กรมพ ฒนาฝ ม อแรงงาน เขต ด นแดง กร งเทพมหานคร

กรมสวÇÒÃÊÒÃรงงาน

¾Ñ²¹ÒÁҵðҹáç§Ò¹ัสดิการและคุมครองแ »‚ 2564 ©ººÑ ·Õè 2

เนอ้ื หาภายในเล่มประกอบด้วย ติดตามอา่ นไดท้ ่ี

พธิ มี อบธงสัญลกั ษณ์ และใบประกาศเกยี รติคุณ GLP http://tls.labour.go.th

สาระนา่ ร้เู ก่ยี วกบั แรงงาน คำพิพากษาทนี่ า่ สนใจ

บทบรรณาธกิ าร

วัสดีผู้อ่านทุกท่าน ขอพาท่านเข้าสู่โลกแห่งความรับผิดชอบทางสังคม

สดว้ ยวาสารพฒั นามาตรฐานแรงงาน ฉบบั ที่ 2 ประจำ�ปี 2564 นช่วงท่ีผ่านมากรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้จัดงานนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบ

ใแนวปฏิบัติการใช้แรงงานท่ีดี (Good Labour Practices : GLP) ในพ้ืนท่ี

จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งทางผู้จัดทำ�ได้สรุป รวบรวมบรรยากาศภายในงานดังกล่าว ไวใ้ นวารสารฉบบั นแ้ี ลว้ สำ�หรบั คอลมั ภป์ ระจำ�กม็ เี นอ้ื หาสาระทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ทกุ ทา่ นดงั เดมิ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกบั สทิ ธแิ รงงานสตรี การฝกึ อบรมความปลอดภยั ในการทำ�งานเกย่ี วกบั ไฟฟา้ และคำ�พพิ ากษาทน่ี า่ สนใจ ซง่ึ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ทกุ ทา่ น สามารถนำ�มาประยกุ ตใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน

ทีในปจั จุบนั ได้ มบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับสาระความรู้ในด้านต่าง ๆ เกยี่ วกบั ความรบั ผดิ ชอบทางสงั คมดา้ นแรงงานและความรเู้ กย่ี วกบั แรงงานดา้ นอน่ื ๆ เพิ่มข้ึน ขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนร่วม ในเนื้อหาสาระความรู้ของวารสารพัฒนา มาตรฐานแรงงานฉบับนี้

แล้วพบกนั ใหม่ในฉบับหน้า บรรณาธิการ

contents

4 พธิ ีมอบธงสัญลักษณ์ และใบประกาศเกยี รติคุณ GLP

สาระน่ารูเ้ ก่ยี วกบั แรงงาน

6 สิทธแิ รงงานสตรี จากความเหล่อื มล้ำ�...

สู่ความเป็นธรรมและเท่าเทยี ม

10 การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำ�งานเก่ียวกบั ไฟฟ้า

คำ�พิพากษาท่ีนา่ สนใจ

12 การท่ลี กู จา้ งไม่สามารถทำ�งานไดค้ รบระยะเวลา

ตามทก่ี ำ�หนดไว้ในสัญญา

»»P.15 »»P.15 »»P.15

ทีป่ รึกษา บรรณาธิการ อธบิ ดกี รมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ปผูอ้ ร�ำ นะวธยากานรกอลุม่ำ�งนานวพฒัยนการาะรบบมาตรฐานแรงงาน รองอธิบดกี รมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ผสูต้ ำร�วนจรักาชงกาารนกรม ผูอ้ �ำ นวยการส�ำ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน

ส�ำ นกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ถนนมติ รไมตรี เขตดนิ แดง กรงุ เทพมหานคร 10400

โทรศัพท์ 0 2246 8294 , 0 2246 8370 และ 0 2245 7211 3

พธิ ีมอบธงสญั ลกั ษณ์ และใบประกาศ เกียรติคุณแก่สถานประกอบกจิ การ ที่นำ�แนวปฏบิ ัติการใชแ้ รงงานทด่ี ี (Good Labour Practices: GLP) ไปใช้ในการบริหารจัดการแรงงาน ในพน้ื ที่จังหวดั นครราชสีมา

วันศุกร์ท่ี 26 มีนาคม 2564 เวลา 10.00 น. ณ ศูนย์การค้า terminal 21 จงั หวดั นครราชสีมา นายไพโรจน์ โชติกเสถียร รองปลัดกระทรวงแรงงาน เปน็ ประธาน ในพิธีมอบธงสัญลักษณ์และใบประกาศเกียรติคุณแก่สถานประกอบกิจการ และเขต อุตสาหกรรมที่นำ�แนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี (Good Labour Practices: GLP) ไปใช้ โดยมีนางโสภา เกียรตินิรชา รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กล่าวรายงาน ถึงวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั งานว่า เพือ่ ประกาศเกยี รติคณุ และยกย่องสถานประกอบกิจการ และเขตอตุ สาหกรรมในจังหวัดนครราชสมี าท่ีมุ่งมั่นในการนำ�แนวปฏิบตั กิ ารใช้แรงงานท่ีดี มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การดา้ นแรงงาน ซงึ่ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม สามารถเปน็ ตน้ แบบ ใหก้ บั สถานประกอบกจิ การอน่ื นำ�ไปใชเ้ ปน็ แบบอยา่ งในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ อยา่ งมจี รยิ ธรรม ทงั้ นี้

