การข บเสภาข นช างข นแผน ม ต นก าเน ดมาจากอะไร

ขุนชา้ งขุนแผน ตอนขุนชา้ งถวายฎีกา เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาไทยพนื ฐานชนั มธั ยมศึกษาปที่ ๖ (ท๓๓๑๐๑)

บทนำ ความนำ เรอื่ งขุนชา้ งขุนแผนนี้ เปน็ ทน่ี ยิ มในหมชู่ าวไทยทุกเพศทุกวัยเป็นเวลาช้านาน ดว้ ยเหตผุ ลตามท่ีสมเดจ็ พระ เจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ไดท้ รงพระนิพนธไ์ วใ้ นหนงั สอื สาสน์ สมเดจ็ ว่า “...เอาเสภาเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผนมา อา่ นเลน่ ในเวลาว่าง เห็นวา่ เปน็ เรือ่ งดี และแตง่ ดอี ย่างเอกทีเดยี ว เคยอ่านมาแล้วนบั คร้งั ไมถ่ ว้ นกย็ งั อ่านสนุกไมร่ ้จู กั เบือ่ อยู่ นั่นเอง มารสู้ ึกวา่ มีประโยชน์อยใู่ นหนงั สือเรอ่ื งนี้อกี อยา่ งหน่งึ ” เค้าเร่อื งขนุ ชา้ งขนุ แผนนีส้ ันนิษฐานว่าเคยเกดิ ขึน้ จริงในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา แลว้ มผี ้จู ดจำเลา่ สบื ต่อกนั มา สาระสำคญั จมื่นไวยวรนาถคดิ ถงึ มารดา เพราะขณะนนั้ ตนมคี วามพรง่ั พร้อม มีข้าทาสบริวาร มภี รรยา ๒ คน คอื นางศรมี าลาและนางสร้อยฟ้า มีบิดาคือขนุ แผน ขาดแต่มารดา จึงลอบข้ึนเรอื นขุนช้างเพ่ือไปพานางวันทองมาอยู่ด้วยนาง วันทองถูกลูกขู่จึงจำ ใจมาด้วยจมื่นไวยให้คนของตนมาส่งข่าวขุนช้างว่าตนป่วย ขอแม่ให้ไปดแู ลขุนช้างรู้ทันและโกรธแค้นจงึ ร่างหนังสือถวายฎีกาต่อสมเด็จพระพนั วษาในขณะพระองค์เพิ่งเสด็จกลับจากประพาสและยงั ประทับอยู่ในเรือขุนช้างลอยคอ เข้าไปถวายหนังสือสมเด็จพระพนั วษา กริ้วจงึ มีรับสั่งให้โบยขุนช้าง ๓๐ทีในฐานะที่ไม่รูจ้ กั กาลเทศะ ส่วนนางวันทองเกิดนิมติ ฝันและมลี างร้ายตา่ ง ๆ ขุนแผนจึงเสกขี้ผ้ึงให้นางวันทองทาปากและกินหมากทีเ่ สกด้วยเวทมนตรพ์ รอ้ มทั้งกระแจะจันทน์เจมิ หน้าก่อนเขา้ เฝา้ สมเดจ็ พระพันวษาสมเด็จพระพนั วษามรี ับสั่งใหน้ างวันทองเลือกวา่ จะอยู่กับใคร ขนุ ช้าง ขนุ แผน หรอื จมืน่ ไวย นางวันทองตัดสินใจไม่ถูกทำ ให้สมเด็จพระพันวษากริ้วมากเพราะทรงเห็นว่านางวันทองเป็นหญิงละโมบตัณหาจึงมีรับสั่งให้ ประหารชวี ิตนาง สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ ร้อยกรองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ไพเราะ และ เหมาะสมกับเรอ่ื งท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๒ ตอบคำถามจากการอ่านประเภทตา่ ง ๆ ภายในเวลาท่กี ำหนด มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจ และแสดงความคดิ เห็นวิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ น ชวี ติ จรงิ ตัวชีว้ ัด ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๑ วิเคราะหว์ จิ ารณ์วรรณคดีตามหลักการวิจารณเ์ บ้ืองตน้ ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๒ วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดเี ชอื่ มโยงกบั การเรยี นรู้ทางประวตั ิศาสตรแ์ ละวถิ ชี ีวิตของสงั คมในอดีต ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๓วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คณุ คา่ ด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมในฐานะทเี่ ปน็ มรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๔สงั เคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพอ่ื นำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายความเปน็ มาของวรรณคดเี รื่องขนุ ชา้ งขุนแผนได้ ๒. บอกประวตั ขิ องผแู้ ต่งวรรณคดี และลกั ษณะคำประพนั ธ์เรอ่ื งขุนชา้ งขุนแผนได้ ๓. ตอบคำถามจากเร่อื งขุนชา้ งขนุ แผนได้ ๔. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งไพเราะ ๕. วิเคราะห์วจิ ารณต์ วั ละครจากเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผนและบอกขอ้ คิดและวเิ คราะหค์ ณุ คา่ ได้อยา่ งถกู ต้อง

คำนำ แบบฝึกทักษะวรรณคดี เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยตาม หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ให้เกดิ การเรียนรู้ เรอ่ื งวรรณคดี ไทยอย่างมี ประสทิ ธิภาพ แบบฝกึ ทักษะวรรณคดี เรื่อง อิเหนาประกอบด้วยนวัตกรรมทงั้ หมด ๕ เรือ่ ง ๑. เรื่อง ประวตั คิ วามเปน็ มาของเร่อื ง ๒. เรือ่ ง ลักษณะคำประพนั ธ์ ๓. เรื่อง คำศัพท์และตวั ละคร ๔. เรอ่ื ง คณุ คา่ งานประพันธ์ ๕. เร่อื ง ความรูป้ ระกอบการเรยี น ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะวรรณคดีบทละคร เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้าง ถวายฎีกา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ จะเป็นโยชน์แก่นักเรียนใน การศกึ ษาหาความรู้ และบรรลุจุดประสงค์การเรยี นรู้เรอ่ื งอิเหนาเป็นอย่างดี

ใบความร้ทู ี่ ๑ ทม่ี าของเรื่องขุนชา้ งขนุ แผน บทเสภาเร่อื งขุนชา้ งขุนแผนเปน็ ตำนานเล่าสบื กันมาในเมืองสุพรรณบุรแี ละกาญจนบุรีมีเค้ามา จากเรื่องจริง ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยามีปรากฏชัดอยู่ใน “คำให้การชาวกรุงเก่า” ซึ่งเป็นหนังสือ พงศาวดารกล่าวถึงขุนแผนทหารเอกของสมเด็จพระพันวษา (เป็นพระนามประกอบเกียรติยศสำหรับ เรยี กพระเจ้าแผน่ ดินไม่ใช่พระนามเฉพาะของพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใดพระองค์ หนึ่ง)ในพงศาวดารกล่าวถึงพระเจ้าล้านช้าง (พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต) ทรง หวังจะเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา จึงทรงส่งพระราชธิดามาถวายแด่สมเด็จพระ พันวษา พระเจ้าเชียงใหม่ทรงทราบข่าวจึงส่งกองทัพมาดักชิงพระราชธิดาพระ เจ้าล้านช้าง สมเด็จพระพันวษาจึงโปรดใหข้ ุนแผนยกกองทพั ไปปราบเจ้านครเชียงใหมข่ ุนแผนไดช้ ัยชนะ นำพระราชธิดาของพระเจ้าล้านช้างมาถวายสมเด็จพระพันวษาและได้รับพระราชทานรางวัลมากมาย บทเสภาแต่ละตอนซึ่งมีมาแต่ครั้งอยุธยาได้สูญหายไปเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในสมัย รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดให้ชำระสำนวนท่ีมี และ โปรดให้กวีในรัชสมัยแต่งบทเสภา ตอนต่าง ๆ บทเสภาทั้งหมดได้รับการรวบรวม สมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า ตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง ตอนขุนแผนพานางวันทอง หนีและตอนพลายแก้วเป็นชู้กับนางพิมเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ทรงพระนิพนธ์ตอน ขุนช้าง ขอนางพิม และตอน ขุนช้างตาม นางวันทอง ตอน กำเนิดพลายงาม เป็นสำนวนของสุนทรภู่ สำหรับตอนขุนช้างถวายฎีกา ที่นำมาเป็น บทเรียนนี้ไม่ปรากฏนามผู้แตง่ แต่เป็นหนึ่งใน ๘ ตอนที่ได้รบั ยกย่อง จากวรรณคดี สโมสรว่าแต่งดีเป็นเยี่ยม เพราะกระบวนกลอนสื่อสารให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ และเด่นในกระบวนเล่าเรื่องที่มีการเล่าเรื่องย้อนหลังให้ผู้อ่านได้ทราบความ เปน็ มาของเรือ่ งราวในตอนปจั จุบัน

ใบความรู้ที่ ๒ เนอ้ื เรอื่ งยอ่ ขุนช้างขุนแผน เรื่องนี้เชื่อว่าเปน็ เร่ืองจรงิ ท่ีเกิดขึน้ ในแผ่นดินสมเด็จพระพนั วษา (สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒ (พ.ศ. ๒๐๓๔ - พ.ศ. ๒๐๗๒) ตำนานเดิมเล่าเพียงว่า ทหารเอกตำแหน่งขุนแผนรับราชการใน รัชกาลสมเด็จพระพันวษา ภายหลังได้ถวายดาบฟ้าฟื้นแด่สมเด็จพระพันวษา จากเค้าเรื่องเดิมมีผู้ แต่งเรื่องใหส้ นุกสนาน มีการแยง่ ชิงหญิงสาวระหว่างหญิงหนึง่ กับชายสองทำใหม้ ีผูต้ ิดตามเรือ่ งกนั มากเรื่องหนงึ่ เนื้อเรื่องย่อของบทเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน กล่าวถึงกำเนิดของเด็กสามคนที่เป็นเพื่อน เล่นกนั คอื นางพมิ พลิ าไลย พลายแกว้ และขนุ ช้าง ในจังหวดั สพุ รรณบุรีทงั้ สามคนมีบิดารับราชการ เป็นทหารดังนี้นางพิมพิลาไลยมีบิดา คือ พันศรโยธา และมารดาชื่อนางศรีประจัน พลายแก้ว (ขนุ แผน)มบี ดิ าคือ ขุนไกรพลพา่ ย มารดาชอ่ื นางทองประศรีส่วนขุนช้างมีบิดา คือ ขุนศรีวชิ ัย และ มารดาชอื่ นางเทพทอง เดก็ ทั้ง ๓ คนเป็นเพอ่ื นเล่นกันมาต้งั แต่เดก็ ต่อมากำ พร้าพอ่ อันเนื่องมาจาก พันศรโยธาป่วยเป็นไข้ป่าตายขุนศรีวิชัยถูกโจรปล้นบ้านแล้วถูกฆ่าตายส่วนขุนไกรพลพ่ายถูก ประหารชีวิตเนื่องจากฆ่าฝูงควายที่ไปออกันหน้าพระที่นั่งสมเด็จพระพันวษากริ้วสั่งให้ประหาร ชีวิตนางทองประศรีต้องพาพลายแก้วหลบหนีอาญาหลวงไปอยู่จังหวัดกาญจนบุรีเพราะบ้านและ ทรพั ย์สมบตั ิถูกรบิ เอาเข้าหลวงเน่ืองจากขนุ ไกรพลพา่ ยทำผดิ เม่อื พลายแก้วโตเปน็ หน่มุ ได้มโี อกาส ไปบวชเป็นเณรทีว่ ัดปา่ เลไลยก์และได้พบกับนางพิมพลิ าไลยอกี ครั้งหนึ่ง คราวนั้นนางพิมได้เติบโต เป็นสาวงาม เณรแก้วจึงมีใจรักนางพิมจนแอบสึกและลอบขึ้นไปหานางบนเรือนส่วนขุนช้างผู้รํ่ำ รวยแต่หน้าตาอัปลักษณ์ได้แต่งงานกับนางแก่นแก้วไม่นานนางแก่นแกว้ ก็ป่วยตาย ขุนช้างหลงรัก นางพิมเช่นกนั จงึ ออ้ นวอนนางเทพทองให้ไปสู่ขอนางพิม นางพมิ จงึ ใหส้ ายทองซ่ึงเป็นพี่เล้ยี งส่งข่าว ให้พลายแก้วรีบชิงมาสู่ขอก่อน นางทองประศรีมารดาของพลายแก้วจึงมาสู่ขอนางพิม พลายแก้ว กบั นางพมิ จงึ ได้แต่งงานกนั คร้ันเขา้ หอเพยี งสองวนั อยธุ ยาเกดิ ศึกกับพระเจ้าเชยี งใหม่ พลายแก้วจึงต้องนำกองทัพไป รบกับพระเจ้าเชียงใหม่ นางพิมตรอมใจเรื่องพลายแก้วจนล้มป่วยลง และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัน

ทอง”ส่วนขุนช้างมีความพยายามไปมาหาสู่นางพิม และหลอกว่าพลายแก้วเสียชีวิตแล้ว นางศรี ประจันมารดานางวันทองกลัวว่านางวันทองจะถูกริบเป็นม่ายหลวง จึงตัดสินใจให้นางวันทอง แตง่ งานกบั ขนุ ชา้ งนางวันทองพยายามประวิงเวลาจนกระทงั่ พลายแก้วชนะศึกกลับมา คร้ันเข้าหอ เพียงสองวัน อยุธยาเกิดศึกกับพระเจ้าเชียงใหม่ พลายแก้วจึงต้องนำกองทัพไปรบกับพระเจ้า เชียงใหม่ นางพมิ ตรอมใจเรือ่ งพลายแกว้ จนล้มปว่ ยลง และได้เปลยี่ นชือ่ เปน็ “วนั ทอง”สว่ นขุนชา้ ง มคี วามพยายามไปมาหาสนู่ างพมิ และหลอกวา่ พลายแก้วเสยี ชวี ติ แล้วนางศรีประจันมารดานางวัน ทองกลัวว่านางวันทองจะถูกริบเป็นม่ายหลวง จึงตัดสินใจให้นางวนั ทองแต่งงานกบั ขนุ ชา้ งนางวัน ทองพยายามประวิงเวลาจนกระทง่ั พลายแก้วชนะศึกกลับมา เมอื่ พลายแก้วชนะศกึ ไดร้ ับตำแหน่ง เป็นขุนแผน ไดพ้ านางลาวทองซึง่ เป็นภรรยากลบั มาดว้ ยนางวันทองทั้งโกรธและเสยี ใจจึงตัดพ้อต่อ ว่าขุนแผน เมื่อนางวันทองกบั นางลาวทองทะเลาะกนั ขุนแผนโกรธจึงพานางลาวทองไปหามารดา ท่ีจังหวดั กาญจนบรุ ีนางวนั ทองจงึ ตอ้ งถูกบงั คับให้เขา้ หอกับขุนชา้ ง อีก ๒ วันต่อมาขุนแผนนึกถึงนางวันทองจึงลอบขึ้นเรือนขุนช้าง ขุนแผนแค้นใจและ รงั เกยี จท่เี ห็นนางวนั ทองนอนค่อู ยู่กับขนุ ชา้ งจึงได้แตด่ ่าประจานนางวันทองและขนุ ช้างให้คนอื่นได้ รับรู้แล้วเดินทางกลับไปกาญจนบุรีขุนช้างคิดหาทางแก้แค้นขุนแผนโดยแสร้งทำดีด้วยรับฝากเวร ขุนแผนเพ่ือให้ขุนแผนไปเฝ้าไขน้ างลาวทอง ครั้นสมเด็จพระพันวษารับสั่งถึงขุนแผน ขุนช้างกราบ ทลู วา่ ขนุ แผนหนีเวร สมเด็จพระพันวษากร้ิวจึงลงโทษให้ขนุ แผนออกตระเวนด่านอยู่ชายแดน และ นำตัวนางลาวทองมาไว้ในวัง ฝ่ายขุนแผนแค้นขุนช้างจึงคิดจะชิงตัวนางวันทองคืนมา เมื่อหาของ วิเศษ ๓ อย่างได้ครบ คือดาบฟ้าฟืน้ ม้าสีหมอกและกุมารทองแล้ว ขุนแผนจึงลอบขึ้นเรือนขุนช้าง อีกครั้งหนึ่ง ขุนแผนเข้าห้องผิดไปพบนางแก้วกิริยาซึ่งเป็นธิดาเจ้าเมืองสุโขทัยที่บิดาส่งตัวมาขัด ดอกเพราะเปน็ หนข้ี ุนขา้ งขนุ แผนจงึ ได้นางแก้วกริ ิยาเป็นภรรยาจากนน้ั กเ็ ข้าไปพาตัวนางวันทองไป ป่าด้วยกัน ขุนแผนกับนางวันทองระหกระเหินอยู่ในป่า ขุนแผนต่อสู้กับกองทัพที่สมเด็จพระ พันวษาส่งมาจับกุมตนจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฏ เพราะต่อสู้กับทหารหลวง ครั้นนางวันทองมี ครรภ์แก่ ขุนแผนจึงคิดเข้ามอบตัวโดยไปหาพระพิจิตรเพื่อขอให้ส่งตนไปสู้คดีในกรุงศรีอยุธยา ระหว่างทางได้พบนางแก้วกิริยาซึ่งไถ่ตัวจากขุนช้างแล้วนางขอติดตามขุนแผนไปด้วยจมื่นศรีนำ ขุนแผนและนางวันทองขึ้นกราบทูลสมเด็จพระพันวษาทรงตัดสินให้ขุนแผนชนะความ ให้นางวัน ทองกลบั คืนไปอยู่กบั ขุนแผน สว่ นขนุ ช้างถูกปรบั ไหม ต่อมาขุนแผนคิดถึงนางลาวทอง จึงขอพระราชทานนางคืน สมเด็จพระพันวษากริ้ว มี รับสั่งให้จำคุกขุนแผน นางแก้วกิริยาปลูกทับข้างนอกเป็นที่พักเพื่อตนจะได้คอยปรนนิบัติขุนแผน ส่วนขุนแผนแม้นมีเวทมนตร์คาถาก็มิได้สะเดาะโซ่ตรวนหนีแต่อย่างใด เพราะมีความจงรักภักดี

พระมหากษัตรยิ ์นางวนั ทองเมื่ออยู่กับจม่ืนศรีวันหนึ่งได้ออกไปเยี่ยมขุนแผนแต่ถูกบ่าวไพร่ของขุน ช้างฉุดไปอยู่สุพรรณบุรีกับขุนช้างนางวันทองจึงต้องอยู่บ้านขุนช้างจนกระทั่งคลอดลูกชายชื่อว่า พลายงามเมื่อพลายงามยังเป็นเด็กหน้าตาน่ารัก ขุนช้างรู้ว่าไม่ใช่ลูก จึงลวงพลายงามไปฆ่า แต่ผี พรายของขุนแผนมาช่วยไว้ทัน นางวันทองตามหาพลายงามจนพบ และเล่าให้พลายงามฟังว่า ขนุ แผนเป็นพอ่ มีย่าอย่ทู กี่ าญจนบุรีให้พลายงามเดินทางไปอยู่กับย่านางทองประศรีผู้เป็นย่าเมื่อได้ พบกับพลายงามก็พาพลายงามไปเยี่ยมขุนแผนในคุก พลายงามได้เรียนวิชาตามตำราของขุนแผน หลังจากโกนจุกพลายงามอายุได้๑๓ ปีนางทองประศรีจึงพาพลายงามไปฝากตัวกับจมื่นศรีเพ่ือ ถวายตัวเป็นมหาดเล็กต่อมากรุงศรีอยุธยาทำศึกกับพระเจ้าเชียงใหม่ เนื่องจากพระเจ้าเชียงใหม ่ ชิงนางสร้อยทองพระราชธิดาพระเจ้าล้านช้างที่ตั้งใจจะถวายสมเด็จพระพันวษา พลายงามกราบ ทูลอาสาและขอพระราชทานขุนแผนให้ไปช่วยศึกด้วย ขณะที่ขุนแผนและพลายงามจะไปทำศึก นางแกว้ กริ ยิ าได้คลอดบุตรชายให้ชอื่ วา่ พลายชมุ พล ครั้นขุนแผนและพลายงามมาทำศึกเดินทางมาถึงเมืองพิจิตร พลายงามพบรักกับนางศรี มาลาธิดาของพระพิจิตรกับนางศรีบุษบา และได้หมั้นหมายกันไว้ขุนแผนและพลายงามได้ชัยชนะ ในการทำศึกกับพระเจ้าเชียงใหม่ ขุนแผนได้รับแต่งตั้งเป็นพระสุรินทรฦาไชยมไหสูรย์ภักดีครอง เมอื งกาญจนบุรีสว่ นพลายงามได้เปน็ จมื่นไวยวรนาถ ได้รับพระราชทานนางสร้อยฟา้ พระราชธิดา ของพระเจ้าเชียงใหม่ด้วยในงานแต่งงานของจมื่นไวยกับนางศรีมาลา นางวันทองและขุนช้างมา ช่วยงาน ขุนช้างเมาเหล้าจึงทะเลาะวิวาทกบั จมื่นไวยและถูกทำร้าย ขุนช้างจงึ ไปถวายฎีกา สมเด็จ พระพันวษาโปรดให้ไต่สวนตัดสินความโดยการดำน้ำพิสูจน์ขุนช้างแพ้ต้องโทษประหารชีวิต นาง วันทองขอร้องจมื่นไวยให้ขอพระราชทานอภัยโทษ ขุนช้างจึงรอดชีวิตมาได้ครั้นต่อมาจมื่นไวย คิดถึงมารดา จึงลอบขึ้นเรือนขุนช้างพานางวันทองมาอยู ่ด้วย ขุนช้างเข้าถวายฎีกา สมเด็จพระ พันวษาให้นางวันทองตัดสินใจว่าจะอยู่กับขุนช้างหรือขุนแผนหรือพลายงาม นางวันทองตัดสินใจ ไม่ไดจ้ ึงถูกลงโทษประหารชีวิต จม่ืนไวยวรนาถคดิ ถึงมารดา เพราะขณะน้ันตนมคี วามพรั่งพร้อม มี ข้าทาสบริวาร มีภรรยา ๒ คนคือ นางศรีมาลาและนางสร้อยฟ้า มีบิดาคือขุนแผน ขาดแต่มารดา จึงลอบขึ้นเรือนขุนช้างเพ่ือไปพานางวันทองมาอยู่ด้วยนางวันทองถูกลูกขู่จงึ จำ ใจมาด้วยจมื่นไวย ให้คนของตนมาส่งข่าวขุนช้างว่าตนป่วยขอแม่ให้ไปดูแลขุนช้างรู้ทันและโกรธแค้นจึงร่างหนังสือ ถวายฎีกาต่อสมเด็จพระพันวษาในขณะพระองค์เพิ่งเสด็จกลับจากประพาสและยังประทับอยู่ใน เรือขนุ ช้างลอยคอเขา้ ไปถวายหนงั สือสมเด็จพระพันวษากรว้ิ จึงมรี ับสงั่ ให้โบยขุนช้าง ๓๐ทใี นฐานะ ที่ไม่รู้จักกาลเทศะส่วนนางวันทองเกิดนิมิตฝันและมีลางร้ายต่าง ๆ ขุนแผนจึงเสกขี้ผึ้งให้นางวัน

ทองทาปากและกินหมากที่เสกด้วยเวทมนตร์พร้อมทั้งกระแจะจันทน์เจิมหน้าก่อนเข้าเฝ้าสมเด็จ พระพนั วษา สมเดจ็ พระพนั วษามรี ับสัง่ ใหน้ างวนั ทองเลอื กว่าจะอยูก่ ับใคร ขุนช้าง ขุนแผน หรือจมื่นไวย นางวันทองตัดสินใจไม่ถูกทำ ให้สมเด็จพระพนั วษากริว้ มากเพราะทรงเห็นว่านางวนั ทองเป็นหญิงละโมบตณั หาจงึ มีรบั สั่งใหป้ ระหารชวี ิตนาง จมื่นไวยวรนาถคิดถึงมารดา เพราะขณะนั้นตนมีความพรั่งพร้อม มีข้าทาสบริวาร มี ภรรยา ๒ คนคือ นางศรีมาลาและนางสร้อยฟ้า มีบิดาคือขุนแผน ขาดแต่มารดา จึงลอบขึ้นเรือน ขุนช้างเพือ่ ไปพานางวันทองมาอยู่ด้วยนางวันทองถูกลกู ขูจ่ ึงจำ ใจมาด้วยจมื่นไวยใหค้ นของตนมา ส่งข่าวขุนช้างว่าตนป่วยขอแม่ให้ไปดูแลขุนช้างรู้ทันและโกรธแค้นจึงร่างหนังสือถวายฎีกาต่อ สมเด็จพระพันวษาในขณะพระองค์เพิ่งเสด็จกลับจากประพาสและยังประทับอยู่ใน เรือขุนช้าง ลอยคอเข้าไปถวายหนังสือสมเด็จพระพันวษากริ้วจึงมีรับสั่งให้โบยขุนช้าง ๓๐ทีในฐานะที่ไม่รู้จัก กาลเทศะส่วนนางวนั ทองเกดิ นิมิตฝันและมลี างร้ายตา่ ง ๆ ขุนแผนจึงเสกข้ีผึง้ ให้นางวนั ทองทาปาก และกินหมากที่เสกด้วยเวทมนตร์พร้อมทั้งกระแจะจันทน์เจิมหน้าก่อนเข้าเฝ้าสมเด็จพระพันวษา สมเด็จพระพันวษามีรับสั่งให้นางวันทองเลือกว่าจะอยู่กับใคร ขุนช้าง ขุนแผน หรือจมื่นไวย นาง วันทองตัดสินใจไม่ถูกทำ ให้สมเด็จพระพันวษากริ้วมากเพราะทรงเห็นว่านางวันทองเป็นหญิง ละโมบตณั หาจงึ มรี ับสัง่ ให้ประหารชีวติ นาง

แ บบทดสอบกอ่ นเรยี น . จงเลอื กคำตอบท่ถี กู ตอ้ ง ๑. เสภาเรือ่ งขุนชา้ งขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ผู้แตง่ คอื ก. รัชกาลที่ ๒ ข. รชั กาลที่ ๓ ค. สนุ ทรภู่ ง. ไมป่ รากฏนามผู้แต่ง ๒. เรอ่ื งขนุ ช้างขนุ แผนมีเนื้อหาสาระที่คนชอบเพราะเหตผุ ลใดเป็นสำคญั ก. เรอ่ื งทมี่ ีหลายรส หลายอารมณ์ ข. เรื่องทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามใจหวัง ค. เรือ่ งท่ไี มส่ มหวังของตัวละคร ง. เร่ืองทส่ี ะท้อนชีวิตของคนสมัยกอ่ น ๓.ขนุ แผนมภี รรยาทัง้ หมดก่ีคน ก. ๓ คน ข. ๔ คน •ค. ๕ คน ง. ๖ คน ๔. เดิมชื่อของนางวนั ทองคอื •ก. พิมพลิ าไลย ข. พมิ พผ์ กา ค. พมิ พลิ าลักษณ์ ง. พมิ พิวรรณ ๕. เหตุการณ์ในเรอ่ื งขุนช้างขนุ แผน สันนิษฐานว่าเกิดขนึ้ ในรัชสมยั ใด ลกง. พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ ข. พระรามาธิบดีที่ ๒ ค. พระราเมศวร ง. พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ ๖.ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ งเกีย่ วกับเร่ือง เสภาขุนชา้ งขุนแผน ก. มีเค้าเร่อื งมาจากเรอ่ื งจริงทเี่ กดิ ขน้ึ ในสมัยอยุธยา ข. ได้รับยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรวา่ เป็นสุดยอดของกลอนนิทาน ค. มีผแู้ ตง่ หลายคน บางตอนปรากฏชอ่ื ผูแ้ ตง่ แตบ่ างตอนไม่ปรากฏช่อื ผแู้ ต่ง ง. เป็นเรอื่ งทสี่ ะท้อนสภาพสงั คมและวฒั นธรรมสมยั อยุธยาและรตั นโกสินทร์ตอนตน้ ๗. “ทกุ วันนี้ลกู ชายสบายยศ พรอ้ มหมดเมียมง่ิ กม็ สี อง มบี า่ วไพร่ใชส้ อยทง้ั เงนิ ทอง พนี่ ้องข้างพอ่ ก็บรบิ รู ณ”์ คำทข่ี ีดเสน้ ใต้ หมายถงึ ผใู้ ด

ก. นางสรอ้ ยทองและนางสายทอง ข. นางแก้วกิรยิ าและนางลาวทอง ค. นางสรอ้ ยฟา้ และนางศรีมาลา ง. นางสายทองและนางลาวทอง ๖. “อีแสนถอ่ ยจญั ไรใจทมฬิ ดงั เพชรนิลเกิดขนึ้ ในอาจม” ผู้ประพนั ธใ์ ช้โวหารใดในการ ประพนั ธ์ ข. อุปมา ก. อปุ ลกั ษณ์ ค. สัทพจน์ ง. พรรณนาโวหาร ๗. ข้อใดเป็นวิธีทขี่ นุ ช้างใช้ถวายฎีกา ก. ไปเข้าเฝ้าท่ที ้องพระโรง ข. ลักลอบไปในห้องพระบรรทม ค. ฝากขุนนางผูใ้ หญไ่ ปถวาย ง. ว่ายน้ำลอยคอถวายฎีกาที่เรือพระ ทน่ี ง่ั ๘. ข้อใดคอื ความผดิ ของพระไวยที่ทำใหส้ มเดจ็ พระพนั วษาทรงพระพิโรธ ก. ทำการราวกับบ้านเมืองไม่มขี อ่ื ไม่มแี ป ข. ถอื อำนาจ ทำการโดยไม่ปรกึ ษาหารือใคร ค. อาฆาตพยาบาทขุนชา้ ง จนเกดิ เร่ืองออ้ื ฉาว ง. ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับตำแหน่งทางราชการ ๙. ขอ้ ใดไม่ใช่ลางสังหรณ์ท่เี กดิ แก่นางวนั ทอง ระฆงั ฆอ้ งขานแขง่ ในวังหลวง ก. ดุเหว่าเรา้ เสียงสำเนยี งกอ้ ง ข. ฝันว่าพลดั ไปในไพรเถ่ือน เลอ่ื นเป้อื นไมร่ ู้ที่จะกลับหลัง ค. ลดเลี้ยวเท่ยี วหลงในดงรงั ยงั มีพยคั ฆ์ร้ายมาราวี ง. ใต้เตียงสียงหนูกก็ กุ กก แมงมุงทมุ่ อกทีร่ มิ ฝา ๑๐. ขอ้ ใดไม่ใชส่ าเหตทุ ี่ทำใหน้ างวนั ทองถกู ประหารชวี ิต ก. นางวนั ทองเป็นเมียขนุ แผนแลว้ ยงั ยอมเป็นเมียขนุ ช้างอีก ข. พระพนั วษาทรงพระพโิ รธนางวันทองทีไ่ มต่ ดั สนิ ใจใหเ้ ดด็ ขาด ค. ขุนแผนไมไ่ ดเ้ พ็ดทูลของนางวันทองคนื จากขนุ ชา้ ง ง. จม่นื ไวยไปลกั แม่มาในยามคำ่ คนื ๑๑. ขอ้ ใดไมม่ ีภาพสะท้อนทางวฒั นธรรม ก. ถ้ารกั นอ้ งป้องปดิ ให้มิดอาย ฉันกลับกลายแลว้ หม่อมจงฟาดฟนั ข. พระจันทรจรแจม่ กระจา่ งดี พระพายพดั มาลีตรลบไป

