : ภาสวรรธน์ และคณะ (2561)

2.1.3 ขอ้ มูลสาธารณปู โภคและโครงสร้างพ้นื ฐาน

  1. การคมนาคม ประกอบด้วย 1.1) ทางหลวงแผ่นดินที่สำคัญ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินสายแม่แจ่ม – ดอยอินทนนท์ ระยะทาง 22

กโิ ลเมตร และทางหลวงแผน่ ดิน ถนนแมแ่ จ่ม – ฮอด ระยะทาง 48 กโิ ลเมตร 1.2) ทางหลวงชนบท ได้แก่ ทางหลวงชนบทสาย ชม. 4063 ปางหินฝน – บ้านทับ ทางหลวงชนบท

สาย ชม. 4065 ช่างเคิ่ง – ปางหนิ ฝน และทางหลวงชนบทสาย ชม. 4066 วัดจันทร์ 1.3) ถนนลูกรัง จำนวน 77 สาย (เส้นทางเชือ่ มต่อระหว่างตำบลและหมู่บ้าน)

  1. ไฟฟ้า ในอำเภอแม่แจ่มมีพื้นที่ให้บริการไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคครอบคลุม 43 หมู่บ้าน

5,241 ครัวเรือน ส่วนหมู่บ้านที่เหลืออยู่ระหว่างการดำเนินงานโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้พลังงาน ทดแทน (พลงั งานแสงอาทติ ย์) ตามนโยบายของรัฐบาล

  1. การชลประทาน มรี ะบบชลประทานทพ่ี ฒั นาแลว้ ในพน้ื ทท่ี ุ่มนำ้ สาขาตำบลตา่ งๆ ดังนี้ 3.1) ตำบลช่างเคง่ิ มฝี ายคอนกรีตท่ีดำเนินการ โดยกรมชลประทาน 6 แหง่ และอา่ งเก็บน้ำอีก 1 แห่ง ได้แก่ ฝายชลประทานก้นั นำ้ แม่อาย ฝายทุ่งยาวใหญก่ นั้ ลำหว้ ยแม่อาย ฝายทุ่งพระบาทกั้นลำหว้ ยแม่ปาน ฝาย ตาอุ๊กนั้ ลำน้ำแม่ปาน ฝายแม่มงิ คก์ น้ั ลำหว้ ยแม่มงิ ค์ ฝา่ ยแม่ก่ึง ก้นั ลำห้วยแม่ก่ึง และอา่ งเก็บน้ำสันหนอง 3.2) ตำบลทา่ ผา มฝี าย 8 แห่ง ได้แก่ ฝายกั้นลำน้ำแมแ่ รก 6 แห่ง ก้ันน้ำแมย่ างส้าน 1 แหง่ ฝายหลวง กนั้ น้ำแมแ่ จม่ 1 แห่ง 3.3) ตำบลบา้ นทบั มฝี า่ ย 2 แห่ง ไดแ้ ก่ ฝายท่งุ ใตก้ ัน้ น้ำแม่ลองและฝ่ายกัน้ น้ำหว้ ยแม่ข้มี ูก 3.4) ตำบลแม่ศึก มีฝาย 3 แหง่ ได้แก่ ฝายแมล่ ะมากั้นลำน้ำแม่หยอด ฝายบา้ นกองกาน ก้ันลำห้วยแม่ศึก และฝ่ายหว้ ยน้ำแม่หยอด

11

3.5) ตำบลแม่นาจร มฝี า่ ย 10 แหง่ ได้แก่ ฝายนำ้ ลันกน้ั ลำนำ้ แม่แจ่ม ฝายน้ำลนั กน้ั ลำน้ำแมห่ มุ ฝายแม่จร หลวงกัน้ ลำน้ำแม่จรหลวง ฝายแมว่ าก/ฝายน้ำสน้ แม่วากกั้นลำน้ำแมว่ าก ฝายหวั ผากั้นลำน้ำห้วยผา ฝายแม่เอาะกั้น ลำห้วยแม่เอาะ ฝายป่ตู ะพกุ น้ั ลำห้วยแม่สะงะหลวง และฝายโต้งนอกกั้นห้วยแมจ่ รหลวง

3.5) ตำบลกองแขก มี 4 ฝาย ได้แก่ ฝายโมง่ น้อย ฝายโม่งหลวง ฝายบ้านกองแขก(วัวแดง) และฝายบ้านอมขูด (ตะวนั ห่างสูงเนิน และคณะ, 2561)

  1. แหลง่ นำ้ 4.1) แหล่งน้ำทีส่ ำคัญของตำบลมี 10 สาย ได้แก่ แม่น้ำแจ่ม แม่น้ำแม่สะงะ แม่น้ำแม่มุ ลำห้วยแมน่ า จร น้ำแมว่ าก นำ้ แม่เอาะ ลำหว้ ยแมข่ า ลำห้วยแม่แฮ ลำห้วยแม่ปา๊ ด และแม่น้ำแมม่ ะลอ 4.2) แหลง่ นำ้ แร่ธรรมชาติมี 1 แห่ง ทีบ่ า้ นห้วยขมน้ิ หมทู่ ี่ 17 4.3) ฝาย 12 แห่ง ได้แก่ ฝายห้วยแม่ซา ฝายแม่จรหน้อย ฝายแม่จรหลวง ฝายแม่เอาะ ฝายแม่ขอ ฝายแม่มุ ฝายสบวาก ฝายแมว่ าก ฝายแมส่ ะงะ ฝายแม่น้ำแจ่ม (บา้ นแม่ซา) ฝายแมห่ อย และฝายห้วยแมป่ า๊ ด 4.4) บ่อนำ้ ตน้ื 14 แห่ง 4.5) อ่างเก็บน้ำ 2 แห่ง ได้แก่ อา่ งเก็บน้ำแจ่มเต๊าะ และ อ่างเกบ็ นำ้ ห้วยหอย

2.1.4 ข้อมูลศักยภาพชุมชน

  1. ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน 1.1) ผ้าซิ่นตีนจก เป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นมายาวนานนับร้อยปี มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น

รวมทั้งมีเอกลักษณ์และสีสันลวดลายที่สวยงาม ทำให้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในปัจจุบันได้มี การจัด เทศกาลผา้ ตีนจกแมแ่ จ่มเป็นประจำทกุ ปใี นเดือนกุมภาพันธ์เพ่ือส่งเสริมใหเ้ ป็นท่ีรู้จักในวงกวา้ ง

1.2) ปิ่นโบราณ ปิ่นแม่แจ่มนี้เป็นอีกหนึ่งภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อกันมา ปิ่นของที่นี่ทำมาจากเงินแท้ และ ทองเหลือง โดยมีเอกลักษณ์ตรงที่ทำจากมือเพียงอยา่ งเดียว มีการขึ้นรูปตอกลายด้วยลายดอกพิกุลเป็น หลัก ปิ่นบาง อนั ใชแ้ กว้ ใสทำเปน็ ยอดปน่ิ ปัจจบุ นั เหลือผู้ผลิตเพียงรายเดยี วในอำเภอแมแ่ จม่ (สวุ ิชชา และปรดี า ,2559)

  1. สถานทีท่ อ่ งเทย่ี ว มแี หลง่ ท่องเท่ียวที่ความสำคัญ จำแนกได้ดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1) แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เน่ืองจากพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าเขา ซึ่ง เป็นพื้นที่ป่าสงวน และยังมีพื้นที่บางส่วนเป็นพื้นที่ที่อยู่ในความดูแลของอุทยานแห่งชาติดอบอินทนนท์ และ อทุ ยานแหง่ ชาติ ออบหลวง ทำให้มแี หลง่ ท่องเท่ียวทางธรรมชาตทิ สี่ ำคัญมากมายดงั ต่อไปนี้ (1) แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาตกิ ลุ่มน้ำตกแม่ปาน เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาตทิ ี่มีความสำคญั อยูใ่ นความดแู ลของอุทยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ กรมป่าไม้ ต้งั อยบู่ ริเวณเชงิ ดอยอนิ ทนนท์ (2) น้ำพุร้อนเทพพนม อยู่ในความดูแลของอุทยานแห่งชาติออบหลวง ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านอมขูด หมู่ที่ 12 ตำบลกองแขก (3) สวนป่าแมแ่ จ่ม เปน็ สวนปา่ ที่อยู่ในความดูแลขององคก์ ารอตุ สาหกรรมปา่ ไม้ (ออป.) ตั้งอยู่ริมถนน สายฮอดแมแ่ จม่

12

(4) ป่าสนวัดจันทร์ ตั้งอยู่ที่ บ้านวัดจันทร์ ตำบลบ้านจันทร์ อำเภอแม่แจ่ม เป็นพื้นที่ป่าสนที่มีอายุ ยาวนานมากว่า 200 ปี ในบริเวณพื้นที่กว่า 150,000 ไร่ บนระดับความสูง 900-1,300 เมตร จาก ระดับน้ำทะเลปานกลาง

(5) ลำน้ำแม่แจ่ม หรือแม่น้ำสลักหิน กำเนิดจากเทือกเขาในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน ไหลผ่านอำเภอ แม่แจ่มออกสู่นำ้ ปิงทีอ่ ำเภอฮอด เป็นสำน้ำใหญท่ ี่มีน้ำไหลคดเคี้ยวไปมาระหว่างเขา ดังนั้นนักท่องเที่ยวนยิ มท่ี จะถ่องแพในลำน้ำแม่แจ่ม ซ่งึ จะมที ง้ั แพยาง และแพไม้ไผ่ ในตำบลแม่นาจร และตำบลกองแขก