4

ไดร้ ับเกยี รติจากนายกรกต ธำ�รงวงศ์สวสั ด์ิ รองผู้ว่าราชการจงั หวดั นครราชสีมา ใหเ้ กียรติ กล่าวต้อนรับ มีผู้บริหารกระทรวงแรงงาน ผู้บริหารกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด และสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมเป็นเกียรติในงาน โดยมีการมอบธงสัญลักษณ์ แนวปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ รงงานทด่ี ี (Good Labour Practices: GLP) แกผ่ แู้ ทน จำ�นวน 4 หนว่ ยงาน คอื เขตประกอบการอตุ สาหกรรมนวนคร เขตอตุ สาหกรรมสรุ นารี สถานประกอบกจิ การในเครอื ซพี เี อฟ และสถานประกอบกจิ การในเครอื บจก. คารก์ ลิ ลม์ ที ส(์ ไทยแลนด)์ และมอบใบประกาศ เกียรตคิ ณุ แกส่ ถานประกอบกิจการ แสดงความมุ่งม่ันนำ�หลัก GLP ไปในการบรหิ ารจัดการ

กแรงงาน จำ�นวน 138 แหง่ ผเู้ ข้ารว่ มงานกว่า 400 คน ารจดั งานประสบความสำ�เรจ็ อยา่ งดยี ง่ิ สามารถสรา้ งความตระหนกั ใหแ้ กส่ ถานประกอบ กจิ การในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ อยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม และธำ�รงรกั ษาไวอ้ ยา่ งยงั่ ยนื มีสถานประกอบกิจการและเขตอุตสาหกรรมต้นแบบ GLP เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับ สถานประกอบกิจการ/เขตอตุ สาหกรรม/นิคมอุตสาหกรรมในพืน้ ทีอ่ ่ืนต่อไป

แนวปฏบิ ตั ิการใช้แรงงานที่ดี (Good Labour Practices: GLP)

5

สาระนา่ รเู้ ก่ยี วกับแรงงาน

สิทธิแรงงานสตรี จากความเหลือ่ มล้ำ�... สคู่ วามเป็นธรรมและเท่าเทยี ม

นางสาววลั ยา ปาลยิ ะสทิ ธ์ิ นกั วชิ าการแรงงาน กลมุ่ งานแรงงานหญงิ เดก็ และเครอื ขา่ ยการคมุ้ ครองแรงงาน กองคุม้ ครองแรงงาน

ในอดตี สตรชี นชน้ั แรงงานทวั่ โลก ตอ้ งเผชญิ กบั การถกู กดขี่ เอารดั เอาเปรยี บจากนายจา้ ง อยา่ งมาก ทงั้ เรอื่ งการไดร้ บั คา่ จา้ งทไี่ มเ่ ปน็ ธรรมเมอ่ื เทยี บกบั ปรมิ าณงาน การเลอื กปฏบิ ตั ิ ด้วยเหตุผลในเร่ืองเพศ ความไม่เหมาะสมของช่ัวโมงการทำ�งานท่ียาวนานกับเวลาพัก และการทำ�งานโดยไม่มีวันหยุด ทำ�ให้เกิดความเหน่ือยล้าและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ การทำ�งานท่ีมีความเสี่ยง และการตกเป็นเหย่ือของการใช้ความรุนแรง การถูกเลิกจ้าง กรณีตั้งครรภ์ การไม่ได้รับสวัสดิการท่ีเหมาะสมกับคุณภาพชีวิต ไร้ซ่ึงการคุ้มครองสิทธิ ของสตรชี นชนั้ แรงงาน เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วนำ�ไปสกู่ ารเรยี กรอ้ งสทิ ธโิ ดยชอบธรรมทพ่ี งึ ไดร้ บั สร้างความตื่นตัวแก่ประชาคมโลกในการตระหนักถึงความสำ�คัญของสิทธิแรงงานสตรี และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดสู่นโยบายทางการเมือง และการปรับปรุงกฎหมาย

ท่ด้านการคุ้มครองสทิ ธิแรงงานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ามกลางกระแสตอบรับจากนานาประเทศต่อข้อเรียกร้องของสตรีชนชั้นแรงงาน ประเทศไทย นบั เปน็ ประเทศแรก ๆ ในภมู ิภาคอาเซยี น ทไี่ ด้ให้ความสำ�คัญต่อนโยบาย ด้านแรงงาน มีความตระหนักถึงความสำ�คัญของแรงงานสตรี ด้วยเหตุนี้จึงมีมาตรการ ปกปอ้ งคมุ้ ครองสทิ ธแิ รงงานสตรี โดยไมค่ ำ�นงึ ถงึ ความแตกตา่ ง ในเรอ่ื งถนิ่ กำ�เนดิ เชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษา อายุ ความพิการ สถานะของบุคคล หรือ ฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคม สง่ ผลใหม้ กี ารออกกฎหมายคมุ้ ครองแรงงานหญงิ เปน็ กรณพี เิ ศษ โดยกองคมุ้ ครองแรงงาน ภายใต้การกำ�กับดูแลของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน มีหน้าท่ีตรวจติดตาม

เฝ้าระวังและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้แรงงาน และ ส นั บ ส นุ น ส่ ง เ ส ริ ม แ ร ง ง า น ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี แ ล ะ

ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมอยา่ งเทา่ เทยี ม มศี กั ดศ์ิ รี มคี วามสขุ และมคี วามมน่ั คงในการทำ�งาน ทั้งนขี้ อ้ กฎหมาย ไ ด้ ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ลั ก ษ ณ ะ ง า น ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ ร่ า ง ก า ย ข อ ง ส ต รี ร ว ม ถึ ง

ความปลอดภัยในการทำ�งาน และการได้รับสิทธิ และสวสั ดกิ ารทเ่ี ปน็ ธรรม โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

6

ลกั ษณะงานท่ีหา้ มลกู จา้ งหญงิ ทำ�

* งานเหมืองแรห่ รอื งานก่อสรา้ งที่ตอ้ งทำ�ใตด้ ิน ใตน้ ้ำ� ในถำ้ � ในอุโมงค์ หรอื ปล่องในภเู ขา * งานทีต่ ้องทำ�บนนงั่ รา้ นทีส่ งู กว่าพ้ืนดินต้ังแต่ 10 เมตร ขึ้นไป * งานผลิตหรือขนสง่ วัตถรุ ะเบิดหรอื วตั ถุไวไฟ * งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรอื เข็นของหนักเกิน 25 กโิ ลกรมั

กรณลี ูกจ้างหญิงทำ�งานระหวา่ งชว่ งเวลา 24.00 – 06.00 น.

* กรณีลูกจ้างหญิงทำ�งานระหว่างเวลา 24.00 – 06.00 น. และพนักงานตรวจแรงงาน เห็นว่างานน้ันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้างหญิง อธิบดีหรือ ผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย อาจมีคำ�ส่ังให้นายจ้างเปลี่ยนเวลาทำ�งานหรือลดช่ัวโมงทำ�งาน ได้ตามท่ีเห็นสมควร

งานลกั ษณะพเิ ศษ/งานล่วงเวลาทีก่ ฎหมายให้ลกู จ้างหญงิ ทำ�ได้

* ลกู จา้ งหญงิ สามารถทำ�งานวชิ าชพี หรอื วชิ าการเกยี่ วกบั การสำ�รวจ การขดุ เจาะ การกลนั่ แยก และการผลิตผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมและปิโตรเคมีได้ ถ้าสภาพหรือลักษณะของงานน้ัน ไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพหรอื ร่างกายของลูกจ้างหญงิ

ลกู จ้างชายและหญงิ มสี ทิ ธเิ ทา่ เทยี มกนั

* ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชายหญิงเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ลักษณะหรือ สภาพของงานไม่อาจปฏิบตั ิเช่นนัน้ ได้ * ในกรณีท่ีงานมีลักษณะและคุณภาพอย่างเดียวกันและปริมาณเท่ากัน นายจ้างจะต้อง กำ�หนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา และค่าทำ�งานในวันหยุดให้ลูกจ้างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าลูกจ้างน้ัน จะเป็นชายหรือหญงิ * ประกาศกำ�หนดอัตราค่าจ้างข้ันตำ่ � ให้ใช้บังคับแก่นายจ้างและลูกจ้างไม่ว่านายจ้างและ ลูกจา้ งน้ันจะมสี ัญชาติ ศาสนา หรือเพศใด

7

การคมุ้ ครองลกู จ้างหญิงมีครรภ์

1. งานท่ีห้ามนายจา้ งใหล้ ูกจ้างหญิงมคี รรภ์ทำ� * งานเกย่ี วกบั เครือ่ งยนตห์ รอื เครอ่ื งจักรทีม่ คี วามส่ันสะเทือน * งานทข่ี บั เคลอื่ นหรอื ตดิ ไปกับยานพาหนะ * งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลากหรือเข็นของหนกั เกนิ 15 กโิ ลกรัม * งานท่ที ำ�ในเรือ * การทำ�งานในระหวา่ งเวลา 22.00 – 06.00 น. * การทำ�งานล่วงเวลา * การทำ�งานในวันหยุด 2. ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ท่ีทำ�งานในตำ�แหน่งผู้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ งานการเงิน หรอื บญั ชี สามารถทำ�งานลว่ งเวลาในวนั ทำ�งานได้ โดยได้รบั ความยินยอมจากลกู จ้าง

สทิ ธิการลาคลอดและการทำ�หมนั

* ลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาคลอดก่อนและหลังคลอดได้ ครรภ์หน่ึงไม่เกิน 98 วัน โดยใหน้ ายจา้ งจา่ ยคา่ จา้ งใหแ้ กล่ กู จา้ งซง่ึ ลาคลอดเทา่ กบั คา่ จา้ งในวนั ทำ�งานตลอดระยะเวลาทล่ี า แตไ่ ม่เกนิ 45 วัน * ถา้ มใี บรบั รองแพทยแ์ สดงวา่ ไมอ่ าจทำ�งานในหนา้ ทเ่ี ดมิ ตอ่ ไปได้ ลกู จา้ งมสี ทิ ธขิ อใหน้ ายจา้ ง พิจารณาเปล่ยี นงานท่ีเหมาะสมให้แกล่ กู จา้ งเป็นการชว่ั คราวกอ่ นหรอื หลงั คลอดได้ * ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อทำ�หมันได้ตามระยะเวลาที่แพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งกำ�หนดและ ออกใบรบั รอง โดยได้รับคา่ จ้าง