ค. ไปเพด็ ทูลเสียใหท้ ลู กระหม่อมแจ้ง นอ้ งจะแตง่ บายศรไี วเ้ ชญิ ขวญั ง. หญงิ เดียวชายครองเป็นสองมิตร ถ้ามปิ ลิดเสยี ใหเ้ ปลอ้ื งไมต่ ามใจ ๑๒. “ พลางเรยี กหาขา้ ไทอยวู่ า้ วนุ่ ออี นุ่ ออี ่ิมอฉี ิมอีสอน อีมีอมี าอสี าคร นิ่งนอนไยหวามาหากู” คำประพนั ธน์ ้ขี นุ ชา้ งเรียกคนใช้ทง้ั หมดก่คี น ค. ๘ คน ก. ๖ คน ข. ๗ คน ง. ๙ คน ๑๓ “พ่ีผิดพี่ก็มาลุแก่โทษ จะคุมโกรธคมุ แค้นไปถงึ ไหน ความรักพีย่ งั รักระงมใจ อยา่ ตดั ไมตรีตรึงให้ตรอมตาย” คำประพนั ธ์นใ้ี ช้โวหารขอ้ ใด ก. เสาวรจนี ข. นารีปราโมทย์ ค. พิโรธวาทัง ง. สลั ลาปงั คพสิ ัย ๑๔. ข้อใดไม่มีอปุ มาโวหาร ก. หญงิ เดยี วชายครองเป็นสองมติ ร ถา้ มปิ ลดิ เสยี ให้เปลืองไมต่ ามใจ ข. คราวน้นั เมือ่ ตามไปกลางป่า หน้าดำเหมือนหนงึ่ ทามินหม้อไหม้ ค. ชนะความงามหนา้ ดังเทยี นชัย เขาฉุดไปเหมอื นลงทะเลลึก ง. เจ้าพลายงามตามรับเอากลับมา ทนี หี้ นา้ จะดำเปน็ น้ำหมึก ๑๕. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับความเช่ือในเรื่องไสยศาสตร์ ก. ดูเวลาปลอดห่วงทกั ทิน ข. เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตวั ค. เงียบสตั ว์จตั บุ ททวบิ าท ง. ลงยนั ตร์ าชะเอาปะอก ๑๖.เมื่อรูว้ า่ พระไวยจะมารับนางจากเรอื นขนุ ช้าง นางวันทองแนะนำใหพ้ ระไวยทำอย่างไร ก. ใหข้ นุ แผนเปน็ ผมู้ ารับนางด้วยตนเอง ข. ใหพ้ ระไวยมารับนางในเวลากลางวนั ตอ่ หน้าผู้คนทง้ั หลาย ค. ให้พระไวยเจรจากับขุนช้างก่อน มใิ ชล่ ักพานางไปโดยพลการ ง. ให้ปรกึ ษาขนุ แผน เพื่อทลู ฟอ้ งสมเด็จพระพนั วษาเร่ืองของนางวันทองกลบั คนื ๑๗.“คราน้ันวนั ทองฟังรบั สงั่ ให้ละลา้ ละลังเป็นหนักหนา ครน้ั จะทลู กลวั พระราชอาญา” คำว่า “ละลา้ ละลัง” มีความหมายตามขอ้ ใด ก. หว่ งหน้าหว่ งหลัง ข. ลกุ ลล้ี ุกลน ค. หวาดกลัว ง. ประหม่า

๑๘. “วนั นน้ั แพก้ เู มื่อดำนำ้ กก็ ริว้ ซ้ำจะฆา่ ให้เปน็ ผี แสนแคน้ ด้วยมารดายงั ปรานี ใหไ้ ปขอชีวีขุนช้างไว้ แคน้ แม่จำจะแก้ให้หายแคน้ ไม่ทดแทนอ้ายขุนช้างบา้ งไม่ได”้ ขอ้ ใดไมถ่ กู ตอ้ งตามเนื้อความข้างต้นน้ี ก. พระไวยต้องการแกแ้ คน้ ขนุ ช้าง ข. ขุนช้างเคยถูกตัดสินประหารชวี ิต ค. นางวนั ทองเคยทลู ขอพระราชทานชีวติ ของขุนช้าง ง. ในการพิจารณาคดรี ะหวา่ งขุนชา้ งกับพระไวย ขุนช้างดำน้ำพิสจู นแ์ พ้พระไวย ๑๙“เจ้ามาไยปานนี้นี่ลูกอา เขารักษาอยู่ทกุ แหง่ ตำแหนง่ ใน ใส่ดาลบ้านชอ่ งกองไฟรอบ พอ่ ช่างลอบเข้ามากระไรได้ อาจองทะนงตัวไมก่ ลวั ภัย นีพ่ อ่ ใชห้ รือว่าเจ้ามาเอง” เน้อื ความในคำประพันธข์ ้างตน้ นี้ แสดงนำ้ เสียงเดน่ ชดั ทส่ี ุดของนางวันทองตามขอ้ ใด ก. ห่วงใย ข. ตำหนิ ค. สงสัย ง. ชมเชย ๒๐.ขอ้ ใดมีน้ำเสียงเชงิ ตัดพอ้ พอ่ จงเล่าแก่แม่แล้วกลับบา้ น ก. มธี ุระส่งิ ไรในใจเจ้า ข. เมือ่ พ่อเจ้ากลับมาแตเ่ ชยี งใหม่ ไมเ่ พด็ ทลู สงิ่ ไรแตส่ ักอยา่ ง ค. เล่าความบอกผัวด้วยกลัวภยั ประหลาดใจนอ้ งฝนั พรั่นอุรา ง. มาอยูไ่ ยกบั อา้ ยหนิ ชาติ แสนอุบาทว์ใจจติ รษิ ยา

ใบงานที่ ๒ วัดความรเู้ กีย่ วกับเน้ือเร่อื ง จงทำเคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ถูก และ หน้าขอ้ ท่ีผดิ (๑๐ คะแนน) ๑ .………… บทเสภาเร่อื งขุนชา้ งขนุ แผนเปน็ ตำนานเล่าสืบกนั มา ในสมยั พระรามาธิบดีท่ี ๒ ๒ ………… เรอ่ื งขุนช้างขนุ แผนมี.เค้ามาจากเรอื่ งจรงิ ปรากฏหลักฐานใน“คำให้การของสมเดจ็ กรพระดำรงราชานภุ าพ” ๓............. เสภาช้างขุนแผนมาจากการเล่านิทาน ภายหลังมีการใช้เคร่ืองดนตรปี ระกอบเช่น กรบั ๔…………. เสภาชา้ งขุนแผนจดั เป็นวรรณคดีมรดกเร่อื งยาวทีส่ ะทอ้ นสภาพสังคมในสมัยกรุงศรี อยธุ ยา ๕…………. เสภาช้างขนุ แผนตอนขนุ ช้างถวายฎีกา เปน็ ผลงานของพระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้า เจ้าอยู่หัว ๖…………. พนั ศรโยธาถูกประหารชีวิตเนื่องจากฆ่าฝงู ควายทีไ่ ปออกนั หน้าพระทีน่ ่ัง ๗…………. ขนุ ชา้ งเคยมีภรรยามากอ่ นแตง่ งานกบั วันทอง ๘…………. ของวิเศษ ๓ อย่างที่ขนุ แผนมีคือ ม้าสหี มอก กมุ ารทอง และดาบอาญาสทิ ธ์ิ ๙…………. ขนุ ชา้ งแขง่ ดำนำ้ กับขนุ แผนเพราะแย่งนางวนั ทอง ๑๐………. ขุนแผนเป็นผู้ขออภัยโทษจากพระพันวษาให้แกน่ างวนั ทอง

ใบความรู้ท่ี ๓ ลักษณะคำประพันธป์ ระเภทเสภา เสภามีกำเนิดมาจากการเล่านิทาน เมื่อการเล่านิทานเป็นที่นิยมแพร่หลาย ทำให้เกิดมี การปรับปรุงแข่งขันกันขึ้น ผู้เล่าบางท่านจึงคิดแต่งเป็นกลอน ใส่ทำนอง มีเครื่องประกอบ จังหวะ คือ \"กรับ\" จนกลายเปน็ ขบั เสภาข้ึน เสภามีมาแต่โบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่ามีข้ึนในสมยั สมเด็จพระบรมไตร โลกนาถ ราว พ.ศ. ๒๐๑๑ เสภาในสมัยโบราณไม่มีดนตรีประกอบ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้มปี พ่ี าทย์บรรเลงประกอบ สมยั รชั กาลที่ ๓ นยิ มพลงอตั รา ๓ ช้นั เพลงทร่ี ้องและบรรเลงในการขบั เสภา ซ่งึ เคย ขับเพลง ๒ ชั้น กเ็ ปล่ยี นเปน็ ๓ ช้นั บา้ ง และใชก้ นั มาจนปจั จบุ นั นี้ สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีผู้คิดเอาตัวละครเข้าแสดงการรำและทำบทบาท ตามคำขับ เสภาและร้องเพลง เรียกว่า \"เสภารำ\" สมัยน้ีทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้กวชี ว่ ยแตง่ เสภาเรื่อง นิทราชาคริต เพื่อใช้ขับเสภาในเวลาทรงเครื่องใหญ่ มีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงคือ พวกขับเสภา สำนวนแบบนอก คือใช้ภาษาพื้นบา้ นมาสนใจสำนวนหลวง สมัยรัชกาลท่ี ๖ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพกับพระรา ชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา ช่วยกันชำระเสภาขุนช้างขุนแผน แก้ไขกลอนให้เชื่อมต่อ กัน และพิมพ์เป็นฉบับหอสมุดแห่งชาติเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ เป็นแบบแผนของการ แสดงขับเสภา ซึ่งต่อมากลายเป็นละครเสภา ผู้แสดง นิยมใช้ผู้แสดงชายและหญงิ ตามบทเสภา ของเร่ือง การแต่งกาย แตง่ กายตามทอ้ งเร่อื งคลา้ ยกับละครพนั ทาง เรื่องที่แสดง มักจะนำมาจากนิทานพืน้ บ้าน เช่น เรื่องขุนช้างขุนแผน ไกรทอง หรือ เร่ืองจากบทพระราชนพิ นธใ์ นรชั กาลท่ี ๖ เช่น เร่อื งพญาราชวังสัน สามัคคเี สวก การแสดง ละครเสภาจำแนกตามลกั ษณะการแสดงไว้ ดงั นี้

๑. เสภาทรงเครื่อง สมัยรัชกาลที่ ๔ วงปี่พาทย์ได้ขยายตัวเป็นเครื่องใหญ่ เมื่อป่ี พาทย์โหมโรงจะเร่ิมด้วย \"เพลงรวั ประลองเสภา\" ต่อด้วย \"เพลงโหมโรง\" เชน่ เพลงไอยเรศ เพลง สะบัดสะบิ้ง หรือบรรเลงเป็นชุดสั้นๆ เพลงครอบจักรวาล แล้วออกด้วยเพลงม้าย่องก็ได้ มี ข้อความสำคัญว่า โหมโรงจะต้องลงดว้ ยเพลงวา จึงจะเป็นโหมโรงเสภา เมื่อปี่พาทย์โหมโรงแลว้ คนขับก็ขับเสภาไหว้ครูดำเนินเรื่อง จากนั้นร้องส่งเพลงพม่าห้าท่อน แล้วขับเสภาคั่น ร้องส่ง เพลงจระเข้หางยาวแล้วขับเสภาคัน่ ร้องส่งเพลงสี่บทแลัวขับเสภาคั่น ร้องส่งเพลงบุหลันแลว้ ขบั เสภาคน่ั ตอ่ ไปไมม่ ีกำหนดเพลง คงมสี ลับกันเชน่ นี้ตลอดไป จนจวนหมดเวลา จงึ สง่ เพลงส่งท้าย อกี เพลงหนงึ่ เดิมใช้เพลงกราวรำ ตอ่ มาเปลยี่ นเปน็ อกทะเล เตา่ กนิ ผกั บ้งุ หรอื พระอาทิตย์ชิงดวง เดิมบรรเลงเพลง ๒ ชั้น ต่อมาประดิษฐ์เป็นเพลง ๓ ชั้น ที่เรียกว่า เสภาทรงเครื่อง คือ การขับ เสภาแลว้ มีรอ้ งส่งให้ป่ีพาทยร์ ับ ๒. เสภารำ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ กระบวนการเล่น มีคนขับเสภาและเคร่อื งป่ี พาทย์ บางครั้งก็ใช้มโหรีแทน มีตัวละครออกแสดงบทตามคำขับเสภา และมีเจรจาตามเนื้อร้อง เสภารำมแี บบสุภาพและแบบตลก ผ้รู ิเรมิ่ คือ ขุนรามเดชะ (ห่วง) บางท่านว่า ขนุ ราม (โพ) กำนัน ตำบลบา้ นสาย จงั หวัดอา่ งทอง ซึ่งเล่าลือกันวา่ ขับเสภาดี ผู้แต่งเร่ืองขุนช้างขุนแผน ตอนขุนแผน เข้าห้องนางแก้วกิริยา สมัยรัชกาลที่ ๖ ขุนสำเนียงวิเวกวอน (น่วม บุณยเกียรติ) ร่วมกับนาย เกรน่ิ และนายพัน คิดเสภาตลกขน้ึ อีกชดุ หนึง่ เลยี นแบบขุนช้างขุนแผน โดยแสดงเรื่องพระรถเสน ตอนฤาษีแปลงสารใช้วงปี่พาทย์เคร่ืองห้าบรรเลง และมีกรับขยับประกอบการขับเสภา เพลงร้อง มีลักษณะคล้ายละครพันทาง แต่จะมีการขับเสภาซึ่งเป็นบทกลอนสุภาพ แทรกอยู่ในเรื่องตลอด เวลสถานท่แี สดง แสดงในโรงบนเวที มีการเปลย่ี นฉากตามท้องเร่ืองอย่างละครดกึ ดำบรรพ์ เสภาเรอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผนเป็นคำประพันธ์ ประเภทกลอนเสภา ๔๓ ตอน ซึง่ มีอยู่ ๘ ตอนทีไ่ ด้รบั การยกยอ่ งว่าแตง่ ดยี อดเย่ียมจากวรรณคดสี มาคม อนั มีสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเป็นประธานโดยลงมติเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๔ และตอน ขุนช้างถวาย ฎีกาเป็นหนึง่ ในแปดตอนท่ี ได้รบั การยกยอ่ ง

ลักษณะคำประพันธ์กลอนเสภาเป็นกลอนสุภาพ เสภาเป็นกลอนขั้นเล่าเรื่องอย่างเล่า นิทานจึงใช้คำมากเพื่อบรรจุข้อความให้ชัดเจนแก่ผู้ฟัง และมุ่งเอาการขับได้ ไพเราะเป็นสำคัญ สัมผัสของคำประพันธ์ คือ คำสุดท้ายของวรรคต้น ส่งสัมผัสไปยังคำใดคำหนึ่งใน ๕ คำแรกของ วรรคหลงั สัมผัสวรรคอืน่ และสมั ผัสระหวา่ งบทเหมอื นกลอนสภุ าพ