2.2) แหล่งทอ่ งเทีย่ วทางด้านประวัตศิ าสตร์ (1) วัดยางหลวง ตั้งอยู่ในหมู่บ้านขางหลวง ตำบลท่าผา มีพระประธานอันงดงาม ที่ด้านหลังจะมีปูน ปนั้ รปู เขาคิชณกฏู อันวจิ ติ ร ซึง่ วดั ยางหลวงจดั เปน็ วดั ใหญ่และสำคัญมากในอำเภอแม่

  1. วัดป่าแดด ตง้ั อยู่ทีห่ มู่บ้านป่าแดด ตำบลทา่ ผา มจี ิตรกรรมฝาผนังทเ่ี ป็นศิลปกรรมท้องถ่ินอันล้ำดำ ดว้ ยฝีมอื ชา่ งสกุลไทยใหญ่ ซงึ่ จะมีท้ังหมด ภาพ และกรมศิลปากรไดข้ ึ้นทะเบียนไวแ้ ล้ว (3) วัดพุทธเอ้น ตั้งอยู่ที่ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม นับเป็นศาสนสถานที่แปลกไปจากที่อื่น คือ มี "โบสถน์ ้ำ" ลกั ษณะคือสร้างในสระสี่เหล่ียม โดยปกั เสาลงในน้ำล้อมรอบดว้ ยกำแพงศิลาแลง บริเวณรอบโบสถ์ จนถงึ กำแพง เรยี กวา่ "อุทกสมี า" มีความหมายเหมอื นกบั "ขนั ธสีมา" ของโบสถ์บนบก ตามประวตั ิศาสตรก์ ลา่ ว ว่าวัดพุทธเอ้นก่อสร้างในสมัยต้นรตั นโกสนิ ทร์เมื่อ 200 กว่าปีมาแล้ว มีโบราณสถานล้ำตำบริเวณวัดคือ โบสถ์ น้ำซึ่งได้ขึ้นทะเบียนกับกรมศิลปากรแล้วบริเวณค้านหลังโบสถ์น้ำมีวิหารเก่าแก่ ซึ่งกายในมีภาพจิตรกรรมฝา ผนัง แค่เลือนถางไปมากแล้ว (4) วัดเจียง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 ตำบลช่างเค่ิง มีพระพุทธรปู โบราณคือ พระเจ้าแสนตอง เป็นพระดู่บ้านกู่ เมอื งอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ของอำเภอ ซง่ึ เป็นพระพุทธรูปปางมารศรีวิชัย สมยั เชยี งแสนหล่อดว้ ยทองสัมฤทธิ์ ประชาชน ในพื้นทใ่ี ห้ความเคารพนับถอื และเล่อื มใสมาก (5) วัดกองกาน ตง้ั อยูห่ มู่ท่ี 7 ตำบลแม่ศึก เปน็ วดั เก่าแก่ท่ีมีพระพุทธรูปบูชาทช่ี ื่อ พระเจ้าตนหลวงซึ่ง เปน็ พระพุทธรูปบูชาสมยั เชยี งแสนทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ของอำเภอแม่แจม่ ประดิษฐาน 2.3) แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปวัฒนธรรม คือ หมู่บ้านทอผ้าชื่นตีนจก ที่อยู่ห่างจากตัวอำเภอแม่ แจ่มไปประมาณ 3 กิโลเมตร ตรงหมู่บ้านหมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 ตำบลท่าผา เป็นตำบลที่ชาวบ้านนิยมทำผ้าช่ืน ตนื่ อกโดยทำกันถึง 150 ครวั เรอื น 2.1.5 ขอ้ มูลกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานภาคี กลุ่มเกษตรกรในอำเภอแม่แจม่ มที ัง้ หมด 137 กลมุ่ โดยเกษตรกรท่เี ข้ามารวมกลมุ่ สว่ นใหญ่เก่ียวข้อง กับการเกษตร ไดแ้ ก่ วสิ าหกิจชุมชนเกษตรธรรมชาตปิ ลอดภัยบ้านแม่ปาน-สันเกย๋ี ง วสิ าหกิจชมุ ชนลำไยแปลง ใหญ่แม่ปาน-สันเกี๋ยง วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตำบลแม่นาจร วิสาหกิจชุมชนไผ่เงินล้าน บ้านกองกาน วิสาหกิจชุมชนผ้ปู ลกู พชื ผักปลอดภัย ตำบลแมศ่ กึ และวิสาหกจิ ชมุ ชนบ้านแมว่ ากเป็นตน้ (ตารางภาคผนวกท่ี 5) 2.1.6 ขอ้ มลู ความม่ันคงดา้ นอาหาร จากข้อมูลคณะทำงานพัฒนาคุณภาพข้อมูลด้านพืช ภาคเหนือในปี 2562 - 2563 พบว่าในปี 2562 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มีพื้นที่ปลูกข้าวทั้งสิ้น53,887ไร่ ผลผลิต24,716ตันผลผลิตข้าวเฉลี่ย465 กิโลกรัมตอ่ ไร่

13

และ ปี 2563 พื้นที่ปลูกข้าวทั้งสิ้น 56,275 ไร่ ผลผลิต 24,382 ตัน ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 456 กิโลกรัมต่อไร่ หาก

พิจารณาแล้วพบว่า ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลง ทั้งที่พื้นที่ปลูกข้าวเพิ่มขึ้น ส่วนในปี 2564 อำเภอแม่แจ่มมี

พื้นที่ปลูกข้าวทั้งสิ้น 57,817 ไร่ โดยในฤดูนาปี 2564 ผลผลิตข้าวเฉลี่ยยังไม่ได้การประเมินจากหน่วยงานภาคี

(ตารางที่ 2.2) โดยพื้นที่ดำเนินการเป้าหมายในการดำเนินงานวิจัยมีเกษตรกรในพื้นที่ จำนวน 329 ราย มีพื้นที่

ปลกู ขา้ ว 1,386 ไร่ สามารถแยกออกเปน็ รายตำบล ดังนี้

  1. ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ดำเนินงานวิจัย คือ บ้านแม่ปาน มีเกษตรกร

59 ราย พนื้ ทป่ี ลูกขา้ ว 194 ไร่ และบ้านดอยสนั เกีย๋ ง มเี กษตรกร 40 ราย พน้ื ทีป่ ลูกข้าว 159 ไร่

  1. ตำบลแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินงานวิจัยท่ีบ้านกองกาน มีเกษตรกร 38 ราย

พื้นทปี่ ลกู ข้าว 97 ไร่

  1. ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ดำเนินงานวิจัย คือบ้านแม่นาจร มีเกษตรกร

141 ราย พน้ื ทป่ี ลกู ขา้ ว 716 ไร่ และบ้านแมว่ าก มเี กษตรกรจำนวน 51 รายมีพน้ื ทีป่ ลูกข้าว 220 ไร่

ตารางที่ 2.2 การขนึ้ ทะเบยี นเกษตรกรผู้ปลูกขา้ วนาปี 2564 ในอำเภอแมแ่ จม่ จังหวัดเชียงใหม่

ลำดบั ตำบล จำนวนเกษตรกร(ราย) เนอ้ื ที่ (ไร่)

1 ชา่ งเคงิ่ 991 4,111

2 ทา่ ผา 818 3,570

3 บา้ นทบั 1,523 12,349

4 แม่ศกึ 1,534 9,952

5 แมน่ าจร 1,924 13,204

6 ปางหนิ ฝน 1,247 10,313

7 กองแขก 885 4,319

รวมท้งั หมด 8,875 57,817

ทม่ี า : สำนักงานเกษตรอำเภอแม่แจ่ม (2564)

2.1.7 ประเด็นปญั หาที่สำคัญของอำเภอแม่แจ่ม

  1. ปัญหาโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาคุณภาพชีวิต อำเภอแม่แจ่มมีพื้นที่กว้างใหญ่ ห่างไกลและ ทุรกันดาร การคมนาคม การติดต่อสื่อสารจึงเป็นไปด้วยความยากลำบาก พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตป่า สงวนแห่งชาติ เส้นทางคมนาคมส่วนใหญ่เป็นเส้นทางสำรองสลับกับทางลูกรัง และมีสภาพสูงชัน ราษฎรใน พื้นที่ห่างไกลไม่ไดร้ ับความสะดวกจากการให้บริการของภาครฐั นับเป็นอุปสรรคที่สำคัญในการพฒั นาคุณภาพ ชีวติ ให้แกร่ าษฎร
  2. ปญั หาด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ราษฎรสว่ นใหญ่ฐานะยากจน และประกอบอาชีพ ทำไรเ่ ลอ่ื นลอย ทำให้เกิดปญั หาการบกุ รุกตดั ไมท้ ำลายทรัพยากรปา่ ไม้ อันเปน็ สาเหตสุ ำคัญท่ีกอ่ ใหเ้ กิดภัยทาง ธรรมชาติ อาทิ ภยั แลง้ หรอื อุทกภัย

14

แนวทางการพัฒนาของอำเภอ

  1. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมการดำเนินชีวิตของราษฎรตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจ พอเพียง
  2. การพัฒนาด้านการเมืองการปกครอง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนตามครรลองระบอบ ประชาธปิ ไตย เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชุมชนด้วยกระบวนการประชาคม
  3. การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ สำคัญของจงั หวดั เชียงใหม่
  4. อำเภอแม่แจ่มมีประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตร โดยมีพื้นที่ทางการเกษตรที่กว้าง ใหญ่และยังคงความอุดมสมบูรณ์ ถ้าหากมีการบริหารจัดการที่ดีในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งผลิตทางการเกษตรที่สำคัญของประเทศทั้งพืช เศรษฐกิจหรอื พืชไม้เมืองหนาว