8

งานทอ่ี าจใหล้ ูกจา้ งหญิงมีครรภ์ทำ�งานลว่ งเวลาได้

* นายจ้างอาจให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ท่ีทำ�งานในตำ�แหน่งผู้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ รวมท้ังงานเกยี่ วกบั การเงินหรอื บัญชี นายจา้ งอาจให้ลกู จ้างน้นั ทำ�งานลว่ งเวลา ในวันทำ�งานไดเ้ ท่าทไี่ ม่มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของลกู จา้ ง โดยได้รบั ความยินยอมจากลูกจ้าง เป็นคราว ๆ ไป

การค้มุ ครองกรณีการลว่ งเกนิ ทางเพศ

* หา้ มมใิ หน้ ายจา้ ง หวั หนา้ งาน ผคู้ มุ คนงานหรอื ผตู้ รวจงาน กระทำ�การลว่ งเกนิ คกุ คาม หรอื

แก่อความเดือดร้อนสร้างความรำ�คาญทางเพศตอ่ ลูกจา้ ง รงงานสตรีไม่ได้มีบทบาทท่ีสำ�คัญเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเท่าน้ัน แตย่ งั มคี วามสำ�คญั ในดา้ นการดแู ล ปลกู ฝงั และเสรมิ สรา้ งจติ สำ�นกึ ทดี่ ใี หแ้ กค่ รอบครวั ก่อให้เกิดความเข้มแข็งและความสงบสุขข้ึนภายในสังคม ท้ังน้ี เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติ สตรีทำ�งาน องค์การสหประชาชาติได้กำ�หนดให้วันท่ี 8 มนี าคม ของทกุ ปี เปน็ วนั สตรีสากล เพ่ือให้ประเทศต่างๆได้ระลึกและตระหนักถึงความสำ�คัญของแรงงานและกลุ่มสตรีทำ�งาน อันเป็นผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าและมีความทุ่มเท เสียสละ ในการทำ�ประโยชน์ให้แก่สังคม โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้จัดทำ�โครงการ รณรงค์ส่งเสริมสิทธิแรงงานสตรี (วันสตรีสากล) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 จนถึงปัจจุบัน เป็นจำ�นวน 25 คร้ัง ในระยะเวลา 26 ปี โดยกำ�หนดให้วันท่ี 8 มีนาคม ของทุกปี เป็นวันจัดกิจกรรม โดยมีการคัดเลือกสตรีทำ�งานดีเด่นจากหลากหลายสาขาอาชีพ เพ่ือเป็นการเชิดชูเกียรติสตรีทำ�งานให้ตระหนักถึงความสำ�คัญและคุณค่าในตนเอง โดยพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพและมีความมั่นคงในชีวิต สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ ที่เพียงพอต่อการดำ�รงชีวิตของตนเองและครอบครัว เพื่อเป็นต้นแบบในการสร้างสรรค์ คณุ ประโยชนใ์ หแ้ กอ่ งค์กร ชุมชนและสงั คมตอ่ ไป

“แรงงานสตรี มศี ักดิ์ศรี มคี ุณค่า ช่วยพัฒนา เศรษฐกจิ ไทย ให้เข้มแข็ง รว่ มปลกู ฝัง ให้กล้าแกร่ง ไมแ่ ยกแบง่ สงั คมไทย สตรที ำ�งาน กรมสวสั ดกิ ารฯ เชดิ ชูเกียรติ ปกป้องสิทธิ ยกระดบั สานคุ้มครอง แรงงานหญิง จากเหลือ่ มล้ำ� อยา่ งแท้จรงิ กฎหมายองิ ปรับชีวติ ไร้รนุ แรง” สูเ่ ปน็ ธรรม ให้ปลอดภัย

9

สาระน่ารเู้ ก่ียวกับแรงงาน

การฝกึ อบรมความปลอดภยั ในการทำ�งานเกยี่ วกบั ไฟฟา้

นางสาวบศุ รา วรรณวศิ าล นกั วชิ าการแรงงาน กลมุ่ งานมาตรฐานวศิ วกรรมความปลอดภยั ในการทำ�งาน กองความปลอดภยั แรงงาน

การทำ�งานเกี่ยวกับไฟฟ้าจำ�เป็นต้องมีความรู้พ้ืนฐานความปลอดภัยในการทำ�งาน เก่ียวกับไฟฟ้า ต้องให้ความสำ�คัญและคำ�นึงถึงของความปลอดภัยในการทำ�งาน เป็นอันดับแรก ท้ังน้ี เพื่อลดความเส่ียงท่ีจะเกิดอันตรายเน่ืองจากต้องปฏิบัติงาน เกี่ยวกับไฟฟ้า และในบางคร้ังการปฏิบัติงานดังกล่าวต้องมีความเส่ียงจากลักษณะงานอื่น ร่วมด้วย เช่นอาจต้องไปทำ�งานบนที่สูง หรือใกล้กับบริเวณท่ีอาจเป็นอันตราย เป็นต้น ดงั นนั้ เพอ่ื ความปลอดภยั ของชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ในวารสารฉบบั นี้ กองความปลอดภยั แรงงาน จึงขอนำ�เสนอ บทความ เร่ือง การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำ�งานเกี่ยวกับไฟฟ้า ตามกฎกระทรวงกำ�หนดมาตรฐาน ในการบรหิ าร จดั การ และดำ�เนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานเก่ียวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558 และประกาศ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการฝึกอบรม ความปลอดภัยในการทำ�งานเก่ียวไฟฟ้าสำ�หรับลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้า ซง่ึ กำ�หนดดงั นี้