ใบงานท่ี ๓ วัดความรู้ลักษณะคำประพันธ์ คำสง่ั ตอนท่ี ๑ จงตอบคำถามเกี่ยวกบั ลกั ษณะคำประพันธ์ (๕ คะแนน) ๑. เสภามที มี่ าอย่างไร…………………………………………………………………………………….. …………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. เสภาเกิดขึน้ สมยั ใด………………………………………………………………………………………………… ๓. เครื่องประกอบการขับเสภาทส่ี ำคัญคอื ……………………………………………………………………. ๔. เสภาทรงเครอ่ื งมลี กั ษณะอย่างไร เกดิ ข้นึ ในสมัยใด ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. สนุ ทรภู่เรว่ มแตง่ เสภาขนุ ช้างขุนแผนตอนใด……………………………………………………………….. ตอนที่ ๒ จงจบั ค่คู ำประพันธ์ และลกั ษณะท่บี ง่ ชจ้ี ากคำประพันธ์นั้น ๆ (๑๐ คะแนน) ๑. แมม้ ไิ ปให้งามกต็ ามใจ จะบาปกรรมอยา่ งไรก็ตามที ก. ความรักของแมท่ ม่ี ตี อ่ ลกู ๒. บอกว่าเราจับไขม้ าหลายวันเกรงแม่จะไม่ทนั มาเหน็ หน้า ข.ความหุนหนั พลันแลน่ ๓. เจา้ เปน็ ถึงหวั หม่ืนมหาดเล็ก มิใช่เด็กดอกจงฟังคำแม่วา่ ค. ความเมตตาของผู้ใหญ่ต่อผู้น้อย ๔. เห็นสาม ความรู้ราเข้ามาอัญชลี พระปรานีเหมอื นลูกในอทุ รง. ความมีอำนาจ ๕. มิรู้ที่จะแถลงแจง้ กิจจา กอดเมยี เมินหน้าน้ำตากระเดน็ จ.ความแคน้ ๖. กกู ็ชัว่ มัวรักแสองนาง ละวางนางวนั ทองใหโ้ ศกศัลย์ ฉ. ความโกรธ ๗. เฮย้ ใครรับฟอ้ งของมันที ตเี สียสามสิบจึงปล่อยไป ช. ความร้อนตวั กลัวผิด ๘. สู้ตายขอถวายซึ่งฎกี า แค้นเหลอื ปัญญาจะทานทน ซ. ความมเี หตผุ ล ๙. เหมอื นดนิ ประสิวปลิวคิดกับเปลวไฟ ดูดูเ๋ ป็นไดอ้ วี นั ทอง ฌ. ความร้สู กึ ผดิ ๑๐. ถา้ เจ้าเห็นเปน็ สขุ ไมล่ ุกลาม ก็ตามเถดิ มารดาจะคลาไคล ญ. ความห่วงใยของสามีทมี่ ีตอ่ ภรรยา

ใบความรู้ที่ ๔ เรียนรูต้ วั ละคร ขนุ ชา้ ง ขุนช้างมีลักษณะรูปชั่วตัวดำหัวล้านมาแต่กำเนิด นิสัยเจ้าเล่ห์เพทุบายเป็นบุตร ของขุนศรีวชิ ัยและนา งเทพทองซ่ึงมีฐานะร่ำรวยมาก ขุนช้างแม้จะเกิดมาเปน็ ลูกเศรษฐี แต่ก็อาภัพถกู แมเ่ กลียดชังเพราะอับอายที่มีลูกหัวล้าน จึงมักถูกแมด่ ่าว่าอยู่เสมอและ ไม่ว่าจะเดินไปทางใดก็จะเปน็ ทีข่ บขนั ลอ้ เลียนของชาวบ้านทั่วไปเสมอ พอเป็นหนุ่มก็ ได้นางแก่นแก้วเป็นภรรยาอยู่ด้วยกันได้ปีกว่านางก็ตาย จึงหันมาหมายปองนาง พิมพลิ าไลยแต่นางไม่ยินดีด้วยและได้แตง่ งานกับพลายแก้ว แต่ขนุ ช้างก็ยังไม่ลดความ พยายามคงใช้อุบายจนได้แต่งงานกับนางสมใจปรารถนา ข้อดีของขุนช้าง คือรักเดียวใจเดียวและ เลย้ี งดูนางวนั ทองเป็นอย่างดที ำใหน้ างวนั ทองเรม่ิ เหน็ ใจขนุ ช้าง ขุนแผน ขุนแผนเดิมชื่อพลายแก้วเป็นบุตรของขุนไกรพลพ่ายและนางทองประศรีมีรูปร่างหน้าตา งดงามคมสัน สติปัญญาเฉลียวฉลาด ด้วยลักษณะนิสัยเป็นคนเจ้าชู้และมีคารมคมคาย จึงง่ายต่อ การพิชิตใจหญิงสาวท่ีผ่านเข้ามาในชีวติ ของพลายแก้ว มีดาบฟ้าฟื้นเป็นอาวุธ ประจำตัว พาหนะคู่ใจคือม้าสีหมอก ได้บวชเณรและเรียนวิชาที่วัดส้มใหญ่ แล้วย้ายไปเรียนต่อที่วัดป่าเลไลยจนสุดท้ายไปเป็นศิษย์สมภารคง วัดแค มี ความรู้ทางโหราศาสตร์ ปลุกผี อยู่ยงคงกระพันคาถามหาละลวยทำให้ผู้หญิง รักตลอดจนวิชาจากตำรบั พชิ ยั สงคราม และยังมีความสามารถเทศนได้ไพเราะ จับใจอีกด้วย ต่อมาสึกจากเณรแล้วแต่งงานกับนางพิมพาลาไลย ไม่นานก็ถูก เรยี กตวั ไปเป็นแม่ทพั รบกบั เชียงใหม่ ครั้นไดช้ ัยชนะกลับมาก็ได้เปน็ ขุนแผนแสนสะท้านแตป่ รากฎ ว่าภรรยาแต่งงานใหม่กับขุนช้าง ภายหลังขุนแผนต้องโทษถูกจำคุกถึง ๑๕ ปี จึงพ้นโทษ และทำ

สงครามกับเชียงใหม่อีกครั้งเมื่อชนะกลับมาก็ได้ตำแหน่งเป็นพระสุรินทรฤาไชย เจ้าเมือง กาญจนบรุ ี นางวนั ทอง นางพิมพิลาไลยเป็นหญิงรูปงามแต่ปากจัดเปน็ บุตรของพันศรโยธาและ นางศรีประจัน ต่อมาได้แต่งงานกับพลายแก้วซึ่งภายหลังมีลูกชายด้วยกัน คือ พลายงาม และได้เปลี่ยนชื่อเป็นนางวัน ต่อมานางถูกแม่บังคับให้แต่งงานใหม่ กับขุนช้างทำใหถ้ กู ประนามวา่ เป็นหญงิ สองใจ นางวันทองเป็นคนที่ไมก่ ล้าที่จะ ตดั สินใจ เม่อื มคี ดีฟ้องร้องถึงสมเดจ็ พระพันวษา ซ่ึงพระองค์ให้นางเลือกว่าจะ อยู่กับใครแต่นางตัดสินใจไม่ถูกจึงถูกสั่งประหารชีวิต นางวันทองมีลักษณะสาวชาวบ้านจึงเป็น คนซื่อ ไม่ค่อยฉลาดเท่าใดนัก ทำอะไรก็ทำตามประสาหญิงชาวบ้าน แต่สังคมไทยมีความจำกัดให้ ผู้หญิงอยู่ในกรอบของประเพณี จึงทำให้ดูเหมือนว่านางวันทองไม่รักนวลสงวนตัว อย่างไรก็ตาม นางวนั ทองกย็ ังมีภาพลักษณ์ด้านดีท่ีเห็นไดช้ ดั คอื ความละเอยี ดอ่อน ไมว่ ่าจะเป็นในเร่ืองการรับรู้ ถึงความดีของผู้อื่นที่ปฏิบัติต่อนาง ดังจะเห็นได้จาก ถึงแม้นางจะไม่ได้รักขุนช้างแต่ด้วยความดี ของขุนช้างและความผูกพันที่อยู่กันมา ๑๕ ปี ทำให้นางเป็นห่วงเป็นใยความทุกข์สุข และ ความรู้สึกของขุนช้างไม่น้อย นางวันทองยังเป็นแม่ที่ดี คือเมื่อเห็นลูกกำลังกระทำผิดก็ไม่เห็นดี เห็นงามด้วย ดังจะเห็นได้จากตอนที่พลายงามบุกขึ้นเรื่อนขุนช้างในยามวิกาล นอกจากนี้นางวัน ทองยงั เป็นคนกลา้ ทีจ่ ะยอมรบั ชะตากรรมของตัวเอง มนี ำ้ ใจเมตตา และให้อภัยโดยไมเ่ คยี ดแค้น สมเดจ็ พระพนั วษา สมเด็จพระพันวษา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ ยุธยายุคนี้เป็นยุคท่ี บ้านเมืองเจริญรุ่งรือง มีความอุดมสมบูรณ์ราษฎรทั้งหลายอยู่กันอย่างร่มเย็นเป็นสุข บรรดาประเทศใกล้เคียงก็อ่อนน้อมเพราะยำเกรงบารมีครั้งสมเดจ็ พระพันวษานารากร ครองนคร กรุงศรีอยุธยา เกษมสุขแสนสนุกดังเมืองสวรรค์ พระเดชนั้นแผ่ไปในทิศาเป็นปิ่นภพลบโลกโลกา ครอบครองไพร่ฟ้าประชากร เมืองขึ้นน้อยใหญ่ในอาณาเขตเกรงพระเดชทั่วหมดสยดสยอน ต่างประเทศขอบเขตพระนครชลีกรอ่อนเกล้าอภิวันท์ พร้อมด้วยโภไคยไอศูรย์ สมบูรณืพูนสุข เกษมสนั ตพ์ ระองค์ทรงทศพริ าชธรรม์ ราษฎรทัง้ นน้ั ก็ยินดี สมเดจ็ พระพนั วษามีนิสัยโกรธง่าย แต่

พระองค์ก็นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีความยุติธรรมต่อพวกทหาร เสนาอำมาตย์ และราษฎร พอสมควร เม่อื มี คดีฟ้องร้องกนั ก็จะให้มกี ารไตส่ วนและพสิ จู น์ความจริง นางสายทอง นางสายทองเป็นพี่เลี้ยงนางพิมพิลาไลย ได้เลี้ยงดูกันมาตั้งแต่เด็ก ๆจึงมีความรักใคร่สนิท สนมกันมากเหมือนพนี่ ้องแทๆ้ นางช่วยเป็นแม่ส่อื ใหพ้ ลายแก้วกับนางพิมพิลาไลย รกั กัน และรู้เห็น เป็นใจให้ทั้งสองแอบไปพบกันหลายครั้งต่อมานางก็ตกเป็นภรรยาของพลายแก้วนางสายทองเป็น เพื่อนคอยปลอบใจยามที่นางพิมพิลาไลยโศกเศร้าเพราะความอาลัยรักและห่วงใยพลายแก้วที่จาก ไปทำสงครามในแดนไกลแต่นางไม่ได้มีโอกาสอยู่ร่วมกับพลายแก้ว อย่างใกล้ชิดในฐานะสามี ภรรยาเลยแม้ว่าพลายแก้วจะมีหน้าที่ราชการสูงขึ้น ได้เป็นขุนแผนแสนสะท้าน และได้เลื่อนเป็น พระสุรินทรฤาไชย นางสายทองกย็ ังอยู่กบั นางศรปี ระจัน แมข่ องนางพิมพิลาไลยเช่นเดิม นางลาวทอง นางลาวทอง เป็นลกู ของแสนคำแมน นายบา้ นจอมทอง แหง่ เชยี งใหม่ แม่ชอื่ นาง ศรีเงินยวงพ่อยกนางให้เป็นภรรยาของพลายแก้วเพื่อตอบแทนบุญคุณทีก่ องทัพของพลาย แก้วไม่ได้รุกรานผคู้ นในหมู่บ้านให้เดือดร้อนพลายแกว้ พานางกลับมาท่ีกรุงศรีอยุธยา ด้วย เมื่อไดต้ ำแหนง่ ขนุ แผนแสนสะทา้ นแลว้ ก็พานางไปทีส่ ุพรรณบุรี ครัน้ ได้พบกบั นางวันทองก็ โต้เถยี งกันอย่างรนุ แรงขุนแผนโกรธทีน่ างวันทองพูดกา้ วร้าวลว่ งเกิน จงึ พานางลาวทองไปอยู่ทกี่ าญจนบุรีต่อมา นางป่วยหนักขนุ แผนจึงออกจากวังมาเยี่ยมทำให้ขุนช้างมีโอกาสใสค่ วามขนุ แผนนางจึงถูกพรากเข้าไปอยู่ในวัง ทำหน้าที่ปักสะดึงกรึงไหมแต่เมื่อขุนแผนขออภัยโทษให้นางเป็นอิสระ สมเด็จพระพันวษาก็ไม่พอใจสั่งจำคุก ขุนแผนไว้ นางลาวทองจึงต้องพลัดพรากจากขุนแผนเป็นเวลานานถึง ๑๖ปีจนกระทั่งขุนแผนพ้นโทษจึงได้ กลบั มาอย่ดู ว้ ยกนั อกี นางทองประศรี นางทองประศรี เดมิ เปน็ ชาวบ้านวัดตระไกรพอแตง่ งานกบั ขุนไกร พลพ่ายก็ยา้ ยไปอยูก่ นิ ดว้ ยกนั ที่สุพรรณบรุ ีแลว้ ให้กำเนดิ ลกู ชายคนหนง่ึ คอื พลายแก้ว เปน็ หญงิ ทม่ี นี ำ้ ใจเดด็ เด่ยี ว ทรหดอดทนในคราวทขี่ นุ ไกรผ้เู ปน็ สามปี ระสบเคราะหก์ รรมถึงถูกประหารชวี ติ นางทองประศรรี ขู้ ่าวก็รีบพาลูกหนีเข้าป่ามุ้งหน้าไปหา