2.1.8 ตำบลช่างเค่งิ อำเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ ตำบลชา่ งเค่ิง ต้งั อยู่ทางทิศตะวนั ออกของอำเภอแมแ่ จ่ม ห่างจากท่วี า่ การอำเภอประมาณ 2 กโิ ลเมตร ขนาดพื้นท่ปี ระมาณ 317.36 ตารางกโิ ลเมตร

  1. ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทั่วไปเป็นที่ราบและภูเขา มีการคมนาคมที่สะดวก พื้นที่บางส่วนอยู่ ในเขตป่าสงวน มีลำน้ำแม่แจ่มเป็นสายหลัก เหมาะแก่การทำนาและสวน ประชากรทำการเกษตรครอบคลุม พื้นที่เกือบทุกหมู่บ้าน ส่วนฤดูแล้งน้ำสำหรับการเกษตรไม่เพียงพอเนื่องจากขาดแหล่งกักเก็บน้ำ และน้ำจาก คลองชลประทานอยู่ ตอนปลายคลองส่งน้ำ ส่วนพื้นที่หมู่ 5, 6, 8, 15, 16 เกิดปัญหาน้ำท่วมในฤดูน้ำหลาก สรา้ งความเสยี หายพ้นื ท่กี ารเกษตรและบ้านเรอื นท่ีพักอาศยั
  2. จำนวนหมู่บ้าน ครัวเรือน และประชากร ตำบลช่างเคิ่งประกอบด้วย 19 หมู่บ้าน มีจำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 2,375 ครัวเรือน และมีประชากรรวมทั้งหมด 6,881 คน แบ่งเป็นชาย 3,346 คน และหญิง 3,535 คน โดยหมู่บ้านท่ีคณะผู้วิจัยเข้าไปดำเนินการวิจยั คือแม่ปานมี 146 ครัวเรือน ประชากร 437 คนแยก เป็นชาย 218 คนและหญิง 219 คน และบ้านดอยสันเกี๋ยง มี 83 ครัวเรือน ประชากร 274 คนแยกเป็นชาย 127 คนและหญิง 147 คน (ตารางภาคผนวกที่ 6)
  3. การประกอบอาชีพ ประชากรในตำบลช่างเคิ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรม ได้แก่ การ ทำนา ปลูกพืชไร่สวนผักผลไม้ และเลี้ยงสัตว์จำพวกสุกร ไก่ เป็ด ผลผลิตที่สำคัญได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลือง กระเทียม แตงโม พื้นที่ส่วนมากใช้สำหรับปลูกข้าว ซึ่งทำการปลูกข้าวได้เพียงปีละ 1 ครั้ง ส่วนอาชีพรองลงมาได้แก่ รบั จ้างแรงงานภาคเกษตรกรรม ชา่ งกอ่ สร้าง คา้ ขาย อุตสาหกรรมครัวเรอื น การเคลอ่ื นย้ายแรงงานชว่ งเวลาว่างงานจาก การทำเกษตรกรรม ทำงานรบั จ้างในเมอื งและพ้ืนทีข่ ้างเคียงในบางฤดูกาล (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลช่างเคิง่ , 2562)
  4. รายได้ของครัวเรือนต่อปี และรายได้เฉลี่ยของประชากร ประชากรมีรายไดเ้ ฉลี่ยของครัวเรือนต่อปี 187,250.05 บาทตอ่ ครวั เรอื นและรายได้เฉลี่ยของประชากรต่อปี 66,050.05 บาทตอ่ คน (ตารางภาคผนวกท่ี 7)

15

  1. การศึกษา จากการสำรวจข้อมูลของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอแม่แจ่ม (2564) พบว่า ระดับ การศึกษาของประชากรในตำบลชา่ งเค่ิง แบ่งเป็น ไม่เคยได้รับการศึกษา ร้อยละ 13.01 ระดับอนุบาล ร้อยละ 2.56 ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 9.30 ประถมศึกษา ร้อยละ 38.24 มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 9.74 มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 12.28 อนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือ ปวส. ร้อยละ 2.46 ปริญญาตรีหรือ เทยี บเท่า รอ้ ยละ 11.25 และสงู กวา่ ปรญิ ญาตรี ร้อยละ 1.18 (ตารางภาคผนวกท่ี 8) และมีสถานศึกษาและแหล่ง ความรู้ในตำบลชา่ งเค่งิ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นประถมศกึ ษาจำนวน 6 แห่ง โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา จำนวน 2 แหง่ ที่อ่าน หนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน และห้องสมุดประชาชนจำนวน 18 แห่ง และหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการบ้าน หนังสืออจั ฉริยะ จำนวน 8 แหง่
  1. การไฟฟ้า ปจั จุบนั มีไฟฟา้ ใชเ้ กือบทุกครวั เรือนคงเหลือหย่อมบ้านป่าบงเปียง ในหมู่ 13 บ้านป่าตึง ที่ยงั ไม่มไี ฟฟ้าใช้ เนอ่ื งจากอยใู่ นพ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติอินทนนท์ จำนวน 8 ครวั เรอื น คดิ เป็นร้อยละ 0.32 ของ จำนวนครัวเรือนทั้งหมด ปัญหาในเรื่องของไฟฟ้าคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถ ดำเนินการครอบคลุมพืน้ ท่ไี ด้ทงั้ หมด เนื่องจากพ้นื ที่รบั ผดิ ชอบมีขอบเขตที่กวา้ ง
  1. การคมนาคม เส้นทางคมนาคมสะดวก ถนนสายหลักเป็นถนนลาดยางแอสฟัลต์ติคและคอนกรีต เสริมเหล็ก ถนนสายรองเป็นถนนคอนกรีตและถนนลูกรัง สามารถคมนาคมได้โดยสะดวกทัว่ ทั้งพนื้ ท่ี

2.1.9 ตำบลแมศ่ ึก อำเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชยี งใหม่

  1. ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นท่ีทั่วไปของตำบลแม่ศึกมีลักษณะพื้นท่สี ว่ นใหญเ่ ป็นภูเขาสูงชัน สลับขับ ข้อน ความสูงจากระดับน้ำทะเลเฉลี่ยปานกล้างตั้งแต่ 800-1,800 เมตร มีลำห้วยท่ีสำคัญ ได้แก่ ลำห้วยแม่หยอด ลำห้วยปางเกย๊ี ะ ลำหว้ ย แม่ออ ห้วยแม่น้ำเขยี ว หว้ ยผาละปิ หว้ ยผักกูด หว้ ยแมร่ าจี หว้ ยบง หว้ ยแม่ละมา น้ำไหลลงสู่ ลำน้ำ แม่หยอด ซงึ่ ไหลบรรจบแม่น้ำแม่แจ่มบริเวณบ้านห้วยสบจอก มพี ้นื ทีร่ าบเล็กน้อยตามสองข้างลำหว้ ยตา่ งๆ และ สองข้างลำน้ำแมห่ ยอด และอยใู่ นเขตป่าสงวนแหง่ ชาตเิ กอื บท้ังพ้ืนที่มแี ม่น้ำแจ่ม แม่นำ้ ขนุ แม่นาย และแมน่ ้ำแม่หยอด เป็นสายหลัก (องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลแมศ่ กึ ,2562)
  2. จำนวนครัวเรอื น และประชากร ตำบลแมศ่ ึกประกอบดว้ ย 17 หมู่บา้ น มจี ำนวนครัวเรือนท้ังหมด 3,371 ครัวเรือน และมีประชากรรวมทั้งหมด 13,028 คน แบ่งเป็นเพศชาย 6,746 และเพศหญิง 6,282 คน คณะวิจัยได้ดำเนินการวิจัยที่บ้านกองกาน มี 123 ครัวเรือน 294 คนแยกเป็นชาย 149 คนและหญิง 145 คน (ตารางภาคผนวกท่ี 9)
  3. การประกอบอาชีพ สภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปของตำบลแม่ศึก ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกร ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพรบั จา้ ง รอ้ ยละ 20 และรอ้ ยละ 10 ประกอบอาชีพค้าขายและรับราชการ มจี ุดเดน่ ของพน้ื ท่ีคือ จดุ บริการนกั ท่องเท่ียวเชิงเกษตร (ศนู ย์พฒั นาโครงการหลวงบ้านปางอุ๋ง) มีทรัพยากรป่า ไมแ้ ละทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีดนิ ทำการเกษตรทีอ่ ุดมสมบูรณ์ มีแหล่งท่องเท่ยี วธรรมชาติ 3.1) การเกษตร ส่วนมากเกษตรกรมีอาชพี ทางการเกษตรที่เปน็ พืชเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ แยกได้ดงั นี้

พชื ผกั ทัว่ ไป ได้แก่ ข้าว, ถ่วั เหลอื ง, ผลไมเ้ มืองหนาว, ข้าวโพด ปศุสัตว์ ไดแ้ ก่ โค, กระบอื , สกุ ร, ไก่พ้นื เมอื ง, ไก่ไข,่ เป็ดเทศ และช้าง

16

3.2) อุตสาหกรรม ในเขตตำบลแม่ศกึ มอี ุตสาหกรรมขนาดเลก็ หลาแห่ง ได้แก่ (1) ผลติ ภณั ฑก์ าแฟยอดไผ่ (2) อิฐบล็อกประสานบ้านนาฮอ่ ง (3) กลมุ่ สง่ิ ทอสตรี ไดแ้ ก่ ส่งิ ทอผ้าตนี จกบ้านนาฮ่อง สงิ่ ทอผา้ บ้านห้วยบง สง่ิ ทอผ้าบา้ นกองกาน