10

ลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้า หมายถึง ลูกจ้างซึ่งทำ�หน้าท่ีเกี่ยวกับการติดต้ัง ตรวจสอบ ทดสอบ ซอ่ มแซม บำ�รงุ รกั ษา หรอื หนา้ ทอี่ นื่ ในลกั ษณะเดยี วกนั กบั ระบบไฟฟา้ บริภัณฑ์ไฟฟ้าหรือสายไฟฟ้า ซ่ึงนายจ้างต้องจัดให้มีการดำ�เนินการฝึกอบรมให้กับลูกจ้าง ท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าให้มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะท่ีจำ�เป็นในการทำ�งาน อย่างปลอดภัย ในกรณีท่ีนายจ้างไม่สามารถดำ�เนินการได้เอง ให้ผู้ท่ีขึ้นทะเบียนหรือได้รับ ใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน แล้วแต่กรณี เป็นผู้ดำ�เนินการ ท้ังนี้ การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำ�งานเกี่ยวกับไฟฟ้าให้กับลูกจ้าง ต้องมีระยะเวลา การฝกึ อบรมไม่น้อยกว่าสามชว่ั โมงและอย่างนอ้ ยตอ้ งมหี ัวขอ้ วิชา ดงั ต่อไปนี้ (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำ�งานเก่ียวกับไฟฟ้า และความรู้พื้นฐานเก่ียวกับ ระบบไฟฟ้า (2) สาเหตแุ ละการปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟา้ และอปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล

อ(3) การใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบอนั ตรายจากไฟฟ้า และการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ยา่ งไรก็ตาม ในกรณีทม่ี ีการปฏิบัตงิ านเกยี่ วกับไฟฟ้าทมี่ คี วามเสี่ยงจากลักษณะงานอื่น รวมอยดู่ ว้ ย เชน่ การทำ�งานในทสี่ งู การทำ�งานในบรเิ วณทอ่ี าจเปน็ อนั ตราย อาจจดั ใหม้ ี ระยะเวลาการฝกึ อบรมและหวั ขอ้ วชิ าทเ่ี กย่ี วกบั ความเสย่ี งดงั กลา่ วเพม่ิ จากหวั ขอ้ วชิ าทกี่ ำ�หนด

“แรงงานปลอดภัยและสขุ ภาพอนามัยดี”

11

คำ�พพิ ากษาทีน่ า่ สนใจ

คำ�พิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ�นญั พเิ ศษ ท่ี 1382 - 1389/2563 (จดั หางาน)

นายเชดิ ศกั ด์ิ กำ�ปน่ั ทอง นติ กิ รชำ�นาญการ กองนติ กิ าร กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน.

เรื่อง การท่ีลูกจ้างไม่สามารถทำ�งานได้ครบระยะเวลาตาม ท่ีกำ�หนดไว้ในสัญญา จัดหางาน แม้เพราะเหตุสุดวิสัย เนื่องจากเกิดสงครามภายในสาธารณรัฐสังคมนิยม ประชาชน อาหรับลิเบีย อันเป็นเหตุสุดวิสัยก็ตาม แต่ เหตุสุดวิสัยดังกล่าวก็มิใช่สาเหตุจากลูกจ้าง จำ�เลยผู้ซ่ึง ไดร้ บั ใบอนญุ าตจดั หางานตอ้ งคนื คา่ บรกิ ารและคา่ ใชจ้ า่ ย ทเ่ี รยี กเกบ็ ไปแลว้ ตามอตั ราสว่ น กบั ระยะเวลาทไ่ี ดท้ ำ�งาน ตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน

คพ.ศ. 2528 มาตรา 46 วรรคสอง ดีนี้โจทก์กับพวกรวม 17 คน ฟ้องว่า จำ�เลยในฐานะ ตวั แทนนายจา้ งซงึ่ เป็นตวั การ มภี มู ลิ ำ�เนาอยู่ท่สี าธารณรฐั สังคมนยิ มประชาชนอาหรบั ลเิ บีย ทำ�สญั ญาจัดหางานกบั โจทกก์ บั พวก เพื่อส่งไปทำ�งานท่ีต่างประเทศ โดยเรยี กเกบ็ ค่า นายหนา้ คา่ บรกิ าร และคา่ ใชจ้ า่ ยจากโจทก์ เมอื่ โจทก์ กบั พวกเดนิ ทางไปทำ�งานทส่ี าธารณรฐั สังคมนยิ มประชาชนอาหรบั ลเิ บียแตท่ ำ�งานไมค่ รบกำ�หนด ตามสญั ญา เน่ืองจากนายจา้ งให้ ลูกจ้างหยุดงานเพราะภัยสงครามและรอการอพยพ ถือว่าเป็นการเลิกจ้างโดยไม่ใช่สาเหตุ จากโจทก์กับพวก เมื่อโจทก์กับพวกเดินทางกลับประเทศไทย จำ�เลยต้องคืนค่านายหน้า ค่าบรกิ าร ฯลฯ ขอบังคบั ใหจ้ ำ�เลยจ่ายคา่ จา้ งคา้ งจ่าย ค่าเสยี หายจากการผิดสัญญา ค่าขาด ประโยชน์จากการทำ�งาน คืนค่านายหน้า ค่าบริการ และค่าใช้จ่าย แก่โจทก์กับพวก