ญาตขิ องขนุ ไกรทกี่ าญจนบุรแี ล้วตั้งหน้าตัง้ ตาทำมาหากินอย่างขยันขนั แข็งค่อยเกบ็ หอมรอมรบิ จนมฐี านะดขี ้ึนและเลยี้ งลูกชายคนเดยี วอย่างเอาใจใส่ คอยอบรมส่ังสอนให้เป็นคนดอี ยู่เสมอ พลายงาม พลายงาม มีตำแหน่งราชการเป็น จมื่นไวยวรนาถ ซึ่งมักเรียกสั้นๆ ว่า พระไวยหรือหมื่นไวย เป็นลูกของขุนแผนกับนางวันทอง แต่ไปคลอดที่บ้าน ของขุนช้าง ยิ่งโตพลายงามก็ยิ่งละหม้ายคล้ายขุนแผนมาก มีอุปนิสัย ความสามารถคล้ายขุนแผน ข้อดีของพลายงามคือมีความสามารถในการออ กรบทำศึกสงคราม พลายงามมคี วามกตญั ญตู อนท่พี ลายงามไปช่วยพ่อขนุ แผนทคี่ ุกโดยอาสาขอให้ พ่อขุนแผนไปทพั ด้วยและได้ชัยชนะกลับมา ท่าให้พระพันวษายกโทษให้ ข้อเสียของพลายงาม คือ เป็นถึงขุนนางแต่ประพฤติตัวไม่เหมาะสม คือตอนที่ว่าพลายงามบุกขึ้นเรือนขุนช้างในยามวิกาล เพอื่ ทจ่ี ะลักพาตัวแม่วันทองมาอยดู่ ้วยท่าใหข้ ุนช้างโกรธจึงฟ้องถวายฎีกาและยังมคี วามเจ้าชู้ ตอน ที่ว่าพลายงามได้นางสร้อยฟา้ และนางศรีมาลาเปน็ เมยี แตเ่ จ้าชูน้ ้อยกวา่ ขนุ แผน นางแกว้ กิริยา นางแก้วกิริยา เป็นลูกของพระยาสุโขทัย กับนางเพ็ญจันทร์ พ่อพา นางมาขายฝากให้เป็นทาสของขุนชา้ งเพ่ือ นำเงนิ ไป ใชห้ นี้ ขุนชา้ งนกึ เอ็นดูจึง เลี้ยงนางไว้เป็นเหมือนน้องสาว ขุนแผนหาของสำคัญสามอย่าง คือ ดาบฟ้า ฟื้น กุมารทอง ม้าสีหมอกได้ครบแล้ว คืนหนึ่งก็ขึ้นบ้านขุนช้างเพื่อลักตัวนาง วันทองไป แต่เข้าห้องผิดไปเข้าห้อง นางแก้วกิริยาและได้นางเป็นภรรยา ก่อน จากกันขุนแผนมอบแหวนให้นางไว้ดูต่างหน้าและให้เงินไปไถ่ตัวกับขุน ชา้ ง ตลอดเวลานางเป็นภรรยาทดี่ ีและซอื่ สัตย์ต่อขุนแผนเสมอ ยามทข่ี นุ แผนมเี คราะหต์ อ้ งโทษ

ใบความรทู้ ่ี ๔ เรียนรคู้ ำศพั ท์ คำศพั ท์สำคญั จากเร่ืองเสภาขนุ ช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎกี า ๑. จัญไร หมายถึง เลวทราม เปน็ เสนยี ด ๒. บรกิ รรม หมายถงึ สำรวมใจรา่ ยมนตร์ เสกคาถาซ้า เพื่อให้เกดิ ความขลัง ๓. ทักทิน หมายถงึ วนั ชว่ั รา้ ยในตา้ ราโหราศาสตร์ ๔. ทรพล หมายถงึ ไมม่ กี ำลัง, อ่อนแอ ๕. สัตวจ์ ตุบททวิบาท หมายถงึ สัตว์ ๔ เท้า และสตั ว์ ๒ เท้า ๖. อัฒจันทร์ หมายถงึ ชั้นทต่ี ้ังเครื่องแก้ว ๗. มลู่ ่ี หมายถงึ มา่ นที่ดว้ ยซไ่ี มเ้ ลก็ ๆ ๘. หนิ ชาติ หมายถงึ มีกำเนิดต่ำ, เลวทราม ๙. ปทุมมาลย์ หมายถึง ดอกบวั ๑๐. ริษยา หมายถึง ความไมอ่ ยากใหค้ นอน่ื ได้ดี ๑๑. จลู่ ู่ หมายถงึ หุนหนั พลนั แลน่ ๑๒. ขค้ี รอก หมายถงึ ลูกของทาส ๑๓. ฎีกา หมายถงึ คำร้องทุกขท์ ี่ยื่นถวายพระเจ้าแผ่นดนิ ๑๔. เครอ่ื งอาน หมายถึง เครอื่ งกิน ๑๕. ของสำคัญ หมายถงึ เต้านม ๑๖. จวงจนั ทน์ หมายถึง เครอื่ งหอมทีเ่ จือด้วยไมเ้ จือและไม้จนั ทน์ ๑๗. ตราสิน หมายถึง แจ้งความไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ๑๘. ตกวา่ หมายถึง ราวกบั ว่า ๑๙. ลอ่ นแก่น หมายถึง ส้ินเนื้อประดาตัว ๒๐. ทรามสวาดิ หมายถึง เปน็ ทรี่ ัก ๒๑. ส่งทุกข์ หมายถึง เขา้ ส้วม ๒๒. เพรางาย หมายถึง เวลาเช้า เวลาเยน็ ๒๓. แสงศรี หมายถึง แสงอาทิตย์ ๒๔. อุธัจ หมายถึง ตกประหมา่ ๒๕. เมรุไกร หมายถงึ ภเู ขา ๒๖. ยวน หมายถงึ กำเรบิ รกั ๒๗. ฉวยสบเพลง หมายถึง บังเอิญถูกจังหวะ ๒๘. ตลอดสัน หมายถงึ ตลอดสนั หลัง ๒๙. แหงนเถอ่ หมายถึง ค้างอยู่

ใบงานท่ี ๔ วัดความรู้เก่ียวกบั ตัวละคร คำสง่ั อ่านเรอ่ื งแล้วเขยี นกรอบแนวคิด ผังความคดิ บนั ทึก ยอ่ ความและรายงาน จงนำคำที่กำหนดให้ เตมิ ลงในชอ่ งา่ งใหถ้ กู ต้อง คำฟ้อง ฟอ้ งร้อง ถวายฎีกา วนั ทอง ประพาสบวั ว่าราชการ ดำน้ำ จมื่นไวย ขนุ แผน ขุนชา้ ง โปรยขา้ วสารเสก ร่ายเวทมนตร์ หม่นื วเิ ศษผล เสภาเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผนตอนขนุ ชา้ งถวายฏีกาน้ันกลา่ วถึงเหตกุ ารณณ์ ืท่เี กิดข้ึนหลงั จากที่ (๑)……………………………. แพพ้ ลายงามเมื่อต้อง (๒) …………………………….. แขง่ ขันกันในการ พสิ ูจน์ความจริงแต่(๓)……………………………ไดข้ อชีวิตไวพ้ ลายงามหรอื (๔) …………………………… คดิ ถงึ มารดาตอ้ งการใหม้ ารดามาอยูก่ บั ตวั และขุนแผนผูเ้ ป็นบดิ า จงึ คิดทจี่ ะลักลอบขึน้ เรือนขุน ช้าง กอ่ นข้ึนเรอื นได้ (๕) ……………………………………..เพ่ือสะกดให้คนหลบั และได้ไลภ่ ตู พรายดว้ ย การ (๖) …………………………….จากนน้ั ก็เขา้ ไปหานางวนั ทองซึ่งกำลังนอนกบั ขุนชา้ ง ในตอนแรก วนั ทองตอ่ วา่ พลายงามวา่ ทำความผิด พรอ้ มแนะนำใหพ้ ลายงาม (๗) …………………………..เพ่อื ได้ นางวนั ทองคนื แต่พลายงามดอ้ื ดงึ วันทองจึงต้องยอมไปด้วยพลายงามให้(๘) …………………………… มาบอกขุนช้างวา่ พลายงามป่วยให้มาตามนางวันทองไปขุนชา้ งโกรธมากจงึ เขียน(๙)………………… ถวายฎีการตอ่ พระพนั วษาขณะที่พระองค์ (๑๐)………………………………………

ใบงานท่ี ๔ เรียนรตู้ วั ละคร คำส่งั ตอนที่ ๒ ให้นกั เรยี นเลือกตวั ละครทน่ี กั เรยี นชอบมากท่ีสดุ จากเร่ืองขนุ ชา้ งขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา พรอ้ มระบเุ หตุผลใหช้ ดั เจน (๑๐ คะแนน) ๑. ตัวละครท่ชี อบ (๑ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. แนวคดิ หรือคุณลักษณะใด ของตัวละครที่นักเรียนชอบ สามารถนำมาประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ใช้ อยา่ งไร คุณลักษณะ หรือแนวคดิ (๓ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… วิธกี ารนำไปประยกุ ต์ (๓ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………

ผลทีเ่ กดิ (๓ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ใบความร้ทู ี่ ๕ คุณค่าวรรณคดี คุณค่าของวรรณคดี ๑. คณุ คา่ ดา้ นเน้อื หา ช่วยให้เป็นความสำคัญของการศกึ ษาวรรณคดโี ดยอาศัยการดำเนิน เรื่องหรือแนวคิดเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์วรรณคดี เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้ง การ ดำเนินเรื่องในเนื้อหาเป็นส่วนท่ีทำให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด ทั้งสอดแทรกแนวคิดและกลวิธี ในการดำเนินเร่ืองให้ผู้อา่ นได้ใช้มุมมองความคิดพิจารณาเรื่องนั้นๆ โดยผู้อ่านอาจมีทัศนะตอ่ เรือ่ ง แตกต่างกันไป ทัง้ นี้ขึน้ อยู่กบั ประสบการณแ์ ละความสนใจของผ้อู ่าน ซง่ึ เป็นส่ิงที่ดีท่ีจะทำให้เกิด การพัฒนาความคดิ และเสริมสร้างจนิ ตนาการ ชว่ ยยกระดบั ความคิดและจิตใจของผู้อ่านให้สูงข้ึน การวิเคราะห์คณุ คา่ ด้านเนอ้ื หา สามารถวเิ คราะห์ในประเด็นตา่ งๆ ไดด้ ังน้ี ๑) ได้รบั ความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งตา่ งๆ เชน่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี สภาพสงั คมการเมือง การปกครอง การดำรงชวี ติ ของคนในสมัยนน้ั ๆ และความรู้อืน่ ๆ ๒) ได้รับประสบการณ์ กวีถ่ายทอดประสบการณ์ที่เกิดจากการมองโลกอย่างกว้างขวางและ ลมุ่ ลกึ จากประสบการณส์ ่วนตัวของกวไี ดก้ ลายเป็นประสบการณ์รว่ มระหว่างผู้อ่านกับกวี ผู้อา่ นไดร้ ับประสบการณ์จากการอ่านงานของกวี ๓) เกิดจินตนาภาพ ผู้อ่านเห็นคุณค่าในความงดงามของวรรณคดีทำให้เกิดความประทับใจ และรับรู้ความคิดที่แปลกใหม่ เป็นกระบวนการที่ให้ราบละเอียดโดดเด่น และให้ผู้อ่านได้ สร้างความคิดตาม ซึ่งขึ้นอยู่กับพื้นฐานของแต่ละคน ผู้อ่านเกิดความคิดจินตนาการ กว้างไกลและประเทืองปญั ญา ๔) พัฒนาจิตใจผู้อ่าน วรรณคดีต่างต่างๆ มีเนื้อหาสาระ เรื่องราวสนุก อ่านแล้วสบายใจ สามารถกล่อมเกลาจิตใจให้อ่อนโยน ใหข้ อ้ คิดคตธิ รรม อกี ทั้งสอนให้ประพฤตดิ ี ประพฤติ ชอบ สรา้ งสรรค์ จรรโลงใจให้เกิดกำลังใจยามทท่ี ้อแท้ ๒. คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ วรรณคดที ี่ไดร้ ับยกย่องวา่ ดเี ด่นต้องมกี ลวิธกี ารประพนั ธ์ท่ีดีเยี่ยม และให้คำเหมาะสมกับลักษณะหนา้ ท่ีของคำ ถูกต้องตรงความหมาย เหมาะสมกับเน้ือเรื่องและมี เสยี งเสนาะ ซ่ึงผ้อู า่ นจะเกิดจินตนาการตามเนื้อเร่อื งได้ จะตอ้ งเข้าใจสำนวนโวหารและภาพพจน์

เสมือนได้ยินเสียง ได้เห็นภาพเกิดอารมณ์สะเทอื นใจ มีความรู้สึกคลอ้ ยตาม ประกอบด้วย โวหาร ภาพพจน์ การเล่นคำ ๓. คุณค่าดา้ นสงั คมและสะท้อนวิถไี ทย วรรณคดเี ป็นวัฒนธรรมทางภาษาที่แสดงให้เห็น ถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต บอกเล่าเรื่องราวด้านชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี สภาพสังคมหรือความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม ซึ่งเป็นลักษณะประจำชาติที่แสดงออกมาทาง วรรณคดดี ้วยภาษาที่งดงามไพเราะ ทำให้ผ้อู า่ นเกดิ ความรสู้ กึ เป็นชาติรว่ มกนั เพราะต่างร้สู กึ ว่าได้ เปน็ เจา้ ของขนบธรรมเนยี มประเพณีและภาษาเดยี วกนั แบง่ เปน็ ๒ ประเภทคอื ๑) วรรณคดีชี้นำสังคม เป็นการพิจารณาคุณค่าด้านสังคมว่าวรรณคดีมีส่วนเกี่ยวข้อ กับสังคม สะท้อนให้เป็นสภาพสังคม ท้ังด้านค่านิยมวัฒนธรรมและความประพฤติของคนใน สังคม แนวทางการปฏบิ ัตติ น หรือชี้ใหเ้ หน็ ปญั หาทีส่ งั คมขณะนั้นกำลงั เผชญิ อยู่ ๒) วรรณคดีสร้างสำนึกร่วมในความเป็นชาติ วรรณคดีเป็นสิ่งผูกพันจิตใจของคนใน ชาติให้สำนึกว่าร่วมอยู่ในชาติเดียวกัน วรรณคดีจะเป็นสื่อกลางที่นำไปสู่การรวมเป็นชาติ ซึ่งจะ เปน็ เคร่ืองผูกจิตใจคนในชาตใิ ห้เปน็ หน่งึ เดยี วกนั ๔. ข้อคิดที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การอ่านวรรณคดี ผู้อ่านจะ ได้รับข้อคิดต่างๆ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ไม่ว่าจะเป็นคติธรรม คำสอน ต่างๆ โดยกวีนำเสนอผ่าน ฉาก ตัวละคร หรือบทสนทนา อันเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละเร่ือง เชน่ ๔.๑ ด้านการศึกษา ในวรรณคดีหลายเรือ่ ง จะให้ข้อคดิ เกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรยี น มี คำสอนท่ีแสดงให้เหน็ ถึงคณุ ค่าและความสำคัญของการศกึ ษา ๔.๒ ดา้ นการรจู้ ักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง เปน็ ขอ้ คดิ สอนใจสามารถใช้ได้ทุกยคุ สมยั ๔.๓ ด้านความสามคั คี วรรณคดชี ว่ ยปลกุ สำนึกให้มีความสามัคคีกลมเกลยี วกนั ๔.๔ การปฏบิ ตั หิ น้าทีข่ องตน ไมว่ ่าจะเป็นหน้าทีใ่ ดก็ทำดว้ ยความเต็มใจไมเ่ กย่ี งงอน เพอื่ ให้งานประสบความสำเรจ็ ทงั้ ที่เปน็ หน้าที่ต่อตนเอง สังคม หรือประเทศชาติ หลักการวิเคราะห์คณุ คา่ วรรณคดี ๑. การวิเคราะห์คณุ ค่าดา้ นเนือ้ หา ผูอ้ ่านตอ้ งทำความเขา้ ใจบทประพนั ธใ์ หต้ ลอดท้งั เรอื่ ง และจนิ ตนาการขนึ้ ในใจเพื่อจะได้เข้าใจสารทกี่ วตี อ้ งการสอื่ โดยศึกษาดังน้ี