  1. รายได้ของครัวเรือนต่อปี และรายได้เฉล่ยี ของประชากร รายไดเ้ ฉลยี่ ครวั เรือนต่อปีของครัวเรือน ในตำบลแม่นาจรคือ 173,500.42 บาท และมีรายได้เฉลี่ยของประชากรอยู่ที่ 50,028.66 บาทต่อคน โดย รายได้แตกต่างกันตามการประกอบอาชพี และที่ตั้งของหมบู่ ้าน(ตารางภาคผนวกท่ี 10)
  1. การศึกษา ในเขตตำบลแม่ศึกมีมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 23 แห่ง โรงเรียนในสังกัด สำนัก คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (สพฐ.)จำนวน 10 แหง่ และศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา (แมฟ่ ้าหลวง)
  1. การคมนาคม การติดต่อกับตัวเมืองเชียงใหม่ ได้ 2 ทางคือ ผ่านทางอำเภอแม่แจ่มจังเชียงใหม่ ระยะทางประมาณ 190 กิโลเมตร ใช้ระยะเดินทางประมาณ 4 ชั่วโมง และอีกเส้นทางผ่านทางอำเภอขุนยวม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ระยะทางประมาณ 310 กโิ ลเมตรใชร้ ะยะเวลาเดนิ ทางประมาณ 5 ช่วั โมงเส้นทางคมนาคม ระหว่างหน่วยงานกับชุมขนในพื้นที่อาศัยถนนป่าไม้ ซึ่งเป็นถนนหน้าดินอ่อนใช้งานได้เฉพาะในฤดูแล้ง ฤดูฝน การเดินทางเป็นไปด้วยความยากลำบากในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชยี งใหม่ สว่ นมากเปน็ ถนนลกู รัง เขตตดิ ตอ่ ระหวา่ งหมูบ่ า้ นเปน็ ถนนลูกรังเกือบทงั้ หมด ที่มีถนนลาดยางผ่านมี หมบู่ า้ น หมู่ที่ 1 หมทู่ ่ี 6 หมู่ท่ี 7 และหมู่ท่ี 11

2.1.10 ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ ตำบลแม่นาจรมีสภาพเป็นป่าเขาและภูเขาสูงชัน ทุรกันดาร การคมนาคมไม่สะดวกและอยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติเกือบท้ังพื้นที่ มีแม่น้ำแจ่ม แมน่ ้ำขนุ แม่นาย และแมน่ ้ำแม่หยอดเป็นสายหลัก ตำบลแม่นาจรตั้งอยู่ทางทิศ เหนือของอำเภอแม่แจ่ม ระยะทางจากอำเภอถึงตำบลแม่นาจร ประมาณ 26 กิโลเมตร โดยมีระยะห่างจากอำเภอ ไกลสดุ ประมาณ 140 กิโลเมตรบรเิ วณเขตบ้านแม่แจ๊ะ หม่ทู ี่ 13

  1. ลักษณะภูมิประเทศ ตำบลแม่นาจรมีเนื้อที่ทั้งหมด 615.45 ตารางกิโลเมตร หรือ 384,670 ไร่ พื้นที่ร้อยละ 90 เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน มีความสูงจาก ระดับน้ำทะเลปานกลางช่วงประมาณ 700-1,000 เมตร มีที่ราบหุบเขาเพียงเล็กน้อย ซึ่งสงวนไว้เป็นที่ทำกิน (ทน่ี า) เป็นสว่ นใหญม่ ีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 4 สาย ไดแ้ ก่แมน่ ้ำแจ่ม แม่นำ้ แมจ่ ร แม่น้ำแมม่ ุ แม่น้ำแมส่ ะงะ ซ่ึง เป็นแหลง่ น้ำทม่ี ีความสำคัญต่อวิถีชวี ิตความเปน็ อยู่ของราษฎรในพืน้ ทเ่ี ป็นอยา่ งมาก โดยไหลผ่านจากทิศเหนือ ลงไปทิศใต้ การสัญจรไปมาระหว่างหมู่บ้านเป็นไปด้วยความยากลำบาก รถยนต์สามารถใช้การได้เฉพาะใน ฤดแู ลง้ สำหรบั ฤดฝู นตอ้ งใชร้ ถจักรยานยนต์หรือเดนิ เท้า
  2. จำนวนหมู่บ้าน ครัวเรือน และประชากร ตำบลแม่นาจรประกอบด้วย 19 หมู่บ้าน มีจำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 2,410 ครัวเรือน และมีประชากรรวมทั้งหมด 7,117 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,741 และเพศ หญิง 3,376 คน คณะวิจัยได้ดำเนินการวิจัยที่บ้านแม่นาจร มีประชากร 221 ครัวเรือนรวม 720 คนแยกเป็น ชาย 336 คนและหญิง 384 คน (ตารางภาคผนวกที่ 11)

17

  1. การประกอบอาชีพ อาชีพหลักส่วนใหญ่คือ การทำนาปีแบบขั้นบันได บริเวณที่ราบหุบเขาที่มีแหล่ง น้ำพอเพียง การปลูกข้าวไร่บริเวณลาดเขา และการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในฤดูฝน รองลงมาจะเป็นการเลี้ยงสัตว์ เช่น สกุ ร โค กระบือ ไก่ และการปลูกพืชผลไม้เมืองหนาวบริเวณพ้ืนท่ีสูง สำหรบั ในช่วงฤดูร้อนมีเกษตรกรบางส่วน ใชพ้ ้นื ที่นาในการปลูกหอมและถ่วั เหลือง (ณฐติ ากานต์ และคณะ,2562)
  1. รายไดข้ องครัวเรอื นต่อปี และรายได้เฉล่ยี ของประชากร ประชากรในตำบลแม่นาจรมีรายไดเ้ ฉล่ียของ ครัวเรือนตอ่ ปี 147,202.51 บาท และรายได้เฉลีย่ ของประชากรต่อปี 42,567.70 บาทตอ่ คน (ตารางภาคผนวกที่ 12)
  1. จำนวนกลุ่มอาชีพ ประชาชนร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนที่เหลือประกอบอาชีพ อื่นๆ เช่น รับจ้าง งานหัตถกรรม ค้าขาย รับราชการ และหาของป่า ทั้งนี้การทำการเกษตรส่วนใหญ่เป็นแบบ ปลกู พชื เชงิ เดย่ี ว ส่วนการเลยี้ งสตั ว์ เกษตรกรบางรายมกี ารเลี้ยงววั พนั ธ์ุพนื้ เมืองเป็นอาชีพ มีการเล้ียงไก่ และ หมูพนั ธ์ุ พื้นเมือง เพ่ือบรโิ ภคในครวั เรอื น (ณฐติ ากานต์ และคณะ,2562)
  1. การศึกษา จากการสำรวจข้อมูลของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอแม่แจ่ม (2564) พบว่า ระดับ การศึกษาของประชากรในตำบลแมน่ าจร แบ่งเปน็ ไมเ่ คยได้รบั การศกึ ษา รอ้ ยละ 23.24 ระดับอนบุ าล รอ้ ยละ 2.75 ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 11.30 ประถมศึกษา ร้อยละ 20.70 มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 12.07 มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 18.77 อนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือ ปวส. ร้อยละ 4.03 ปริญญาตรีหรือ เทยี บเทา่ รอ้ ยละ 7.12 และสูงกวา่ ปรญิ ญาตรี ร้อยละ 0.01 (ตารางภาคผนวกที่ 13)
  1. การคมนาคม ติดตอ่ ระหวา่ งตำบลและอำเภอ มีถนนลาดยางแอลฟัลส์ตัดผา่ นหมู่ท่ี 7 หมทู่ ี่ 5 และ หมู่ที่ 12 สามารถใช้การได้ดีตลอดปี ส่วนเส้นทางติดต่อระหว่างตำบลและหมู่บ้านในพื้นที่มีสภาพเป็นถนน ลกู รังและถนนดนิ ท่ไี ม่สามารถใช้การไดต้ ลอดปี

2.2 งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง จากปัญหาความมั่นคงด้านอาหาร โดยเฉพาะข้าวของอำเภอแม่แจ่ม มีหลายสาเหตุ คือ การ

ปรับเปลีย่ นพื้นที่ป่ามาเปน็ พืน้ ที่ปลกู ข้าว และพื้นที่มีความลาดชัน ขาดการปรับปรุงบำรุงดิน ดังจะเห็นไดจ้ าก ข้อมูลพื้นที่ปลูกข้าวของอำเภอแม่แจ่ม โดยพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) 7,463 ไร่ พื้นที่ไม่เหมาะสม

(N) 2,650 ไร่ และพื้นที่ป่า 4,319 ไร่ หรือดินในพื้นที่เพาะปลูกข้าวมีสมบัติไม่เหมาะสม เช่น มีความไม่สมดุล