จพรอ้ มดอกเบีย้ ำ�เลยใหก้ ารวา่ จำ�เลยไมไ่ ดเ้ ป็นนายจา้ ง จำ�เลยเป็นเพยี งบริษทั จดั หางานท่ีไดร้ ับอนญุ าต ใหส้ ง่ แรงงานไทยไปทำ�งานทต่ี า่ งประเทศเทา่ นนั้ โจทกก์ บั พวกไมส่ ามารถทำ�ไดค้ รบตาม สญั ญา ไม่ใช่ความผดิ ของนายจา้ งและจำ�เลย ภัยสงคราม ท่ีมีการต่อต้านรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชน อาหรับลิเบียเป็นเหตุสุดวิสัย จำ�เลยไม่ต้องรับผิด ฟ้อง เรียกค่าจ้างขาดอายคุ วาม

12

ศาลแรงงานกลางพจิ ารณาแลว้ พพิ ากษาใหจ้ ำ�เลยคนื คา่ บรกิ ารและคา่ ใชจ้ า่ ยใหโ้ จทกก์ บั พวก พรอ้ มดอกเบยี้ (โจทก์ที่ 1 15,833.33 บาท โจทกท์ ี่ 2...) คำ�ขออื่นใหย้ ก โจทกก์ ับ

ปพวกอุทธรณ์ ระเด็นค่าเสียหายจากการผิดสัญญาและค่าขาดประโยชน์จากการทำ�งาน ศาลอุทธรณ์ คดีชำ�นัญพเิ ศษเหน็ ว่า ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 8 บัญญัตคิ ำ�วา่ “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา่ เหตใุ ด ๆ อันจะเกิดขึน้ กด็ ี จะใหผ้ ลพบิ ตั กิ ็ดี เปน็ เหตุท่ไี มอ่ าจ ป้องกันได้แม้ทั้งบุคคล ผู้ต้องประสบเหตุน้ัน จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึง คาดหมายไดจ้ ากบคุ คลในฐานะและภาวะเชน่ นนั้ แมข้ อ้ เทจ็ จรงิ จะปรากฏวา่ นายจา้ งไมส่ ามารถ ให้โจทก์กับพวกทำ�งานต่อไปได้ ตามปกติจนครบสัญญาจ้างแรงงานโดยไม่ใช่ความผิดของ ลูกจ้างก็ตาม แต่เป็นเพราะเกิดสงคราม ในสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย ซง่ึ เปน็ เหตใุ ด ๆ อนั จะเกดิ ขน้ึ จะใหผ้ ลพบิ ตั ิ ไมม่ ใี ครจะปอ้ งกนั ไดอ้ นั เปน็ เหตสุ ดุ วสิ ยั ทำ�ใหน้ ายจา้ ง หรอื ตวั แทนของนายจา้ งทอ่ี ยตู่ า่ งประเทศหลดุ พน้ ไมต่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาจา้ งแรงงานตาม ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 219 วรรคหนึ่ง นายจ้างหรือตวั แทนของนายจ้าง ทอี่ ยตู่ า่ งประเทศจงึ ไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชดใชค้ า่ เสยี หายจากการผดิ สญั ญาและคา่ ขาดประโยชนจ์ าก การทำ�งาน ประเดน็ อายคุ วามค่าจา้ ง ศาลอุทธรณค์ ดีชำ�นญั พิเศษเห็นว่า หน้ีคา่ จา้ งค้างจา่ ย มีอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 193/34 (9) เมอ่ื โจทกฟ์ อ้ ง เรยี กคา่ จา้ งคา้ งจา่ ยของเดอื นมนี าคม 2554 ซงึ่ กำ�หนดจา่ ยวนั ท่ี 10 เมษายน 2554 เมอื่ โจทก์ กับพวกฟ้องคดีวันท่ี 9 กรกฎาคม 2562 จงึ ขาดอายุความ