๑) วิเคราะห์สาระของบทประพันธ์ สาระที่กวีสื่ออกมายังผู้อ่านอาจเกี่ยวกับ ข้อเท็จจริง ความรู้ ความคิด(ทัศนะของกวี) หรือความรู้สึกก็ได้ เมื่ออ่านบทประพันธ์แล้วผู้ ศึกษาควรจับสาระนั้นมีลักษณะแปลกใหม่น่าสนใจหรือไม่ มีลักษณะสร้างสรรค์จรรโลงจิตใจ หรอื ชว่ ยยกระดับจติ ใจผู้อ่านให้สูงขน้ึ ไดห้ รือไม่ มีประโยชน์ตอ่ ใครบ้าง เพราะเหตุใด ๒) วเิ คราะหก์ ารวางโครงเร่ืองและการลำดับความในเร่ือง คือ การวเิ คราะห์ว่ากวีวาง โครงเรื่องในลักษณะใด มองหาปมของเรื่อง เริ่มจากปัญหาที่ปรากฏจนกระทั่งถึงการคลี่คลาย ปญั หา ๓) วิเคราะห์กลวธิ ีการประพันธ์ คอื การพิจารณาเรอื่ งกลวธิ ีต่างๆ ท่ผี แู้ ตง่ นำมาใช้ใน การประพันธ์ เพื่อช่วยให้งานประพันธ์มีคุณค่าน่าสนใจ ชวนให้ผู้อ่านติดตามหรือเกิดความ ประทับใจในการวิเคราะหค์ ุณค่าด้านเนอื้ หานี้ ผอู้ ่านตอ้ งเข้าใจกลวิธใี นการนำเสนอ ๔) วิเคราะห์กลวิธีการนำเสนอ คือ การพิจารณาว่ากวีใช้วิธีการใดที่ทำให้งานเขียนมี ความนา่ สนใจ น่าตดิ ตาม หรือน่าประทับใจ เชน่ เสนออย่างตรงไปตรงมาทำให้ผู้อ่านจับความ ง่าย เสนอด้วยให้ผู้อ่านตีความ เสนอด้วยวิธีการใช้ภาพพจน์เหนือจริง สร้างความแปลกใหม่ และดึงดูความสนใจของผู้อ่านหรือเสนอด้วยวิธีการแสดงให้เห็นอาการเคลื่อนไหวทั้งการ เคลื่อนไหวทางกายและทางอารมณ์ คือความรู้สึกที่เปลี่ยนไปมาของตัวละคร เพราะธรรมชาติ ของมนุษยน์ น้ั ยอ่ มมีอารมณ์แปรปรวน เปลย่ี นไปมาตามความนกึ คิดและสภาพแวดลอ้ ม ๒. วิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ วิเคราะห์ความไพเราะของบทประพันธ์ คือการ พิจารณาวา่ บทประพนั ธ์นัน้ ๆ มีความไพเราะอยา่ งไร ซงึ่ ความไพเราะของบทประพนั ธเ์ กิดดว้ ยเหตุ ๒ ประการ คอื ความไพเราะอนั เกดิ จากรสคำ และความไพเราะอนั เกดิ จากรสความ ๑) ความไพเราะอันเกิดจากรสคำ พิจารณาได้จากการเลือกสรรคำ และการเลือกคำ ท่มี เี สยี งเสนาะไพเราะ ซ่ึงเกิดจากวิธีการใช้คำเลยี นเสียงธรรมชาติ คำที่มีเสยี งสัมผสั คลอ้ งจองกัน การเล่นคำ และลลี าจงั หวะของคำ ๒) ความไพเราะอันเกิดจากรสความพิจารณาได้จากการใช้คำที่มีความหมายกระชับ ชัดเจน และการใช้โวหารต่างๆ กวีถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ได้อย่างลึกซึ้ง กระแทกอารมณ์ กระเทือนจติ ใจ และกระทบความรสู้ กึ เชน่ ลมลอดไล่เลี้ยวเรยี วไผ่ ไผซ่ อออ้ เอยี ดเบียดออด ออดแอดแอดออดยอดไกว แพใบไล้นำ้ ลำคลอง กระเพอื่ มพลิ้วพลิ้วปลิวคว้าง เธอวางร่างปลอ่ ยลอยลอ่ ง บนแพใบไผใ่ ยยอง แสงทองส่องทาบฉาบมา

จากบทประพันธจ์ ะเห็นวา่ รสของคำ คือ การเลือกสรรคำมาใช้เพื่อให้เกิดเสียงเสนาะ ที่ทำ ให้เห็นภาพและความไพเราะสละสลวย การเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง(อุปลักษณ์) “ไผ่ซออ้อ เอียดเบียดออด” และมีการใช้คำเลียนสียงธรรมชาติ(สัทพจน์) “ออดแอดแอดออด” นอกจากนี้ จะพบว่ากวที ำให้บทประพันธ์งดงามสละสลวยดว้ ยสัมผสั ใน ทงั้ สมั ผสั สระและสมั ผัสอักษร ๓. การวิเคราะห์คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถีไทย วรรณคดีและวรรณกรรมทั่วไป ผู้แต่งมักสอดแทรกความรู้ ความคิด และอารมณ์ สะท้อนวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยมของคนในสังคมสมัยนั้นๆ ในวรรณคดี ผู้อ่านจะต้องมีวิจารณญาณในการอ่าน คือ เม่ืออา่ นแลว้ นำไปคิดพจิ ารณาความรู้ ความคิด สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ ๑) คุณค่าที่มีต่อผู้อ่าน คือ การวิเคราะห์ว่า บทประพันธ์นั้นๆ มีคุณค่าต่อจิตใจ สติปัญญา และความประพฤตขิ องผูอ้ า่ นแต่ละคนอย่างไร ๒) คุณค่าที่มีต่อสังคม คือ การวิเคราะห์ว่าบทประพันธ์นั้นๆ ช่วยสะท้อนภาพของ สังคมได้ชัดเจนมากน้อยเพยี งไร และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความเปล่ียนแปลงของสังคมในระดับใด ๔. การวเิ คราะหข์ ้อคดิ เพ่ีอนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน วรรณคดีหรือวรรณกรรม ทั่วไป เมื่อผู้อ่านสามารถวิเคราะห์ได้ว่าเรื่องที่อ่านมีคุณค่าด้านเนื้อหา ด้านวรรณศิลป์และด้าน สังคมอย่างไรแล้ว ผู้อ่านย่อมสามารถพิจารณาข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดี หรือวรรณกรรม เรื่องนั้นๆ ที่สอดแทรกอยู่และเห็นแนวทางในการนำข้อคิดไปใช้ในชีวิตประจำวันได้โดยมแี นวทาง ดงั นี้ ๔.๑ พิจารณาข้อคิด การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทุกเรื่องผู้อ่านจะได้ข้อคิดท่ี แตกต่างกัน โดยข้ึนอยกู่ ันวยั ประสบการณ์และพ้นื ฐานความรู้ของผอู้ ่าน เช่น บทละครพดู เร่ือง เห็นแก่ลกู ผู้อ่านจะได้ขอ้ คิดเกี่ยวกับความรักของพอ่ แม่ที่มีตอ่ ลูก ยอมเสยี สละใหไ้ ดท้ ุกย่าง หรือ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายงามพบพ่อ ข้อคิดที่ได้ เข่น ความสำคัญของการศึกษาเล่า เรียนไม่ว่ายคุ ใดสมัยใด การศึกษายังคงมคี วามจำเปน็ แม้ว่าในสมยั น้นั โรงเรยี นยังไม่มีก็ต้องศึกษา จากพอ่ แม่ป่ยู ่าตายายหรือพระสงฆ์ ๔.๒ การนำไปใช้ พิจารณาข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีแล้วสามารถนำประโยชน์ ความรู้ หรือสาระจากการอ่านมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิผล เช่น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้อ่านเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน แล้วนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน นักเรียนก็สามารถประสบความสำเร็จในชีวิตการเรียนและการทำงาน สามารถ บำเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คมสว่ นรวมและประเทศชาติได้ อา่ นแล้วสามารถนำสาระความรู้ มาพฒั นาจติ ใจพฒั นาปญั ญาและจรรโลงสงั คมได้

การอ่านวรรณคดีหรอื วรรณกรรมจะเกิดประโยชนส์ ูงสุดเมื่อผู้อ่านไดก้ ลนั่ กรองคุณค่าท่ีได้ จากวรรณคดีออกมา ทั้งคุณค่าดา้ นอารมณแ์ ละคณุ ค่าทางความคดิ นำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ตนเอง สังคมและประเทศชาติ วรรณศลิ ป์ คือ ศลิ ปะในการแตง่ หนงั สือ ศิลปะทางวรรณกรรม เชน่ นักวรรณศลิ ป์ วรรณกรรมท่ีถึงขน้ั เปน็ วรรณคดี หนงั สือทีไ่ ด้รับการยกย่องว่าแต่งดี องคป์ ระกอบของงานวรรณศลิ ป์ประกอบด้วยหลัก ๖ ประการไดแ้ ก่ ๑. อารมณส์ ะเทอื นใจ (Emotion) ๒. ความคิดและจนิ ตนาการ (Though and Imagination) ๓. การสือ่ สารกับผอู้ า่ น (Communication) ๔. อัตลักษณ์ของผู้เขยี น (Identity) ๕. กลววิ ิธีในการเขียน(Technique) ๖. การจดั วางองค์ประกอบของเรอื่ ง ทิศทางของเร่อื ง และสำนวนภาษาทใ่ี ชใ้ นเรอื่ ง อย่าง เหมาะสม(Composition, Direction and Wording) คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ วรรณคดที ่ไี ดร้ ับยกยอ่ งว่าดีเดน่ ต้องมกี ลวิธกี ารประพันธท์ ีด่ เี ยยี่ ม และใหค้ ำเหมาะสมกับลักษณะหน้าท่ขี องคำ ถูกต้องตรงความหมาย เหมาะสมกับเน้อื เรอ่ื งและมี เสยี งเสนาะ ซง่ึ ผอู้ า่ นจะเกดิ จนิ ตนาการตามเนือ้ เรอื่ งได้ จะตอ้ งเขา้ ใจสำนวนโวหารและภาพพจน์ เสมอื นได้ยนิ เสียง ไดเ้ ห็นภาพเกดิ อารมณส์ ะเทือนใจ มคี วามร้สู ึกคลอ้ ยตาม ดงั น้ี ๑. การใช้โวหาร ๑) บรรยายโวหาร เปน็ การเล่าเรื่อง เล่าเหตกุ ารณ์ทีม่ เี วลาสถานท่ี ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ ความสมั พันธ์ต่อเน่ืองกัน การบรรยายมจี ุดมงุ่ หมายให้ผู้อ่านเข้าใจวา่ เร่ืองราวนั้นๆ เกิดขึน้ และดำเนนิ ไปอย่างไร เรอ่ื งราวดังกล่าวอาจเกดิ ขน้ึ จรงิ หรือเปน็ เรอ่ื งทเี่ กดิ จากจินตนาการ ของกวีก็ได้ ๒) พรรณนาโวหาร เปน็ การให้รายละเอยี ดของเรอื่ งราว เพอ่ื ใหผ้ ้อู ่านเหน็ สภาพหรือลักษณะ ทล่ี ะเอยี ดลออและพรรณนาความรู้สกึ กระทบอารมณ์ความรู้สึกของผู้อ่าน ทง้ั นีก้ าร พรรณนาทำให้ผอู้ ่านผฟู้ ังมองเห็นภาพ การพรรณนาจงึ มกั แทรกอยู่ในการเล่าเรื่องหรอื การบรรยาย ๓) เทศนาโวหาร คอื โวหารที่มงุ่ ในการส่งั สอน โน้มนา้ วจติ ใจผูอ้ า่ นให้คลอ้ ยตาม ๔) สาธกโวหาร คอื โวหารท่ีมีจดุ มุง่ หมายเพอื่ ให้เกิดความชดั เจนดว้ ยการยกตัวอย่างประกอบ เพื่ออธิบายสนับสนุนความคดิ เหน็ ให้น่าเชือ่ ถอื

๕) อุปมาโวหาร คอื โวหารเปรยี บเทยี บสิง่ หน่งึ กับอีกส่ิงหนึ่ง เพ่อื ใหผ้ ้อู ่านเข้าใจมากขน้ึ ๒. การใชภ้ าพพจน์ เป็นการพลกิ แพลงภาษาให้แปลกออกไปกวา่ ทเ่ี ป็นอยู่ปกติ ทำให้เกดิ รส กระทความรู้สกึ และอารมณ์ตา่ งกับภาษาทใี่ ชอ้ ย่างตรงไปตรงมา ดงั น้ี ๑) อุปมา คือ การเปรียบเทียบสง่ิ หนึง่ คล้ายหรือเหมือนกบั อกี สงิ่ หนึง่ โดยมคี ำแสดงความ เปรียบ เชน่ เปรียบ ประดุจ ดจุ ดงั่ เหมอื น ราวกับ ราว เพียง เพ้ยี ง ฯลฯ ๒) อปุ ลักษณ์ คอื การเปรียบสิ่งหนงึ่ เป็นอีกส่ิงหนง่ึ ซ่งึ แตกต่างจากการอุปมา โดยอุปลักษณ์ มักใช้คำว่า เปน็ คือ ในการเปรียบ ๓) สัญลักษณ์ คอื การเปรยี บเทยี บสิ่งหนึ่งแทนอกี สิ่งหนง่ึ โดยไมม่ คี ำแสดงความเปรยี บ “เขาเป็นคนเจ้าชมู้ าก เห็นเปลีย่ นตุ๊กตาหน้ารถประจำเลย” ๔) อตพิ จน์ คือ การใช้ถอ้ ยคำทีก่ ล่าวผดิ ไปจากความเป็นจริง โดยกล่าวถงึ สง่ิ หนึง่ เปรียบเทียบกับสิง่ ทด่ี เู กินมากกวา่ ความจริง ๕) บุคคลวัต คือ การกล่าวถึงสิง่ ทไ่ี ม่มีชวี ติ จติ ใจให้มกี ารกระทำเหมือนมนษุ ย์ ๖) สัทพจน์ คอื การใช้คำเลยี นเสยี งธรรมชาติ ๓. การเลน่ เสียง คอื การเลือกสรรคำทีม่ ีเสียงสัมผัสกัน ได้แก่ การเล่นเสียงอักษร เสยี งสระ และ เสียงวรรณยกุ ต์ เพอ่ื เพ่ิมความไพเราะและแสดงความสามารถของกวที ่แี ม้จะเลน่ เสยี งของคำแต่ ยังคงความหมายไว้ได้ ดงั บทประพนั ธ์ เสนาสูสสู่ ู้ ศรแผลง ย่ิงค่ายหลายเมืองแยง แย่งแย้ง รุกรน้ ร่นรนแรง ฤทธ์ริ บี ลวงล่วงลว้ งวังแลว้ รวบเร้าเอามา ๑) การเล่นเสียงอักษร คือการใช้คำที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันหลายๆ พยางค์ติดกัน เพ่ือ ความไพเราะ จากบทประพนั ธด์ ังนี้ รุก-ร้น-รน่ -รน-แรง-ฤทธ-ิ์ รีบ เปน็ เสียง /ร/ ๒) การเล่นเสียงสระ คือ การใช้สัมผัสสระที่มีเสียงตรงกัน ถ้ามีตัวสะกดก็ต้องเป็นตัวสะกด ในมาตราเดียวกัน แม้จะใช้พยัญชนะมาใช้เล่นสัมผัสเสียงสระอีก เช่น สู-สู่-สู้, ค่าย- หลาย ๓) การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือการใช้คำที่ไล่ระดับเสียง ๒ หรือ ๓ ระดับ เป็นชุดๆ เช่น ลวง-ลว่ ง-ลว้ ง ๔) อื่นๆ เช่น การเล่นคำซ้ำ การเล่นคำพ้องเสียง การเล่นคำพ้องความหมาย การเล่นคำตรง ขา้ ม การเลน่ คำเชงิ ถาม

๔. รสทางวรรณคดีไทย รสทางวรรณคดีท่ี มอี ยู่ ๔ ชนดิ คือ เสาวรจนี นารปี ราโมทย์ พิโรธวาทัง สลั ลาปังคพไิ สย ๑) เสาวรจนี (เสาว ว. ดี, งาม. + รจนี ก. ตกแต่ง, ประพันธ;์ ว. งาม) รสน้ีเป็นการชมความ งาม ชมโฉม พร่ำพรรณาแลบรรยายถึงความงามแห่งนาง ท้ังตามขนบกวีเก่าก่อนแลใน แบบฉบับส่วนตัว ตวั อยา่ งเชน่ หนุ่มนอ้ ยโสภาน่าเสียดาย ควรจะนบั ว่าชายโฉมยง ทนต์แดงด่ังแสงทับทิม เพรศิ พริม้ เพรารับกับขนง เกศาปลายงอนงามทรง เอวองคส์ ารพัดไมข่ ัดตา... จากบทข้างตน้ เป็นการกล่าวชมรูปโฉมของวิหยาสะกำ ซง่ึ ถกู สังคามาระตาสงั หาร กล่าวว่าวิหยา สะกำน้ัน เป็นชายหนมุ่ รูปงาม ฟนั นัน้ เปน็ แสงแวววาวสีแดงราวกบั แสงของทับทิม ซ่ึงตดั รบั กับคิว้ รวมทัง้ ปลายเส้นผมซึง่ งอนงามขน้ึ เปน็ ทรงสวยงาม รับกบั ทรวดทรงองคเ์ อวของวหิ ยาสะกำ ๒) นารปี ราโมทย์ (นารี น. หญงิ + ปราโมทย์ น. ความบันเทงิ ใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมช กว็ ่า) คือ การทำให้ \"นารี\" นัน้ ปลมื้ \"ปราโมทย์\" ซง่ึ รูปแบบหนงี่ กค็ อื การแสดงความรกั ผ่านการเก้ียวแล โอ้โลมปฏิโลม. อนั คำว่า \"โอ้โลมปฏิโลม\" น้ี ความหมายอนั แท้จรงิ ของคำก็คือ การใช้มือลูบไปตาม (โอ้) แนวขน (โลมา) และย้อน (ปฏิ) ขนขึ้นมา เมื่อโอ้โลมไปมา ในเบื้องปลาย นารีก็จักปรีดา ปราโมทย์ ในตอนที่ศึกษา มีเพียงแค่ตอนที่อิเหนากำลังส่ังลาจากนางจินตะหรา ซึ่งเมื่ออ่านดูแลว้ บางทีอาจจะไม่ถึงกับเป็นการโอ้โลมปฏิโลมเท่าใดนัก เพียงจะจัดไว้ ณ ที่นี้ เนื่องเพราะเป็นบทท่ี แสดงถึงความรัก กล่าวคอื เมอื่ นัน้ พระสรุ ิยว์ งศ์เทวัญอสญั หยา โลมนางพลางกล่าววาจา จงผนิ มาพาทีกับพ่ชี าย ซ่งึ สัญญาวา่ ไวก้ บั นวลน้อง จะคงครองไมตรไี ม่หนีหนา่ ย มิไดแ้ กลง้ กลอกกลับอภิปราย อย่าสงกาวา่ จะวายคลายรัก จากบทขา้ งตน้ กค็ ือบททอ่ี ิเหนาไดบ้ อกกลา่ วกบั จนิ ตะหรา วา่ ตนไปก็คงไปเพียงไม่นาน ขอจินตะหราอยา่ ร้องไหโ้ ศกเศร้าเลย ๓) พิโรธวาทัง (พิโรธ ก. โกรธเกรี้ยว ไม่สบอารามณ์ + วาทัง น. วาทะ คำพูด) คือการแสดง ความโกธรแค้นผ่านการใช้คำตัดพ้อต่อว่าให้สาใจ ทั้งยังสำแดงความน้อยเนื้อต่ำใจ, ความ ผิดหวัง, ความแค้นคับอับจิต แลความโกรธกริ้ว ตามออกมาด้วย เหมือนกล้วยกับเปลือก. กวีมักตัดพ้อและประชดประเทียดเสียดแลสี เจ็บดังฝีกลางกระดองใจ อ่านสนุกดีไซร้แฮ! ตวั อย่างของรสพิโรธวาทงั น้ีกม็ ีอยมู่ ากมาย ท่ีจะยกข้นึ มาเปน็ ตวั อยา่ งกจ็ ะมี

เมื่อน้นั พระผู้ผ่านไอศูรย์สงู ส่ง ประกาศิตสหี นาทอาจอง จะณรงค์สงครามกต็ ามใจ ตรสั พลางยา่ งเย้ืองยุรยาตร จากอาสนแ์ ทน่ ทองผ่องใส พนกั งานปดิ ม่านทันใด เสด็จเข้าข้างในฉับพลนั ฯ บทท่ียกมาน้ี เป็นตอนทีท่ า้ วดาหาได้ฟงั ความจากราชทตู ของเมอื งกะหมังกุหนงิ ท่ีกล่าวไว้ วา่ ถ้าท้าวดาหาไมย่ อมยกบษุ บาใหก้ ับวิหยาสะกำ ก็ขอให้เตรียมบา้ นเมืองไว้ให้ดี เพราะเมอื งกะ- หมงั กุหนงิ จะยกทัพมารบ เมื่อท้าวดาหาได้ฟงั กโ็ กรธเดือดดาลทนั ใด จึงบอกไปวา่ จะมารบก็มา แล้วกล็ ุกออกไปทนั ที ๔) สัลลาปังคพิไสย (สัลล น. ความโศกโศกาเศร้าร่ำน้ำตานอง, ความเจ็บปวดแปลบ ๆ แลบ แล่นในเนื้อใจ, การครวญคร่ำรำพันรำพึง / สัลลาป น. การพูดจากัน + องค์ น. บท, ชิ้น อัน, ตัว + พิไสย น. ความสามารถ ฤาจะแผลงมาจาก วิสัย ซึ่งแปลว่า ธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ ฤาสันดาน ก็ อาจเป็นได้) คือ การโอดคร่ำครวญ หรือบทโศกอันว่าด้วยการจากพรากสิ่งอันเป็นที่รัก. มีใช้ให้ เกลื่อนกล่นไปในบรรดานิราศ (ก. ไปจาก, ระเหระหน, ปราศจาก, ปราศจากความหวัง, ไม่มีความ ต้องการ, หมดอยาก, เฉยอยู่) เนื่องเพราะกวี อันมีท่านสุนทรภู่นำเริ่ดบรรเจิดรัศมีอยู่ที่หน้าขบวน จำต้องจรจากนางอันเป็นที่รัก อกจึงหนักแลครวญคร่ำจำนรรจ์ ประหนึ่งหายห่างกันไปครึ่งชีวิต ในตอนน้กี ็มีเชน่ กนั เป็นบททอ่ี ิเหนากำลงั ชมนกชมไม้ระหว่างจะไปดาหา ว่าพลางทางชมคณานก โผนผกจับไมอ้ งึ ม่ี เบญจวรรณจบั วัลยช์ าลี เหมอื นวนั พี่ไกลสามสดุ ามา นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพแ่ี นบนวลสมรจนิ ตะหรา จากพรากจับจากจำนรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี แขกเต้าจับเต่าร้างรอ้ ง เหมือนรา้ งหอ้ งมาหยารศั มี นกแกว้ จบั แก้วพาที เหมือนแก้วพ่ที งั้ สามสง่ั ความมา ฯลฯ จากบทข้างบน จะเหน็ ได้ว่าอเิ หนากำลงั โศกเศร้าอย่างหนกั จะเรยี กว่าอยู่ในขน้ั โคมา่ เลยก็ ว่าได้ เพราะไม่วา่ จะมองอะไร กน็ ึกถงึ แตน่ าง ทั้งสามที่ตนรกั อันไดแ้ ก่ จินตะหรา มาหยารัศมี และสการะวาตี มองส่ิงใด ก็สามารถเช่ือมโยงกบั นางทง้ั สามได้หมด

ใบงานท่ี ๕ การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดี คำสง่ั ใหน้ ักเรยี นทำงานกล่มุ กลุ่มละ ๕-๖ คน ดูละครเร่ืองวันทอง จากช่องวันตอนพระพันวษา ประหารนางวนั ทอง และอ่านวรรณคดเี ร่อื งขนุ ชา้ งขุนแผนจากแบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษ์ วิเคราะห์ ในประเด็นท่กี ำหนดให้ ๑. ความเหมือน และความแตกต่างกนั ระหวา่ งละครกับแบบเรียน ในด้านเน้ือหา ๒. แสดงความคิดเห็นวา่ การนำเรื่องขุนชา้ งขุนแผนวันทองมา นำเสนอเป็นละคร ส่งผลต่อวรรณคดีไทย และสังคมอยา่ งไร ๓. นักเรียนวิเคราะหค์ วามงามทางวรรณศิลป์ทีไ่ ด้จากเรอ่ื งคณุ ช้าง ขุนแผนตอนขนุ ชา้ งถวายฎกี าพรอ้ มยกตัวอย่าง ๔. นกั เรยี นวิเคราะหค์ ณุ ค่าทีไ่ ด้รบั จากเรือ่ งคุณชา้ งขุนแผนตอนขุนช้างถวายฎีกาพรอ้ ม ยกตวั อย่าง ๕. นำเสนอชื่อโครงการอนรุ กั ษว์ รรณคดีไทยเร่อื งขุนชา้ งขนุ แผน *** หมายเหตนุ ักเรียนอ่านใบความรทู้ ี่ ๕ กอ่ นลงมือทำใบงาน ใบงานนีค้ ะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน

เฉลยใบงานท่ี ๑ จงเลือกคำตอบทีถ่ กู ต้อง ๑. เสภาเร่อื งขุนช้างขุนแผน ตอนขนุ ช้างถวายฎกี า ผู้แตง่ คอื ก. รัชกาลที่ ๒ ข. รัชกาลที่ ๓ ค. สุนทรภู่ ง. ไมป่ รากฏนามผูแ้ ต่ง ๒. เรอ่ื งขุนช้างขุนแผนมีเน้ือหาสาระท่คี นชอบเพราะเหตุผลใดเป็นสำคญั ก. เรอ่ื งทมี่ หี ลายรส หลายอารมณ์ ข. เรอื่ งที่ไม่เปน็ ไปตามใจหวัง ค. เรอื่ งทไี่ มส่ มหวงั ของตัวละคร ง. เรอื่ งทส่ี ะทอ้ นชีวิตของคนสมยั ก่อน ๓.ขนุ แผนมีภรรยาทง้ั หมดก่ีคน กข. ๓ คน ข. ๔ คน ง. ๕ คน ง. ๖ คน ๔. เดิมชอื่ ของนางวนั ทองคือ ฒขกื๊. พมิ พิลาไลย ข. พิมพผ์ กา ค. พิมพลิ าลักษณ์ ง. พิมพวิ รรณ ๕. เหตกุ ารณ์ในเรือ่ งขุนช้างขุนแผน สนั นิษฐานว่าเกดิ ข้ึนในรัชสมยั ใด กแขส. ออพพeมรรคะไะอรครราeาOมมnาoาไธnธOบิบิEดrดOทีใที C่ี ลี่๑n๑oCEot tnขn.oพenระsรaาnมeาoธeิบnดnที tี่o๒trs ค. พระราเมศวร ง. พระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศ ๖.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเก่ียวกับเรื่อง เสภาขนุ ชา้ งขุนแผน ก. มเี ค้าเร่ืองมาจากเร่อื งจรงิ ท่ีเกิดขึ้นในสมยั อยุธยา ข. ไดร้ บั ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นสดุ ยอดของกลอนนิทาน ค. มผี แู้ ตง่ หลายคน บางตอนปรากฏช่ือผู้แต่ง แตบ่ างตอนไม่ปรากฏชอ่ื ผแู้ ตง่ ง. เป็นเรอ่ื งทสี่ ะท้อนสภาพสังคมและวัฒนธรรมสมยั อยธุ ยาและรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น ๗. “ทกุ วนั นีล้ ูกชายสบายยศ พร้อมหมดเมยี ม่งิ ก็มสี อง มบี า่ วไพร่ใชส้ อยทงั้ เงนิ ทอง พ่นี อ้ งขา้ งพ่อก็บริบูรณ์” คำท่ขี ดี เส้นใต้หมายถงึ ผู้ใด ก. นางสรอ้ ยทองและนางสายทอง ข. นางแกว้ กริ ยิ าและนางลาวทอง ค. นางสรอ้ ยฟ้าและนางศรีมาลา ง. นางสายทองและนางลาวทอง ๖. “อแี สนถอ่ ยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนลิ เกิดขึ้นในอาจม” ผู้ประพันธใ์ ชโ้ วหารใดในการประพันธ์ ก•ข. อุปลกั ษณ์ ข. อปุ มา ค. สัทพจน์ ง. พรรณนาโวหาร ฒีฬืล๊ั

๗. ข้อใดเป็นวธิ ที ขี่ นุ ช้างใชถ้ วายฎกี า ก. ไปเขา้ เฝา้ ทีท่ ้องพระโรง ข. ลกั ลอบไปในห้องพระบรรทม ค. ฝากขุนนางผใู้ หญไ่ ปถวาย ง. ว่ายน้ำลอยคอถวายฎีกาทเ่ี รือพระทีน่ ่ัง ๘. ขอ้ ใดคือความผิดของพระไวยทที่ ำใหส้ มเดจ็ พระพนั วษาทรงพระพิโรธ •คก. ทำการราวกับบา้ นเมืองไม่มีขื่อ ไม่มีแป ข. ถอื อำนาจ ทำการโดยไม่ปรกึ ษาหารือใคร ค. อาฆาตพยาบาทขุนช้าง จนเกิดเรอ่ื งอื้อฉาว ง. ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับตำแหน่งทาง ราชการ ๙. ขอ้ ใดไมใ่ ชล่ างสงั หรณ์ทเ่ี กิดแก่นางวนั ทอง ก. ดเุ หวา่ เร้าเสียงสำเนยี งก้อง ระฆงั ฆอ้ งขานแข่งในวงั หลวง ข. ฝันวา่ พลัดไปในไพรเถ่ือน เลือ่ นเปอื้ นไม่รู้ทจี่ ะกลบั หลงั ค. ลดเล้ยี วเท่ยี วหลงในดงรงั ยังมีพยคั ฆร์ า้ ยมาราวี ง. ใตเ้ ตียงสยี งหนกู ็กกุ กก แมงมุงทุ่มอกท่รี มิ ฝา ๑๐. ขอ้ ใดไม่ใชส่ าเหตุท่ีทำใหน้ างวันทองถกู ประหารชวี ิต ก. นางวันทองเป็นเมยี ขุนแผนแล้วยังยอมเป็นเมียขุนชา้ งอีก ข. พระพนั วษาทรงพระพิโรธนางวนั ทองท่ีไมต่ ัดสนิ ใจให้เด็ดขาด ค. ขุนแผนไม่ไดเ้ พด็ ทลู ของนางวันทองคืนจากขุนช้าง ง. จม่นื ไวยไปลกั แมม่ าในยามค่ำคืน ๑๑. ขอ้ ใดไม่มีภาพสะท้อนทางวฒั นธรรม ก. ถา้ รกั นอ้ งป้องปิดให้มดิ อาย ฉันกลับกลายแล้วหมอ่ มจงฟาดฟัน ข. พระจันทรจรแจ่มกระจา่ งดี พระพายพัดมาลตี รลบไป ค. ไปเพด็ ทูลเสียใหท้ ูลกระหมอ่ มแจง้ น้องจะแต่งบายศรไี วเ้ ชิญขวญั ง. หญิงเดียวชายครองเปน็ สองมิตร ถา้ มิปลดิ เสยี ให้เปลือ้ งไมต่ ามใจ ๑๒. “ พลางเรยี กหาข้าไทอยู่วา้ วุ่น อีอ่นุ อีอิ่มอฉี ิมอสี อน อมี อี ีมาอสี าคร น่งิ นอนไยหวามาหาก”ู คำประพนั ธน์ ข้ี นุ ช้างเรียกคนใช้ทั้งหมดก่ีคน ก. ๖ คน ข. ๗ คน ค. ๘ คน ง. ๙ คน ๑๓ “พ่ผี ดิ พีก่ ็มาลุแกโ่ ทษ จะคุมโกรธคุมแคน้ ไปถึงไหน ความรกั พย่ี งั รกั ระงมใจ อย่าตัดไมตรีตรงึ ให้ตรอมตาย” คำประพันธ์นี้ใชโ้ วหารขอ้ ใด ก. เสาวรจนี ข. นารีปราโมทย์ ค. พโิ รธวาทัง ง. สัลลาปังคพสิ ยั ๑๔. ข้อใดไม่มอี ปุ มาโวหาร ถา้ มิปลดิ เสียให้เปลืองไมต่ ามใจ ก. หญิงเดียวชายครองเป็นสองมิตร ข. คราวน้นั เม่ือตามไปกลางป่า หน้าดำเหมือนหนงึ่ ทามินหมอ้ ไหม้

ค. ชนะความงามหนา้ ดังเทียนชยั เขาฉุดไปเหมือนลงทะเลลกึ ง. เจ้าพลายงามตามรบั เอากลบั มา ทนี ห้ี นา้ จะดำเป็นน้ำหมกึ ๑๕. ขอ้ ใดไมเ่ ก่ยี วข้องกบั ความเช่ือในเรื่องไสยศาสตร์ ก. ดูเวลาปลอดห่วงทักทิน ข. เสกขมนิ้ ว่านยาเข้าทาตวั ค. เงียบสตั วจ์ ตั ุบททวิบาท ง. ลงยนั ต์ราชะเอาปะอก ๑๖.เมอื่ รวู้ า่ พระไวยจะมารบั นางจากเรอื นขุนชา้ ง นางวันทองแนะนำให้พระไวยทำอย่างไร จก. . ใหข้ นุ แผนเปน็ ผู้มารบั นางด้วยตนเอง แฉข. . ใหพ้ ระไวยมารับนางในเวลากลางวัน ต่อหนา้ ผคู้ นทง้ั หลาย ชค. . ให้พระไวยเจรจากบั ขุนช้างก่อน มิใช่ลกั พานางไปโดยพลการ ซง.. ให้ปรึกษาขนุ แผน เพื่อทลู ฟอ้ งสมเด็จพระพันวษาเรือ่ งของนางวันทองกลับคนื ๑๗.“ครานนั้ วนั ทองฟังรบั ส่ัง ให้ละล้าละลงั เปน็ หนกั หนา ครนั้ จะทลู กลวั พระราชอาญา” คำว่า “ละลา้ ละลงั ” มคี วามหมายตามข้อใด ก. หว่ งหน้าห่วงหลงั ข. ลุกลีล้ กุ ลน ค. หวาดกลวั ง. ประหม่า กก็ รวิ้ ซ้ำจะฆ่าใหเ้ ปน็ ผี ๑๘. “วนั นนั้ แพก้ เู ม่ือดำน้ำ แสนแคน้ ดว้ ยมารดายังปรานี ให้ไปขอชีวีขุนช้างไว้ แค้นแม่จำจะแก้ใหห้ ายแค้น ไมท่ ดแทนอา้ ยขุนชา้ งบา้ งไม่ได้” ขอ้ ใดไม่ถกู ต้องตามเน้ือความขา้ งต้นน้ี ก. พระไวยต้องการแกแ้ ค้นขนุ ชา้ ง ข. ขนุ ชา้ งเคยถูกตดั สินประหารชีวิต ค. นางวันทองเคยทูลขอพระราชทานชีวติ ของขุนชา้ ง ง. ในการพจิ ารณาคดีระหวา่ งขนุ ชา้ งกับพระไวย ขุนชา้ งดำน้ำพิสูจนแ์ พ้พระไวย ๑๙“เจา้ มาไยปานนน้ี ีล่ ูกอา เขารักษาอยทู่ ุกแห่งตำแหน่งใน ใส่ดาลบ้านช่องกองไฟรอบ พอ่ ช่างลอบเข้ามากระไรได้ อาจองทะนงตัวไม่กลวั ภยั น่ีพอ่ ใช้หรือวา่ เจา้ มาเอง” เน้อื ความในคำประพนั ธ์ข้างต้นนี้ แสดงน้ำเสียงเด่นชัดท่สี ดุ ของนางวนั ทองตามข้อใด ก. ห่วงใย ข. ตำหนิ ค. สงสัย ง. ชมเชย ๒๐.ข้อใดมนี ้ำเสยี งเชงิ ตัดพ้อ ก. มธี รุ ะสิง่ ไรในใจเจ้า พอ่ จงเล่าแก่แม่แลว้ กลบั บา้ น ข. เม่ือพ่อเจ้ากลับมาแต่เชียงใหม่ ไมเ่ พด็ ทูลสิ่งไรแต่สกั อยา่ ง ค. เล่าความบอกผวั ดว้ ยกลัวภยั ประหลาดใจนอ้ งฝันพรั่นอรุ า ง. มาอยู่ไยกบั อ้ายหนิ ชาติ แสนอุบาทวใ์ จจติ ริษยา

nnงo. tมoาtอstยeู่ไsยtกnบัtlsอsา้ cยeหsินoชoาoตseิ ss ฒแสนือบุ าทว์ใจจิตริษอยaา เฉลยใบงานท่ี ๒ จงทำเคร่อื งหมาย หนา้ ข้อถกู และ หน้าขอ้ ทีผ่ ดิ (๑๐ คะแนน) ๑ .……1-1 , -…… บทเสภาเร่อื งขนุ ชา้ งขนุ แผนเป็นตำนานเลา่ สบื กนั มา ในสมัยพระรามาธิบดีท่ี ๒ ๒ …… ……1 l i \\\\ เรอ่ื งขุนชา้ งขุนแผนมี.เคา้ มาจากเรื่องจริง ปรากฏหลกั ฐานใน“คำใหก้ ารของ สมเด็จกรพระดำรงราชานุภาพ” ๓......n ป . . ........ เสภาช้างขนุ แผนมาจากการเล่านทิ าน ภายหลังมีการใช้เครื่องดนตรปี ระกอบ .. เช่นกรับ ๔…… . ง . . ……. เสภาชา้ งขนุ แผนจดั เป็นวรรณคดีมรดกเรอ่ื งยาวทส่ี ะทอ้ นสภาพสังคมในสมัยกรุง .. ศรีอยธุ ยา ๕…… …….-,l_ เสภาช้างขนุ แผนตอนขุนช้างถวายฎกี า เป็นผลงานของพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หวั I.๖ พันศรโยธาถกู ประหารชีวิตเนื่องจากฆ่าฝงู ควายท่ีไปออกันหน้าพระทนี่ ่งั ๗…… ……. ขนุ ช้างเคยมีภรรยามาก่อนแต่งงานกบั วนั ทอง ๘…… ……. ของวเิ ศษ ๓ อยา่ งทข่ี นุ แผนมีคอื ม้าสีหมอก กุมารทอง และดาบอาญาสทิ ธิ์ ๙…… ……. ขุนช้างแข่งดำนำ้ กบั ขุนแผนเพราะแย่งนางวนั ทอง ๑๐…… ….1,-, ขุนแผนเป็นผู้ขออภัยโทษจากพระพันวษาให้แก่นางวนั ทอง สุ่มุ่

เฉลยใบงานที่๓ คำสัง่ ตอนที่ ๑ จงตอบคำถามเกย่ี วกบั ลกั ษณะคำประพันธ์ (๕ คะแนน) ๑. เสภามีทมี่ าอยา่ งไร เสภามีกำเนิดมาจากการเล่านิทาน เมื่อการเล่านิทานเป็นที่นิยมแพร่หลาย ทำให้เกิดมี การปรับปรุงแข่งขันกันขึ้น ผู้เล่าบางท่านจึงคิดแต่งเป็นกลอน ใส่ทำนอง มีเครื่องประกอบ จงั หวะ คือ \"กรับ\" จนกลายเปน็ ขับเสภาข้นึ ๒. เสภาเกิดขึ้นสมัยใด สมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่ามีขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ. ๒๐๑๑ ๓.เคร่อื งประกอบการขบั เสภาที่สำคัญคือ กรับ ๔.เสภาทรงเคร่ืองมีลกั ษณะอยา่ งไร เกดิ ข้ึนในสมยั ใด สมยั รัชกาลท่ี ๔ วงปพี่ าทยไ์ ด้ขยายตวั เป็น เครือ่ งใหญ่ เม่อื ปพ่ี าทยโ์ หมโรงจะเร่มิ ดว้ ย \"เพลงรวั ประลองเสภา\" ตอ่ ดว้ ย \"เพลงโหมโรง\" ๕.สนุ ทรภูเ่ ร่วมแต่งเสภาขุนชา้ งขุนแผนตอนใด กำเนิดพลายงาม ตอนที่ ๒ จงจบั คูค่ ำประพันธ์ และลกั ษณะทีบ่ ่งชีจ้ ากคำประพันธน์ นั้ ๆ (๑๐ คะแนน) ๖. แม้มิไปใหง้ ามก็ตามใจ จะบาปกรรมอยา่ งไรกต็ ามที ข.ความหนุ หันพลันแล่น ๗. บอกว่าเราจับไข้มาหลายวนั เกรงแมจ่ ะไม่ทนั มาเห็นหนา้ ช. ความรอ้ นตวั กลัวผดิ ๘. เจ้าเป็นถงึ หัวหมนื่ มหาดเล็ก มิใช่เด็กดอกจงฟังคำแมว่ ่า ก. ความรกั ของแมท่ มี่ ีต่อลกู ๙. เห็นสามราเขา้ มาอัญชลี พระปรานีเหมอื นลกู ในอุทร ค. ความเมตตาของผ้ใู หญต่ ่อ ผู้นอ้ ย ๑๐. มิร้ทู ่ีจะแถลงแจ้งกจิ จา กอดเมียเมินหนา้ น้ำตากระเดน็ ฌ. ความรสู้ กึ ผิด ๑๑. กกู ช็ วั่ มัวรักแสองนาง ละวางนางวันทองใหโ้ ศกศัลย์ ญ. ความห่วงใยของสามที ่ีมี ต่อภรรยา ๑๒. เฮ้ยใครรับฟ้องของมันที ตเี สยี สามสิบจึงปลอ่ ยไป ง. ความมีอำนาจ ๑๓. ส้ตู ายขอถวายซึง่ ฎกี า แค้นเหลอื ปญั ญาจะทานทน จ. ความแคน้ ๑๔. เหมอื นดนิ ประสิวปลิวคิดกับเปลวไฟ ดูดู๋เปน็ ไดอ้ ีวันทอง ฉ. ความโกรธ

๑๕. ถ้าเจ้าเห็นเป็นสขุ ไมล่ กุ ลาม ก็ตามเถดิ มารดาจะคลาไคล ซ. ความมีเหตุผล เฉลยใบงานที่ ๔ คำสั่ง อา่ นเร่ืองแล้วเขยี นกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทึก ยอ่ ความและรายงาน จงนำคำทกี่ ำหนดให้ เติมลงในชอ่ งา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง คำฟอ้ ง ฟ้องรอ้ ง ถวายฎกี า วนั ทอง ประพาสบัว วา่ ราชการ ดำน้ำ จมื่นไวย ขุนแผน ขนุ ชา้ ง โปรยข้าวสารเสก ร่ายเวทมนตร์ หมื่นวิเศษผล เสภาเรอื่ งขุนช้างขุนแผนตอนขนุ ชา้ งถวายฏกี าน้นั กล่าวถึงเหตกุ ารณณ์ ทื เี่ กดิ ขนึ้ หลงั จากท่ี (๑)………ขนุ ชา้ ง……………………. แพ้พลายงามเม่อื ต้อง (๒) ……………ดำนำ้ ……………….. แขง่ ขนั กนั ในการพิสจู น์ความจรงิ แต่(๓)…………วนั ทอง…………………ไดข้ อชีวิตไว้ พลายงามหรือ (๔) ……………จมืน่ ไวย……………… คิดถงึ มารดาต้องการให้มารดามาอยกู่ ับตวั และขนุ แผนผ้เู ป็น บดิ าจึงคิดทีจ่ ะลักลอบขนึ้ เรือนขุนชา้ งก่อนขึ้นเรือนได้(๕)…………โปรยข้าวสารเสก……………… เพ่อื สะกดใหค้ นหลับ และได้ไลภ่ ตู พรายดว้ ยการ (๖) …………ร่ายเวทมนตร์………………….จากน้ัน ก็เข้าไปหานางวันทองซึง่ กำลงั นอนกับขนุ ช้าง ในตอนแรกวันทองต่อวา่ พลายงามวา่ ทำความผิด พรอ้ มแนะนำให้พลายงาม (๗) …………ฟ้องรอ้ ง………………..เพ่อื ไดน้ างวนั ทองคนื แต่พลายงามด้อื ดงึ วนั ทองจึงตอ้ งยอมไปดว้ ยพลายงามให้(๘) ………หมน่ื วิเศษผล…………………… มาบอกขุนช้าง ว่าพลายงามป่วยใหม้ าตามนางวนั ทองไปขุนช้างโกรธมากจงึ เขียน(๙)……คำฟอ้ ง……………ถวาย ฎกี ารต่อพระพันวษาขณะที่พระองค์ (๑๐)……………ประพาสบัว…………………………

เฉลยตอนที่ ๒ อยู่ในดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน คำส่งั ตอนที่ ๒ ให้นักเรยี นเลือกตวั ละครที่นักเรยี นชอบมากท่สี ดุ จากเรอ่ื งขนุ ช้างขุนแผน ตอนขุนชา้ งถวายฎกี า พรอ้ มระบเุ หตผุ ลใหช้ ัดเจน (๑๐ คะแนน) ๓. ตวั ละครทชี่ อบ (๑ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. แนวคดิ หรอื คณุ ลักษณะใด ของตวั ละครทีน่ ักเรยี นชอบ สามารถนำมาประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ใช้ อย่างไร คุณลกั ษณะ หรอื แนวคดิ (๓ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… วิธกี ารนำไปประยุกต์ (๓ คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ ๕ การเฉลย หรอื การใหค้ ะแนนข้นึ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของครูผ้สู อน

ขุนชา้ งขุนแผนเรอื งดที รงคณุ ค่า ครบเนอื หามากภาพพจนน์ า่ ศึกษา ถมู ปิ ญญาของคนไทยแต่ไรมา เหตใุ ดหนาชนยุคใหมไ่ มใ่ สใ่ จ มองเหน็ วา่ เปนเรอื งเล่าเก่าโบราณ เปนตํานานเล่าขานชวั สมยั แหก่ ันไปชนื ชมของแดนไกล ลืมวถิ ีไทยไทยทีงดงาม ขอเชญิ ชวนนกั เรยี นของคณุ ครู มาเรยี นรขู้ ุนแผนแหง่ สยาม วรรณคดมี รดกเลืองลือนาม หากใครถามตอบไดไ้ มส่ นิ เชงิ