ของธาตุอาหารพืช บางชนิดมีไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าว บางชนิดมีมากจนเป็นพิษ ทำให้ผลผลิต ข้าวลดลง นอกจากนี้เกษตรกรยังขาดความรู้การเกษตรหลายด้านทั้งด้านการปรับปรุงบำรุงดิน การดูแลรักษา การใช้ปุ๋ย และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว เป็นต้น การขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อใช้ในการเพาะปลูกก็เป็น ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผลผลิตข้าวลดลง หากมีระบบสำรองเมล็ดพันธุ์ข้าวก็สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ อีก สาเหตุคือปัญหาภัยแล้ง และ ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานานก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผลผลิตลดลงด้วย นอกจากน้ี ศตั รูพชื ข้าวท่สี งู ยังเป็นปัจจยั หนึ่งท่ที ำให้ผลผลิตข้าวถูกทำลาย โดยเฉพาะการเขา้ ทำลายเพลย้ี กระโดดหลังขาว และโรคไหม้ ทำใหผ้ ลผลิตขา้ วลดลง และมกี ารใชส้ ารป้องกันกำจัดศัตรูพชื ทางการเกษตรมากเกินความจำเป็น และใช้ไม่ถูกต้อง ทำให้เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากบนพื้นที่สูงเป็นป่าต้นน้ำลำธาร หากมีการลดการใช้ สารเคมีลงไม่เพียงพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรบนพื้นที่สูง ยังมีผลดีต่อประชาชนพื้นราบอีกด้วย จึงต้อง เร่งหาแนวทางเพื่อสร้างความมั่นคงดา้ นอาหาร โดยแนวทางในการแก้ปัญหาคือ การประชุมร่วมกับหน่วยงาน

18

และเกษตรกรในพื้นที่เพื่อทราบถึงปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อหาวิธีการยกระดับ ผลผลติ ข้าวจาก 459 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ โดยใชเ้ ทคโนโลยีการผลิตขของกรมการข้าว ได้แก่ พันธุข์ ้าว เขตกรรม การ ผลิตเมลด็ พันธ์ุดี การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน วัชพืชและการป้องกนั กำจัดศัตรูข้าวท่ีสำคัญในพ้นื ที่ให้ เกิดเสถียรภาพในการผลิตเพิ่มมากขึ้น และการจัดตั้งธนาคารข้าวเพื่อเป็นแหล่งสำรองเมล็ดพันธุ์ข้าวให้แก่ เกษตรกรในพน้ื ที่

กรมการขา้ ว มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวท่สี ูงมาอย่างตอ่ เนื่อง โดยมแี นวทางการเพ่ิมผลผลิตข้าวท่ีสูง ไดแ้ ก่ 1. การใช้ปุ๋ยเคมี

กรมการข้าวได้ดำเนินการค้นคว้าวิจัยและทดสอบการใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวในแปลงนา เกษตรกรเป็นระยะยาวนาน จนไดค้ ำแนะนำการใชป้ ุย๋ เคมใี นนาข้าว โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อใหเ้ กษตรกรมกี ารใช้ ปุ๋ยได้อยา่ งถกู ต้องตามความตอ้ งการของขา้ ว เพมิ่ ผลผลติ ต่อไร่ และลดต้นทุนการผลติ

ในฤดนู าปี 2554 อภวิ ฒั น์ (2559) ดำเนินงานวจิ ยั เร่ือง การประเมนิ ความต้องการธาตุอาหาร หลักของข้าวนาขั้นบันไดโดยวิธี Omission Plot Technique พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีทำให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 40 เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี และกรรมวิธีใส่ปุ๋ยธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และเพิ่ม โพแทสเซียมตามอัตราค่าวเิ คราะห์ดิน (+NPK) และกรรมวิธีใส่ปุ๋ยธาตุอาหารฟอสฟอรัส และเพิ่มโพแทสเซียม ตามอตั ราค่าวิเคราะหด์ ิน (+PK หรอื -N) ทำให้ขา้ วพนั ธุ์ กข39 มีผลผลิตสงู สดุ เฉล่ีย 393 และ 392 กโิ ลกรัมต่อ พน้ื ที่เกบ็ เก่ียว 1 ไร่ตามลำดบั และแตกต่างอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีไม่ใส่ธาตุอาหารหลัก (-NPK) ที่ ให้ผลผลิตข้าวเพียง 257 กิโลกรัมต่อพื้นที่เก็บเกี่ยว 1 ไร่ สอดคล้องกับการประเมินธาตุอาหารหลักที่เป็นตัว จำกัดในการผลิตขา้ วนาขั้นบันไดของสมเกยี รติ (2546) พบวา่ การใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสทำให้ผลผลิตเพ่ิมขึ้นร้อยละ 50 และการใสป่ ุย๋ โพแทสเซยี มผลผลิตขา้ วเพมิ่ ขึ้นเพยี งเล็กน้อย ในทำนองเดยี วกันกบั การขยายผลเทคโนโลยกี ารใส่ ฟอสฟอรัสในดินนาเกษตรกร ในโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรดอยอมพายตามพระราชดำริ ของศิวะพงศ์ และสมเกียรติ (2549) การใส่ปุย๋ ฟอสฟอรัสในนาข้ันบนั ได ทำใหผ้ ลผลติ ขา้ วเพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 63

นอกจากนี้สมเกียรติ (2552) ได้ทำศึกษาการใส่ปุ๋ยทริปเปิ้ลซูเปอร์ฟอสเฟต หรือหินฟอสเฟตตาม อัตราค่าวิเคราะห์ดิน เทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีในแปลงนาขั้นบันไดของเกษตรกรบ้านห้วยเขียดแห้ง หมู่ที่ 5 ต.แจ่ม หลวง อ.แมแ่ จ่ม จ.เชยี งใหม่ พบวา่ การใส่ปุ๋ยทริปเปิล้ ซูเปอรฟ์ อสเฟตตามอัตราค่าวิเคราะหด์ ิน (6 กิโลกรัม P2O5ตอ่ ไร่) ทำให้ได้ผลผลติ ข้าวพันธุ์บอื โปะโละสงู สุดเฉลีย่ 565 กิโลกรัมตอ่ ไร่ และไม่แตกต่างกันทางสถติ ิกบั กรรมวิธีการใส่ป๋ยุ ท ริปเปิ้ลซูเปอรฟ์ อสเฟตครึ่งหน่ึงตามอัตราคา่ วิเคราะหด์ นิ (3 กโิ ลกรัม P2O5ตอ่ ไร่) ซงึ่ ไดผ้ ลผลติ เฉลี่ย 482 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

ดังนั้นปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และความเป็นกรดของดิน เป็นปัจจัยด้านความอุดม สมบูรณท์ ่ีจำกดั การเจรญิ เตบิ โตของข้าวบนพน้ื ทีส่ งู มากทสี่ ุด การขาดธาตฟุ อสฟอรสั ทำให้ลำต้นข้าวแคระแกร็น แตก กอน้อย ใบแคบ สั้นตั้งตรง มีสีเขียวเข้ม และให้ผลผลิตข้าวต่ำ การใส่หินฟอสเฟต (0-3-0) อัตรา 350 กิโลกรัมต่อไร่ ในแปลงทดสอบดนิ นาที่สงู ของเกษตรกร ทำใหข้ า้ วมกี ารตอบสนองตอ่ การใส่หนิ ฟอสเฟตอย่างชัดเจน และทำใหไ้ ด้ผล ผลิตข้าวเพิ่มขึ้นร้อยละ 34 (สมชายและปฏิภาณ, 2543) สอดคล้องกับอภิวัฒน์ (2560) ที่ดำเนินการศึกษาเรื่อง ผล ของธาตฟุ อสฟอรัสร่วมกับโพแทสเซยี มทม่ี ตี อ่ ผลผลิตข้าวนาข้ันบันได ท่ีแปลงนาข้นั บนั ไดในเขตบ้านยงั้ เมนิ อำเภอสะ เมิง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในฤดนู าปี 2558 พบวา่ การใสโ่ พแทสเซยี มท่ี 0กิโลกรมั K20ต่อไร่ รว่ มกับฟอสฟอรัสในอตั รา 3

19

หรือ 6 กิโลกรัมP2O5ต่อไร่ ทำให้ข้าวพันธุ์สันป่าตอง 1มีผลผลิตมากกว่าการไม่ใส่ฟอสฟอรัส1เท่า ในทำนองเดียวกันการใส่ ฟอสฟอรัสในอัตรา 0กโิ ลกรมั P2O5ต่อไร่ รว่ มโพแทสเซยี มอัตรา 6 หรือ 9 กโิ ลกรมั K20 ตอ่ ไร่ ทำให้ขา้ วพนั ธุ์สันป่าตอง 1 มีผลผลิตข้าวมากกว่าการไม่ใส่โพแทสเซียม 1 เท่า แต่ในฤดูนาปี 2559 การใส่ฟอสฟอรัสร่วมกับโพแทสเซียมทุก ระดับไม่มีปฏสิ ัมพันธต์ อ่ ผลผลิตข้าวพันธุ์สันปา่ ตอง 1 แต่การใส่ฟอสฟอรสั เพียงอย่างเดียวที่ 6 กิโลกรมั P2O5 ต่อไร่ ทำให้ข้าวพนั ธุส์ นั ปา่ ตอง 1 มีผลผลติ ขา้ วเพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ 36 และแตกตา่ งกบั กรรมวิธไี ม่ใส่ฟอสฟอรัสอยา่ งมีนัยสำคัญ ในทำนองเดียวกัน การใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมอัตรา 9 กิโลกรัม K20 ต่อไร่ ทำให้ข้าวพันธุ์สันป่าตอง 1 มีผลผลิตข้าว เพ่ิมขึ้นรอ้ ยละ 19 เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ไมใ่ ส่โพแทสเซยี มอย่างมีนัยสำคัญ