13

ระเด็นต้องคืนค่านายหน้าและค่าบริการหรือไม่ ศาล

ปอทุ ธรณค์ ดชี ำ�นญั พเิ ศษเหน็ วา่ ตามพระราชบญั ญตั ิ

จดั หางานและคมุ้ ครองคนหางาน พ.ศ. 2528 มาตรา 46 วรรคสอง บัญญัติว่า ในกรณีท่ีคนหางานไม่สามารถ ทำ�งานไดจ้ นสนิ้ สดุ ระยะเวลาตามทกี่ ำ�หนดไวใ้ นสญั ญา จัดหางาน เพราะถูกเลิกจ้างโดยมิใช่สาเหตุจากคนหา งาน ผรู้ บั อนญุ าตตอ้ งคนื คา่ บรกิ ารและคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี รยี ก เก็บ จากคนหางานไปแล้วเป็นอัตราส่วนกับระยะเวลาท่ี คนหางานได้ทำ�งานภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีคนหางาน ขอรับคืน เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า โจทก์กับพวกไม่สามารถ ทำ�งานได้ครบระยะเวลาตามท่ีกำ�หนดไว้ในสัญญาจัดหางาน แม้เพราะเหตุสุดวิสัยเนื่องจาก เกิดสงครามภายในอันเป็นสถานที่ท่ีโจทก์กับพวกทำ�งานก็ตาม แต่เหตุสุดวิสัยดังกล่าวก็ มใิ ชส่ าเหตจุ ากโจทกก์ บั พวก จำ�เลยผซู้ ง่ึ ไดร้ บั ใบอนญุ าตจดั หางานตอ้ งคนื คา่ บรกิ ารและคา่ ใช้ จ่ายที่เรียกเก็บจากโจทก์กับพวกไปแล้ว โดยค่านายหน้าท่ีโจทก์กับพวกจ่ายให้แก่จำ�เลยไป แลว้ เพอ่ื การจดั หางานจงึ เปน็ คา่ บรกิ ารทจ่ี ำ�เลย จะตอ้ งคนื แกโ่ จทกก์ บั พวกตามอตั ราสว่ นกบั ระยะเวลาที่โจทก์กับพวกได้ทำ�งาน เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า โจทก์ที่ 1 ทำ�งานได้ 5 เดือน แตร่ ะยะเวลาทก่ี ำ�หนดในสญั ญา 2 ปี จำ�เลยเรยี กเกบ็ คา่ นายหนา้ 120,000 บาท จำ�เลยตอ้ งคนื คา่ นายหนา้ แก่โจทก์ที่ 1 จำ�นวน 95,000 บาท โจทกท์ ี่ 2...ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามาน้ัน

พิศาลอุทธรณ์คดชี ำ�นญั พเิ ศษไม่เหน็ พ้องดว้ ย พากษาแก้เป็นว่า ให้จำ�เลยคืนค่านายหน้าให้แก่โจทก์ที่ 1 จำ�นวน 95,000 บาท โจทกท์ ี่ 2...นอกจากทแ่ี กใ้ ห้เปน็ ไปตามคำ�พิพากษาของศาลแรงงานกลาง

14

กสร. จดั อบรมสรา้ งการรบั รแู้ ละพฒั นาสถานประกอบกจิ การ เพอ่ื เขา้ สูร่ ะบบมาตรฐานแรงงานไทย ครั้งท่ี 1/2564

วนั ท่ี 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 เวลา 9.30 น. นายอภญิ ญา สจุ รติ ตานนั ท์ อธบิ ดี กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็นประธานเปดิ การอบรมโครงการ สร้างการรับรู้และพัฒนาสถานประกอบกิจการเพื่อเข้าสู่ระบบมาตรฐาน แรงงานไทย ร่นุ ท่ี 1 โดยมีนางนิตยา โพธ์สิ ขุ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั พัฒนา มาตรฐานแรงงานกล่าวรายงานการอบรม โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ขอ้ ก�ำ หนดมาตรฐานแรงงานไทย มรท.๘๐๐๑-๒๕๖๓ และสามารถพฒั นา สถานประกอบกจิ การใหเ้ ขา้ สรู่ ะบบมาตรฐานแรงงานไทยได้ ตลอดจนเปน็ การเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ใหม้ าตรฐาน แรงงานไทย เป็นท่ีรู้จักอย่างขว้างขวาง โดยมีสถานประกอบกิจการสนใจและรับฟังบรรยายในรูปแบบออนไลน์ผ่าน ระบบ Cat Conference จำ�นวน 86 คน

กสร. ประชมุ คณะกรรมการดำ�เนินการดา้ นแนวปฏิบัติ การใช้แรงงานทีด่ ี (Good labour Practices: GLP)

วันท่ี 11 มีนาคม 2564 เวลา 9.30 น. นายอภิญญา สุจริตตา นันท์ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็นประธานการ ประชุมคณะกรรมการดำ�เนินการด้านแนวปฏิบัติการใช้แรงงานท่ี ดี (Good Labour Practices: GLP) คร้ังท่ี 1/2564 ณ ห้องประชุม คณะกรรมการแรงงานสมั พนั ธ์ ชน้ั 1 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน โดยมี นายสทุ ธิ สโุ กศล ปลัดกระทรวงแรงงาน เปน็ ที่ปรึกษา วตั ถปุ ระสงค์การประชุมเพือ่ รับทราบความเปน็ มาของ แนวปฏิบตั ิการใช้แรงงานที่ดี GLP และผลการดำ�เนินการทผี่ ่านมา โดยทป่ี ระชมุ ได้ร่วมกันพิจารณาทศิ ทางการด�ำ เนิน งานดา้ นแนวปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ รงงานทด่ี ี GLP ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2564 ทปี่ ระชมุ มมี ตเิ หน็ ชอบใหน้ �ำ GLP มาเปน็ เครอ่ื ง มือในการถอดถอนสินค้าจากรายการท่ีถูกขึ้นบัญชีการใช้แรงงานเด็กหรือแรงงานบังคับ สร้างความร่วมมือกับภาคี เครือขา่ ยภาครฐั และภาคเอกชน และสง่ เสรมิ ใหส้ ถานประกอบกจิ การทุกประเภทกิจการนำ�ตราสญั ลกั ษณ์ GLP มาใช้ ประโยชน์ในการด�ำ เนินธรุ กจิ เพอื่ สง่ เสริมให้ประเทศเกิดภาพลกั ษณ์ทด่ี ี และแรงงานมีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ขี นึ้ อยา่ งยั่งยนื