2. พันธุข์ า้ ว พนั ธขุ์ า้ วเปน็ ปจั จยั หน่งึ ที่มคี วามสำคญั อันดบั แรกในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว โดยไม่ต้องเพ่ิม ต้นทุนการผลิต ถ้าหากว่ามีพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ มีความต้านทานต่อโรคแมลง และมีความ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิน่ แล้วจะเป็นการลดค่าใชจ้ า่ ยในการผลิตข้าวหรือเป็นการลดต้นทุน การผลติ ขา้ วได้เปน็ อย่างดี โดยขา้ วทเ่ี หมาะสมกับความต้องการของเกษตรกรในพื้นท่ี คือ 2.1 สนั ป่าตอง 1 เป็นข้าวเหนียวไม่ไวต่อชว่ งแสง มีความสูง 119 เซนติเมตร อายุเก็บเกีย่ ว 130-135 วัน ผลผลติ เฉลี่ย 630 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ขา้ วพันธ์ุสันปา่ ตอง 1 มีลักษณะเดน่ คือ สามารถต้านทานโรคไหมแ้ ละโรค ขอบใบแห้ง แต่ไม่ต้านทานแมลงบวั่ 2.2 เหนียวสันป่าตอง เป็นข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสง มีความสูง 150 เซนติเมตร ผลผลิตเฉลี่ย 526 กิโลกรัมต่อไร่ ข้าวเหนียวสันป่าตองมีลักษณะเด่นคือ สามารถต้านทานโรคใบจุดสีน้ำตาล และค่อนข้าง ต้านทานโรคไหม้ แตไ่ ม่ต้านทานแมลงบัว่ 2.3 กข22 เป็นข้าวเหนยี วไม่ไวต่อชว่ งแสง มคี วามสงู 120 เซนตเิ มตร อายเุ ก็บเกีย่ วประมาณ 130 วัน ผลผลติ เฉลีย่ 684 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ มลี ักษณะเดน่ คือ มกี ล่ินหอม สามารถต้านทานต่อโรคไหม้ และแมลงบ่ัว

3. เช้อื จลุ นิ ทรียป์ ฏิปักษ์ การจัดการโรคพืชดว้ ยวิธีชวี ภาพ เปน็ การควบคุมโรคโดยวธิ ธี รรมชาตหิ รอื เลยี นแบบธรรมชาติ

โดยปกติในธรรมชาตสิ ่ิงมชี วี ิตต่างๆจะมีการส่งเสริมซึ่งกันและกันหรือมีการแข่งขนั ต่อสู้กันเพื่อการเจริญเติบโต และการดำรงชีพดังน้ัน “การควบคุมโรคพชื ด้วยวิธชี ีวภาพจึงเป็นการนำเอาสิ่งมีชวี ิตหรือเชื้อจลุ นิ ทรีย์ที่เรียกว่า สิ่งมีชีวิตปฏิปักษ์หรือเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติมายับยั้งการเจริญเติบโตหรือทำลายเชื้อโรคพืช ไม่ให้ทำอันตรายต่อพืช” เชื้อจุลินทรีย์หลายชนิดเป็นเชื้อปฏิปักษ์ที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะเชื้อราและเชื้อ แบคทเี รีย ซง่ึ เปน็ เช้ือจุลินทรีย์กลมุ่ ใหญท่ ี่มีประสิทธภิ าพในดา้ นการควบคมุ โรคได้ดี ปจั จบุ ันมกี ารผลติ ใชห้ รอื จำหน่าย มากที่สุด เชื้อราที่นิยมนำมาใช้ คือ ไตรโคเดอร์มา ฮาร์เซียนัม (Trichoderma harzianum) ส่วนเชื้อแบคทีเรยี ได้แก่ บาซิลลสั ซับทิลสิ (Bacillus subtilis) และซโู ดโมนาส ฟลอู อเรสเซนซ์ (Psudomonas fluorescens) (นิพนธ์, 2553)

ที่ผ่านมากองวิจัยและพัฒนาข้าวได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับการใช้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์เพ่ือ ควบคุมโรคข้าวมากมาย เช่น โรคไหม้ โดยรัศมี และคณะ (2546 ก) ได้ทำการแยกและคัดเลือกแบคทีเรีย ปฏิปักษ์ที่อาศัยร่วมกับต้นข้าว มาศึกษาประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา P. grisea ใน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และทดสอบประสทิ ธิภาพโดยวิธี dual culture test พบวา่ เช้ือแบคทีเรยี ปฏิปักษจ์ ำนวน 3 ไอ

20

โซเลท ได้แก่ B-059, B-097 และ B-125 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคไหม้ได้ดี ที่สุด จากนั้นได้นำเชื้อแบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลท มาทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไหม้ของข้าวใน สภาพแปลงนาพบว่า แบคทเี รียทั้ง 3 ไอโซเลท มีประสทิ ธภิ าพในการควบคุมโรคขอ้ ต่อใบเนา่ และเน่าคอรวงได้ โดยมีเปอรเ์ ซน็ ต์การเกิดโรคต่ำกว่ากรรมวธิ เี ปรยี บเทียบ (รัศมี และคณะ 2546ข)

นอกจากนี้ จากงานวิจัยโครงการแยกและคัดเลือกจุลินทรยี ์ปฏิปักษ์ในการควบคุมแมลงศัตรู ขา้ วท่สี ำคัญของกองวจิ ัยและพัฒนาข้าวที่ดำเนินการในปี 2558 – 2560 โดยพยอม โคเบลลี่ และคณะ (2561) ได้ทำการแยกเช้ือราสาเหตุโรคจากซากเพลี้ยกระโดดสนี ำ้ ตาลและแมลงหล่า และนำไปจำแนกชนดิ พบว่าเปน็ เชื้อรา Beauveria bassiana เมื่อนำไปทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในสภาพ โรงเรือน พบเปอร์เซ็นต์การตายเฉลี่ย 65.66 เปอร์เซ็นต์ และดวงกมล บุญช่วย และคณะ (2561) ได้ศึกษา ประสิทธิภาพของเชื้อรา Metarhizium anizopliae ในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล พบว่า เชื้อรา M. anizopliae ไอโซเลท MNNKI031 MNMHN034 และ MNPRE033 มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โดยพบเปอร์เซ็นต์การตายเฉลี่ย 65 เปอร์เซ็นต์ และใช้เวลาทำให้แมลงตาย 50 เปอร์เซ็นต์ 6 วัน สอดคล้อง กับนภสร แก้ววิเศษ และคณะ (2561) ที่ได้ศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อรา Metarhizium album ในการ ควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล พบว่า เชื้อรา M. album ไอโซเลท UBN038 MNMHN034 และ MNPRE033 มปี ระสิทธิภาพในการควบคุมเพลย้ี กระโดดสนี ำ้ ตาล โดยพบเปอร์เซ็นต์การตายเฉลย่ี 66.46 เปอรเ์ ซ็นต์ และใช้เวลา ทำให้แมลงตาย 50 เปอร์เซ็นต์ 7 วัน จากผลของงานวิจัยที่ผ่านมาของกรมการข้าว จะเห็นได้ว่ากรมการข้าวมี เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพในการควบคุมศัตรูข้าวที่สำคัญมากมาย ดังนั้น งานวิจัยนี้ จึงมุ่งศึกษางานวิจัย ในเชิงการนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ โดยทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อจลุ ินทรีย์ปฏิปักษ์ต่อการควบคุมโรคและแมลงท่ี สำคญั ในพน้ื ที่ ซึง่ เปน็ การตอ่ ยอดงานวจิ ยั และถ่ายทอดเปน็ เทคโนโลยีการจดั การศตั รูข้าวทีเ่ หมาะสมตอ่ ไป

4. การใช้ปยุ๋ ชวี ภาพ เปน็ ทางเลอื กหนงึ่ ในการเพ่มิ ผลผลิตข้าวนาขั้นบันได โดยปุ๋ยชวี ภาพคอื ปุ๋ยที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์

ที่มีชีวิต ที่สามารถสร้างธาตุอาหาร หรือช่วยให้ธาตุอาหารเป็นประโยชน์กับพืช (กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน, 2538) ปจั จบุ นั ในประเทศไทยได้มีความสนใจศึกษาประโยชน์ของจลุ ินทรียท์ ี่อาศัยบริเวณรอบๆรากข้าวเพ่ิมมากข้ึน เน่ืองจาก พบวา่ มีศกั ยภาพในการใช้เป็นป๋ยุ ชวี ภาพสำหรับขา้ วได้ (Meunchang et al., 2004) ปุ๋ยชีวภาพในปจั จบุ ันประกอบดว้ ย จลุ นิ ทรีย์ทชี่ ว่ ยใหธ้ าตอุ าหารเปน็ ประโยชนต์ ่อพืช เช่น ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต ปุ๋ยชีวภาพพจี ีพอี าร์ และปยุ๋ ชีวภาพไมโคไรซ่า (จริ ะศกั ด์ิและคณะ, 2548)

ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ข้าว(Plant Growth Promoting Rhizobacteria ; PGPR1) หมายถึง ปุ๋ยที่ประกอบด้วยแบคทีเรียที่อาศัยอยู่บริเวณรากพืช ที่สามารถช่วยสร้างธาตุอาหาร หรือช่วยเพิ่มความ เป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชบางชนิด ประกอบด้วยแบคทีเรียที่แยกได้จากบริเวณรากพืช 3 สกุล ได้แก่ อะโซโตแบคเตอร์ (Azotobacter) อะโซสไปริลลัม (Azospirillum) และไบเจอริงเคีย (Beijerinckai) โดยแบคทีเรียดังกล่าวสามารถตรึงไนโตรเจน สร้างสารกระตุ้นการเจรญิ เติบโตของพืชละลายฟอสเฟตให้อย่ใู น รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (กรมวิชาการเกษตร, 2548) สอดคล้องกับสมปองและคณะ (2550) ทดลองใช้พีจีพี

21

อารก์ ับขา้ วในแปลงทดลอง พบว่า การใช้พจี ีพีอาร์ ช่วยให้ผลผลิตขา้ วเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.7 เม่ือเทียบกับการไม่ ใช้พีจพี อี าร์ หรือเทียบเท่ากบั การใช้ปุ๋ยไนโตรเจน 3 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่

ปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต เป็นปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ช่วยละลาย ฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์หลักเป็นจุลินทรีย์ประเภทเชื้อรา Penicillium sp. และเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas sp. ที่สามารถละลายหินฟอสเฟต และฟอสเฟตที่มีอยู่ในดินบางรูปที่พืชไม่สามารถใ ช้ ประโยชน์ได้ ให้ละลายออกมาเป็นประโยชน์แก่พืช และสามารถสังเคราะห์สารช่วยในการเจริญเติบโตของพชื (สุปราณี, 2550) สอดคล้องกับอภิวัฒน์ (2560) ได้ทำการคลุกและไม่คลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ข้าว และปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต ร่วมกับการใส่และไม่ใส่ปุ๋ยเคมี ที่แปลงทดลองข้าวและธัญพืช เมืองหนาวดงหลักหมื่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า การคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ละลาย ฟอสเฟต หรือปุ๋ยชีวภาพพจี พี ีอาร์ ข้าว รว่ มกบั การใส่ปยุ๋ เคมคี ร่งึ หน่ึงของอัตราตามค่าวเิ คราะหด์ ิน สามารถทำ ให้ผลผลติ ขา้ วพันธุ์ กข39 เทยี บเท่ากับการใส่ปุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน

5. การปรบั ปรุงบำรุงดนิ ดว้ ยป๋ยุ พชื สด เป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินได้ โดยปุ๋ยพืชสดจัดเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ได้ จากการไถกลบต้นพืชทีย่ ังสดอยู่ลงไปในดิน เป็นธาตุอาหารแก่พืชทีป่ ลูกตามมา ซึ่งเหมาะสมกบั การเกษตรบนพื้นทีส่ งู เนอื่ งจากเปน็ วธิ ีการท่ลี ดการพึง่ พาปจั จยั การผลติ จากภายนอกชมุ ชนและเกษตรกรสามารถเกบ็ รักษาเมล็ดพันธ์ุได้ด้วย ตนเอง โดยพืชที่ใช้เป็นพืชปุ๋ยสดมีหลายชนิด ได้แก่ ปอเทือง ถั่วแปยี ถั่วพร้า ถั่วพุ่ม โสนอัพริกัน โสนอินเดีย และบัควีต โดยปอเทืองนั้นเป็นพืชตระกูลถั่วที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ เจริญเตบิ โตได้ดีในพื้นที่สูง จึงมีการแนะนำให้ เกษตรกรปลูกและไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสดก่อนปลูกข้าว ปริมาณธาตุอาหาร มีไนโตรเจนร้อยละ 2.7 ฟอสฟอรัสที่เป็น ประโยชน์ร้อยละ 0.22 และโพแทสเซียมร้อยละ 2.40 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553) และอภิวัฒน์ (2553) ได้ทำการศึกษา การใชป้ อเทืองเปน็ ป๋ยุ พชื สดในนาขั้นบนั ไดในฤดนู าปี 2551 -2553 พบว่า ปอเทอื งมีการสะสมน้ำหนกั แห้ง จำนวน 534 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นปริมาณไนโตรเจนสะสม จำนวน 10.6 กิโลกรัมต่อไร่ และการใช้ปอเทืองเป็นปุ๋ยพืชสดเพียงอย่าง เดยี ว ทำให้ได้ผลผลติ ขา้ วพันธ์ุ กข39 เป็น 494 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ หรอื เพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 41 เม่อื เปรยี บเทยี บกับแปลงนาข้าว ท่ไี ม่มีการใส่ปยุ๋ ซ่ึงได้ผลผลติ ขา้ วเพยี ง 351 กิโลกรมั ต่อไร่ และการใชป้ อเทอื งเปน็ ปุ๋ยพชื สดรว่ มกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา ครึ่งหนึ่งของคำแนะนำ ทำให้ได้ผลผลิตข้าวไม่แตกตา่ งทางสถิติกับกรรมวิธีการใส่ปุ๋ยเคมีตามคำแนะนำ สอดคล้องกับ ผลการดำเนินงานทดลองของ อภิวัฒน์ (2559) พบว่า การปลูกปอเทอื งก่อนการปลกู ข้าวเทียบเท่าการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ประมาณ 4-8 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ หรือเทยี บเท่ากบั ปยุ๋ เคมี สูตร 21-0-0 จำนวน 19-38 กิโลกรัม

22

บทท่ี 3 ระเบียบวิธวี ิจยั

3.1 วิธีดำเนินการวจิ ัย กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลิตขา้ ว 1.1 ประชุมร่วมกับเกษตรกร ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และนักวิจัยในพื้นที่เป้าหมายเพื่อชี้แจง

โครงการ และรับสมัครเกษตรกรต้นแบบเข้าร่วมกจิ กรรม พรอ้ มท้ังดำเนินการเก็บข้อมูลพื้นฐาน ข้อมลู การผลิต ขา้ ว และปัญหาในการปลูกขา้ วทสี่ ูง

1.2 ดำเนนิ การถา่ ยทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิตข้าวท่สี ูงของกรมการขา้ ว ให้แก่เกษตรกรที่ ไดค้ ดั เลือกจากข้อที่ 1.1 โดยมีหัวขอ้ การฝกึ อบรมดงั นี้

1.2.1 พันธ์ขุ ้าวที่สงู ของกรมการขา้ ว 1.2.2 การปรบั ปรงุ บำรุงดินท่ีสูง โดยการใช้ปุ๋ยเคมี ป๋ยุ ชวี ภาพ สารปรับปรุงดิน และพืชปุ๋ยสด 1.2.3 การป้องกันกำจัดโรค แมลงศตั รูขา้ ว และสัตว์ศตั รขู ้าวที่เหมาะสม 1.2.4 วทิ ยาการหลังการเกบ็ เกี่ยวขา้ ว 1.2.5 การปลกู พืชหลังนาขา้ ว 1.3 ดำเนินการศึกษาแนวทางการสร้างความมั่นคงด้านอาหารของครัวเรือนในอำเภอแม่แจ่ม โดยใช้วิธีการ สัมภาษณ์เกษตรกรผู้ปลูกข้าวใน 3 พื้นที่ดำเนินการ คือ บ้านแม่ปาน ตำบลช่างเคิ่ง บ้านกองกาน ตำบลแม่ศึก และ บ้านแมว่ าก ตำบลแมน่ าจร โดยมีจำนวนแบบสมั ภาษณท์ ั้งหมด 60 ครัวเรือน 1.4 วเิ คราะหค์ วามมัน่ คงดา้ นอาหารของตัวแทนเกษตรกรผ้ปู ลกู ขา้ ว โดยใช้วธิ กี ารเชงิ พรรณนาและเชิงปรมิ าณ 1.5 สรปุ ผลการดำเนินงานพร้อมทัง้ จัดทำรายงานผลการถา่ ยทอดองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีการผลติ ขา้ วทีส่ ูง ของกรมการขา้ วและข้อมลู ความมั่นคงด้านอาหารของครัวเรือนในอำเภอแมแ่ จ่ม

กจิ กรรมท่ี 2 การปรบั ใชแ้ ละถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวท่ีสูงเฉพาะพน้ื ที่ 2.1 สิง่ ทใ่ี ช้ในการทดลอง

2.1.1 เมลด็ พนั ธ์ขุ า้ วท่เี หมาะสมในแตล่ ะพืน้ ที่ หรอื พันธุท์ เ่ี กษตรกรบนพื้นท่สี ูงใหค้ วามสนใจ 2.1.2 ปุ๋ยยูเรีย (46%N) ทริปเปิ้ลซูเปอร์ฟอสเฟต (46%P2O5) และโพแทสเซยี มคลอไรด์ (60%K2O) 2.1.3 เช้อื จุลนิ ทรียป์ ฏิปักษ์ 2.1.4 ป๋ยุ ชีวภาพ ได้แก่ ปุ๋ยชวี ภาพพีจพี อี าร์ ขา้ วและปุ๋ยชีวภาพจุลนิ ทรีย์ละลายฟอสเฟต 2.1.5 พืชปยุ๋ สด ได้แก่ ปอเทือง 2.2 แบบและวิธีการทดลอง 2.2.1 แผนการทดลอง (Experimental design) แบบ Randomized Complete Block จำนวน 2 ซ้ำ 2.2.2 ข้าวนาที่สูง กรรมวิธี ประกอบด้วยเทคโนโลยีการผลติ ข้าวนาท่ีสูงของกรมการขา้ วเปรียบเทยี บ กบั กรรมวธิ ีของเกษตรกร จำนวน 2 กรรมวธิ ี ไดแ้ ก่

  1. เทคโนโลยีการผลติ ขา้ วนาทสี่ ูงของกรมการขา้ ว โดยอาศัยขอ้ มลู การจดั ชดุ เทคโนโลยีจากกจิ กรรมที่ 1 หมายเหตุ เทคโนโลยีการผลติ ข้าวนาทส่ี ูงของกรมการขา้ ว ได้แก่

1.1) พนั ธข์ุ า้ วตามท่ีเกษตรกรต้องการ 1.2) การใส่ปุย๋ เคมี ได้แก่ การใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดิน 1.3) การใช้ปุย๋ ชีวภาพ ไดแ้ ก่ ปยุ๋ ชีวภาพพีจพี อี าร์ ขา้ ว 1.4) การปลูกปอเทืองเปน็ ปยุ๋ พชื สดก่อนการปลูกขา้ ว

23

1.5) การใช้เช้อื จุลินทรยี ป์ ฏปิ ักษ์ ไดแ้ ก่ การใช้ชีวภัณฑแ์ บคทเี รียปฏปิ ักษ์ ปอ้ งกันโรคไหม้ 1.6) การใช้สารเคมปี ้องกันโรคและแมลงศตั รูขา้ วตามคำแนะนำของกรมการขา้ ว

  1. การปลูกแบบปกั ดำดว้ ยคนและการจดั การของเกษตรกร (วธิ ีการของเกษตรกร) 2.3 วธิ ีปฏบิ ัตกิ ารทดลอง แบบ Technology-verification Experiment 2.3.1 คดั เลือกพืน้ ทีก่ ารทดลองในแปลงเกษตรกร 2.3.2 เก็บตัวอย่างดิน โดยสุ่มเก็บตัวอย่างดินทั้งกอ่ นการปลูกข้าว และหลังเก็บเกีย่ วผลผลิตขา้ ว เพ่ือ วเิ คราะหธ์ าตอุ าหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม) ปฏิกริ ิยาของดิน อนิ ทรียวตั ถุ และเนอ้ื ดนิ 2.3.3 ให้นวัตกรชุมชนเป็นผู้คัดเลือกเทคโนโลยีการผลิตของกรมการข้าวในข้อ 2.2.2 ที่ตนเองสนใจ รว่ มทดลองเปรยี บกบั กรรมวิธปี ฏบิ ัตขิ องตนเอง 2.3.4 กรรมวิธีทม่ี ีการปลกู ปอเทือง ให้หว่านเมล็ดพันธ์ปุ อเทือง อัตรา 5 กโิ ลกรัมต่อไร่ และไถกลบเป็น ปุ๋ยพืชสด เมอ่ื ปอเทืองอายไุ ด้ 55 วัน ตามกรรมวธิ ี 2.3.5 กรรมวธิ ที ใ่ี ส่ป๋ยุ ชีวภาพจุลินทรยี ล์ ะลายฟอสเฟต และปยุ๋ ชีวภาพพจี ีพอี าร์ ขา้ ว ให้คลกุ เมล็ดพนั ธุ์ ข้าว (อัตรา 8 กิโลกรัมต่อไร่) กับด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ข้าวอัตรา 500 กรัมต่อไร่ หรือปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ ละลายฟอสเฟตอัตรา 1,000 กรัมตอ่ ไร่ ตามกรรมวิธี สว่ นกรรมวิธที อี่ ่ืนให้ตกกล้าดว้ ยวธิ ีการปกติ 2.3.6 ปักดำข้าวตามกรรมวิธีข้อ 2.2.2 ในแปลงนาที่สูง กรรมวิธีละ 1 งาน ร่วมกับจัดการใส่ปุ๋ยเคมี และเช้อื จุลนิ ทรยี ป์ ฏิปกั ษ์ตามกรรมวิธีข้อ 2.2.2 2.3.7 ประเมนิ การยอมรบั ในการใชเ้ ทคโนโลยีในระหว่างการทำการทดลอง โดยการจัดประชุมนวัตกร ข้าว เพอ่ื การมสี ว่ นรว่ มและสรา้ งกระบวนการเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง 2.3.8 สรุปและประเมินผลการใช้เทคโนโลยี เพื่อปรับใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับพื้นที่ และสามารถ จะถ่ายทอดให้กับสมาชกิ ของกลุม่ เกษตรกรในพ้ืนท่ีเฉพาะ 2.4 การบนั ทึกข้อมลู 2.4.1 วเิ คราะห์และบนั ทึกความอดุ มสมบูรณ์ของดิน 2.4.2 บนั ทกึ การเจริญเตบิ โตและการพัฒนาของข้าว 2.4.3 ผลผลิตข้าว 2.4.4 ขอ้ มลู ต้นทนุ การผลิตในแตล่ ะกรรมวธิ ี 2.4.5 ข้อมลู การจดั การของเกษตรกร 2.4.6 ข้อมลู การยอมรบั ของเกษตรกร และข้อมลู อ่นื ๆ ทีจ่ ำเป็น

กจิ กรรมที่ 3 การพฒั นาระบบสำรองข้าวภายในชุมชนในรปู แบบธนาคารข้าว 3.1 จดั ประชุมร่วมกับผนู้ ำชมุ ชน เจา้ หนา้ ทภ่ี าครฐั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เพอื่ ช้ีแจงโครงการ และกำหนดแนวทาง ในการดำเนินงาน รวมท้งั การบริหารจดั การขา้ วตามวัตถุประสงค์ และการปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องสมาชกิ ในชมุ ชน 3.2 รวบรวม และคัดเลือกกล่มุ เกษตรกรทม่ี คี วามสนใจ พรอ้ มเรียนรู้ และปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอนการผลติ เมล็ดพันธุ์ 3.3 กำหนดพ้ืนท่ีของชมุ ชนเพ่ือเป็นแหลง่ ผลิตเมล็ดพันธุข์ ้าวท่ีได้รับการคดั เลือกจากเกษตรกรตรงตาม ความตอ้ งการของชมุ ชน 3.4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามองค์ความรู้ของกรมการข้าว เพื่อผลิตชั้นพันธ์ุ จำหน่าย ด้วยกระบวนการโรงเรียนชาวนา เพื่อให้เกษตรกรได้เรียนรู้และปฏิบัติตั้งแต่การคัดเลือกพื้นที่ การ เลือกพันธุ์ที่จะผลิต การวางแผนการผลิต การป้องกันกำจัดข้าวเรื้อ การปลูก ดูแลรักษา การตัดข้าวปน การ ตรวจแปลง และการเก็บเกย่ี วเมล็ดพันธข์ุ า้ ว

24

3.5 ให้ความรู้และติดตามกระบวนการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในยุ้งฉางของธนาคารชุมชน เพื่อลดความ สญู เสียในระหว่างการเก็บรกั ษา

3.6 จัดตั้งธนาคารเมล็ดพันธุข์ ้าว 3.7 จัดประชุมเกษตรกรหลังจากดำเนินงานธนาคารเมลด็ พันธุ์ข้าว เพื่อให้คณะกรรมการ และสมาชิก ได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และหาแนวทางปรับปรุงระบบการบริหารจัดการธนาคารข้าว เพื่อแก้ปัญหาที่ เกดิ ขึ้นจากการดำเนนิ งาน หรือเพอื่ ความเปน็ น้ำหนึง่ ใจเดียวกันของสมาชกิ เอง

25

บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย

4.1 ผลการดำเนินงานวจิ ยั

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ก่อนการดำเนินการวิจัยจึงได้ร่วมประชุมกลุ่มย่อยโดยมี เกษตรอำเภอแม่แจม่ เจ้าหนา้ ที่องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ผนู้ ำชมุ ชน ตวั แทนเกษตรกรในพื้นที่ และ นักวิชาการของศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินการของโครงการ และสอบถาม ปัญหาและความต้องการด้านขา้ ว โดยมปี ญั หาและความต้องการของชุมชน (ภาพท่ี 2 -5) ดังแสดงในตารางท่ี 4.1

ตารางท่ี 4.1 ปญั หาและความตอ้ งการให้กรมการข้าวเข้าไปชว่ ยแก้ไขการผลิตข้าวในพื้นท่ีอำเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่

ลำดบั ชมุ ชนเปา้ หมาย ปญั หาและความต้องการ 1 บา้ นแม่ปาน 1.1 การเข้าทำลายผลผลิตข้าวของศัตรูข้าวได้แก่ บั่ว เพลี้ยกระโดดหลังขาว และ 2 บ้านแม่นาจร โรคไหม้ 1.2 เกษตรกรใส่ปุย๋ เคมใี สใ่ นช่วงเวลาทไี่ ม่เหมาะสม และใส่ในปรมิ าณมากเกนิ ไป 3 บ้านกองกาน 1.3 การขาดแคลนเมล็ดพันธด์ุ ี 1.4 ลดการใช้สารเคมี เน่อื งจากผลผลิตขา้ วท่ีไดเ้ กษตรกรเก็บไว้เพ่ือการบริโภค 2.1 การเข้าทำลายผลผลิตข้าวของศัตรูข้าวได้แก่ หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยกระโดด หลงั ขาว และโรคไหม้ 2.2 เกษตรกรตอ้ งการลดการใช้ปยุ๋ เคมี 2.3 เกษตรกรขาดแคลนเมล็ดพนั ธุ์ดี 2.4 ลดการใช้สารเคมี เนอื่ งจากผลผลิตข้าวที่ได้เกษตรกรเกบ็ ไวเ้ พ่อื การบรโิ ภค 3.1 การเข้าทำลายผลผลิตขา้ วของศตั รูขา้ วไดแ้ ก่ เพล้ียกระโดดหลังขาว และ 3.2 เกษตรกรตอ้ งการลดตน้ ทุนการผลติ ขา้ ว

ภาพที่ 2 เจ้าหนา้ ที่เกษตรอำเภอและเจา้ หน้าท่ีศูนยว์ จิ ยั ขา้ วเชยี งใหม่ลงพ้นื ท่เี พ่ือพบเกษตรกรในพ้ืนท่ี