สพม. เขา้ ส่งเสริมแนวปฏบิ ตั ิการใช้แรงงานทดี่ ี (Good Labour Practices: GLP) ในกลุ่มธรุ กจิ TCP

วนั ที่ 18 มนี าคม 2564 เวลา 10.00 น. สำ�นกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน นำ�โดย นางนิตยา โพธิส์ ขุ ผ้อู ำ�นวยการสำ�นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน รว่ มกบั ส�ำ นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพนื้ ท่ี2 เขา้ ส่งเสรมิ ใหก้ ลมุ่ ธรุ กจิ TCP ประกอบดว้ ย บริษัท ที.ซ.ี ฟาร์มาซตู คิ อล อุตสาหกรรม จำ�กัด บริษัท เดอเบล จำ�กัด บริษัท ที.จี. เวนด้ิง- แอนด์โชวเ์ คสอนิ ดสั ทรสี ์ จ�ำ กดั และบรษิ ทั ไฮ-เกยี ร์ จ�ำ กดั รวม 4 บรษิ ทั ด�ำ เนนิ การจดั ท�ำ แนวปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ รงงานทดี่ ี (Good Labour Practices: GLP) รวมถึงการนำ�ตราสัญลักษณ์ GLP ไปใช้ในกิจการ ณ ห้องประชุมสยาม กลุม่ ธรุ กิจ TCP เขตบางบอน กรงุ เทพฯ ซง่ึ ผู้บรหิ ารของบริษัทใหค้ วามสนใจในการจัดท�ำ MoU ร่วมกับกรมสวัสดกิ าร และคมุ้ ครองแรงงาน เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการน�ำ แนวปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ รงงานทดี่ ี (GLP) มาใชใ้ นการยกระดบั การบรหิ ารจดั การ ด้านแรงงาน สง่ เสริมให้เกิดภาพลกั ษณ์ทีด่ ี และเพิ่มมลู ค่าให้กบั สินคา้ ในดา้ นการดำ�เนินธรุ กจิ อยา่ งมีจรยิ ธรรม

15

สพม. ประชมุ เพือ่ หารือการจัดงาน MOU เ ร่อื ง การยกระดบั มาตรฐานแรงงานไทย เพื่อกา้ วไปอยา่ งยง่ั ยืน

วันที่ 16 มีนาคม 2564 นางนติ ยา โพธส์ิ ุข ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน เปน็ ประธานการประชมุ เพ่ือ หารือการจัดงานพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เร่ือง การยกระดับมาตรฐานแรงงานไทย เพ่ือก้าวไปอย่าง ยง่ั ยืน ระหว่างกรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน กบั บริษทั เจริญโภคภณั ฑอ์ าหาร จำ�กัด (มหาชน) ณ หอ้ งประชุม ส�ำ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน ชน้ั 14 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ด�ำ เนนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ สนับสนุน พัฒนา และการประเมินสถานประกอบกิจการของบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) ธุรกิจกุ้งครบวงจร เขตประเทศไทย รวมถึงสถานประกอบกิจการในห่วงโซ่อุปทาน ให้มีการดำ�เนินธุรกิจอย่าง มีค วามรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงาน สอดคล้องกับมาตรฐานแรงงานไทย โดยทั้งสองฝ่ายกำ�หนดจัดพิธีลงนามฯ ในวนั ท่ี 22 เมษายน 2564 ณ หอ้ งประชมุ อาคาร SSC ช้นั 8 บรษิ ทั เจริญโภคภณั ฑอ์ าหาร จำ�กดั (มหาชน) เลขท่ี 126/1 ซอยจันทร์ 28 แขวงทุง่ วัดดอน เขตสาธร กรุงเทพมหานคร

สพม.จดั อบรมโครงการพฒั นาองคค์ วามรู้ ดา้ นการตรวจตดิ ตาม ภายในระบบมาตรฐาน แรงงานไทย มรท.๘๐๐๑-๒๕๖๓

วนั ที่ 24 - 25 มนี าคม 2564 ส�ำ นักพฒั นามาตรฐาน แรงงาน จัดอบรมโครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้าน การตรวจตดิ ตามภายในระบบมาตรฐานแรงงานไทย มรท.๘๐๐๑-๒๕๖๓ ใหแ้ ก่ บคุ ลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ น มาตรฐานแรงงานไทย ของสำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน จำ�นวน 15 คน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการอบรม มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเชงิ ลึกเกีย่ วกับขั้นตอน กระบวนการ เทคนคิ การตรวจต ิดตามภายใน และเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ที่ใช้ดำ�เนินการตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐานแรงงานไทย มรท.๘๐๐๑-๒๕๖๓ สามารถนำ�ความรู้ไปเผยแพร่และให้คำ�ปรึกษาแนะนำ� แก่สถานประกอบกิจการที่สนใจจัดทำ�มาตรฐานแรงงานไทยได ณ ห้องฝกึ อบรมทรพั ยากรแรงงาน ช้นั 13 กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

16

กรมสว รงงาน ัสดิการและคุมครองแ

กสร. คุ้มครองสิทธิ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตแรงงาน