การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

แบบทดสอบวัดความรู้ เร่อื ง การสร้างคำในภาษาไทย ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑

เฉลยแบบทดสอบวดั ความรู้ วชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑

เรอื่ ง การสรา้ งคำในภาษาไทย (คำประสม คำซ้ำ คำซ้อน คำพ้อง)

๑. คำใดท่มี วี ธิ กี ารสร้างคำเหมอื นกันทุกคำ

ก. ดชี ั่ว หมอฟนั ตกใจ ข. เรยี งเบอร์ ข้าวต้ม ที่นอน

ค. เสื่อสาด บ้านเรอื น หา่ งไกล ง. จติ แพทย์ ราชการ วาทศิลป์

๒. ข้อใดเป็นคำประสมทุกคำ

ก. ชาวบ้าน ผลไม้ ข. ตุ๊กตา แม่บา้ น ค. เด็ก ๆ บา้ นเรอื น ง. นกั รอ้ ง น้ำตา

๓. คำที่ขดี เสน้ ใตข้ ้อใดไมใ่ ช่คำประสม

ก. หนูทำการบา้ นเสรจ็ แลว้ ข. หนหู ริ่งแตง่ กายถูกต้องตามระเบียบ

ค. หนูดำอา่ นทำนองเสนาะได้ไพเราะมาก ง. หนเู มอื งซ่อมหลอดไฟในห้องนำ้

๔. “คนเราแต่งกายเพ่ือปกปิดร่างกาย ไมใ่ ห้กระทบความรอ้ น ความเย็นมากเกินไป นกั เรียนจะแต่ง

เคร่อื งแบบเพื่อความเปน็ ระเบียบ” ข้อความนีม้ ีคำประสมทั้งหมดกคี่ ำ

ก. ๓ คำ ข. ๔ คำ ค. ๕ คำ ง. ๖ คำ

๕. คำประสมข้อใดเกิดจากการนำคำกรยิ า คำบุพบท และคำนามมาประสมกัน ตามลำดับ

ก. ขีดเส้นตาย ข. ข้างหลังบ้าน ค. ตที า้ ยครัว ง. ออกจากใจ

๖. ขอ้ ความใดไมม่ ีคำประสม

ก. เขาคงออกไปซือ้ แปรงขัดห้องอันใหม่

ข. เครอ่ื งพิมพ์ดดี เป็นอปุ กรณ์ที่ไม่นยิ มใช้กันแล้ว

ค. คนไทยหลายคนนิยมรบั ประทานอาหารเกาหลี

ง. การพดู และการเขียนเป็นการแสดงออกซ่ึงความคดิ

๗. ขอ้ ใดเป็นคำซ้อนเพอ่ื เสียงทกุ คำ

ก. รูปภาพ เติบโต ข. จุกจิก แจ่มใส ค. เกะกะ จกุ จกิ ง. อว้ นพี

ฮอื ฮา

๘.คำประสมในข้อใดไม่มีความหมายเปรียบเทียบ

ก. หัวสูง ลูกชา้ ง ข. หมาวัด ไข่แดง

ค. กนั สาด เป็นตอ่ ง. มอื สะอาด ตนี กา

๙. ข้อความใดมคี ำซ้อน

ก. ท่านมักจะเก็บถว้ ยโถโอชามไว้ในตู้ ข. คุณยายชอบทานหมากพลูเป็นประจำ

ค. ทา่ นใจดแี ละมกั จะให้ขนมแก่เราเสมอ ๆ ง. วันไหนอารมณ์ดีก็นำมาขัดทำความสะอาด

๑๐. คำซ้อนในข้อใดไม่ได้เกิดจากคำท่ีมคี วามหมายตรงกันขา้ ม

ก. สงู ต่ำดำขาว ข. ตกทุกข์ไดย้ าก ค. รา้ ยดี ง. ทกุ ขส์ ขุ

โรงเรียนพรานกระตา่ ยพทิ ยาคม หน้า ๒

แบบทดสอบวัดความรู้ เรอ่ื ง การสรา้ งคำในภาษาไทย ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑

๑๑. ข้อความต่อไปน้ีมีคำซ้อนกคี่ ำ

“ธรรมชาติสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้มวลมนุษย์ แต่มนุษย์เป็นผู้ทำลายจนโลกเปลี่ยนแปลง จึง

ตอ้ ง ตักเตอื นกัน ใหน้ ำโลกเขา้ สู่สภาพเดมิ โดยเรว็ ไว”

ก. ๒ คำ ข. ๓ คำ ค. ๔ คำ ง. ๕ คำ

๑๒. ข้อใดทคี ำซ้อน ทส่ี ามารถตดั คำหน้าออก แล้วยังได้ใจความเหมอื นเดิม

ก. เดก็ คนนปี้ ากคอไมอ่ ยสู่ ขุ

ข. สถานการณ์ในภาคใตต้ อนนีท้ ำใหฉ้ ันใจคอไม่ดเี ลย

ค. จะบอกอะไรให้นะ คุณตาทเ่ี ราเหน็ วานนดี้ ทู า่ ทางใจดมี ากนะ

ง. เจา้ หนา้ ท่พี ยาบาลกำลงั ทำความสะอาดบาดแผลจากอุบัติเหตุ

๑๓. คำทข่ี ดี เส้นใตใ้ นขอ้ ใดไม่ใช่คำซอ้ นทกุ คำ

ก. มีเรอื่ งหนกั หนาอะไรกข็ อให้หนกั แน่น

ข. พ่อก้าวก่ายเรอ่ื งการเรียนทำให้ลกู ก้าวรา้ ว

ค. จะถกู ผดิ อย่างไร ก็ต้องตดั สนิ ใจให้ถกู ต้อง

ง. เขาตดิ ตอ่ มาว่ายงั ตดิ ขัดเร่ืองการเงินอยู่มาก

๑๔. ข้อใดเปน็ คำประสม และคำซอ้ น ตามลำดับ

ก. ทา่ น้ำ รอท่า ข. นำ้ ท่า ทา่ เทียบเรือ ค. ทา่ มาก ลลี าทา่ ทาง ง. ท่าพระ ท่าราชวรดิษฐ์

จงนำอกั ษรหนา้ ความหมายของคำซำ้ ไปเติมในช่องวา่ งหนา้ ข้อทีถ่ ูกต้อง

ก. ทำให้ความหมายเปน็ พหูพจน์ ข. ทำใหค้ วามหมายเนน้

ค. ทำใหค้ วามหมายไมเ่ จาะจง ง. ทำใหค้ วามหมายอ่อนลง จ. ทำใหค้ วามหมายแยกเป็นส่วน ๆ ฉ. ทำให้ความหมายต่อเนือ่ งกนั หลายครงั้

......................... ๑๕. เดนิ เรว็ ๆ เดยี๋ วไม่ทนั หรอก

........................ ๑๖. เดก็ ๆ กำลงั อาบน้ำ

........................ ๑๗. ชว่ ยจัดเอกสารให้เปน็ ช่อง ๆ หน่อย

........................ ๑๘. บ้านฉันอยู่แถว ๆ ดอนเมอื ง

........................ ๑๙. นง่ั ๆ นอน ๆ ท้ังวันฉันเริ่มจะเบ่ือแลว้

๒๐. ข้อใดมีคำซ้ำทีแ่ สดงความหมายตา่ งจากข้ออืน่

ก. แมน่ วดแป้งแลว้ ปน้ั เป็นลกู กลม ๆ ข. แยก ๆ กนั ไปกินอาหารจะได้ออกรถเรว็ ขน้ึ

ค. สมพรอยากยา้ ยบ้านไปอยู่ใกล้ ๆ ท่ีทำงาน ง. อายุเกิน ๘๐ แล้วยงั ชอบใส่เสอ้ื ผ้าสีสด ๆ

๒๑. คำพ้องหมายถงึ ข้อใด

ก. คำที่มคี วามหมายเหมือน ข. คำทีเ่ ขยี นเหมือนกนั

ค. คำทอี่ า่ นออกเสียงเหมอื นกัน ง. คำท่มี ีลักษณะอยา่ งใดอย่างหน่งึ เหมอื นกนั

โรงเรยี นพรานกระตา่ ยพิทยาคม หนา้ ๓

แบบทดสอบวดั ความรู้ เรอ่ื ง การสร้างคำในภาษาไทย ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

คำเป็น คำตาย เป็นการจำแนกคำตามลักษณะที่ใช้ระยะเวลาออกเสียงต่างกัน ซึ่งลักษณะดังกล่าวจะทำให้คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นรูปเดียวกัน มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

คำเป็น ได้แก่ คำที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. คำที่พยัญชนะประสมกับสระเสียงยาวในแม่ ก กา เช่น มา ดู ปู เวลา ปี ฯลฯ 2. คำที่พยัญชนะประสมกับสระ –ำ ใ - ไ - เ – า เช่น จำ น้ำ ใช่ เผ่า เสา ไป ฯลฯ 3. คำที่มีตัวสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น จริง กิน กรรม สาว ฉุย ฯลฯ

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

คำตาย ได้แก่ คำที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. คำที่พยัญชนะประสมกับสระเสียงสั้นในแม่ ก กา เช่น กะทิ เพราะ ดุ แคะ ฯลฯ 2. คำที่มีตัวสะกดในแม่ กก กบ กด เช่น บทบาท ลาภ เมฆ เลข ธูป ฯลฯ

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

  1. ให้สังเกตที่ตัวสะกดเป็นหลัก ถ้าคำที่ต้องการพิจารณามีตัวสะกดให้ดูที่ตัวสะกด ไม่ต้องคำนึงถึงสระเสียงสั้นยาว ดูว่าคำนั้นมีตัวสะกดหรือไม่ ถ้ามีให้ขีดเส้นใต้ตัวสะกด
  2. ดูว่าตัวสะกดนั้นเป็น กบด หรือไม่ ( แม่ กก กบ กด ) ถ้าใช่ คำนั้นจะเป็นคำตาย ถ้าไม่ใช่ กบด คำนั้นจะเป็นคำเป็น
  3. ในกรณีที่ไม่มีตัวสะกด ให้ดูว่าคำนั้นประสมด้วยสระเสียงสั้นหรือเสียงยาว ถ้าอายุสั้น ( เสียงสั้น ) ต้องตาย ถ้าอายุยาว ( เสียงยาว ) จึงเป็น

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

คำตาย คำเป็น - พวกที่เป็น กบด ต้องตายก่อน (สะกดด้วยแม่ กก กบ กด) - อายุสั้นต้องตายตาม (ประสมด้วยสระเสียงสั้น) - สะกดด้วยแม่ กง กน กม เกย เกอว - อายุยาวเป็น (ประสมด้วยสระเสียงยาว)

ให้จำในส่วนของคำตายให้ได้เพราะจำง่าย คือ กบด ต้องตายก่อน และอายุสั้นต้องตายตาม กล่าวคือ สะกดด้วยแม่ กก กบ กด (กรณีมีตัวสะกด) และประสมด้วยสระเสียงสั้น (กรณีไม่มีตัวสะกด) เป็นคำตาย นอกเหนือจากนี้เป็นคำเป็นทั้งหมด *** ดังนั้นสรุปได้ว่า คำที่ประสมด้วยสระ –ำ ใ - ไ - เ – า เป็นคำเป็น เพราะนับว่ามีตัวสะกด ในมาตรา แม่กม แม่เกย และ แม่เกอว ตามลำดับ

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

https://www.gotoknow.org/posts/482031

การจ าแนกค าประสมก บ กล มค า ม หล กเกณฑ

คําประสม3ส่วน มีอะไรบ้าง

ส่วนประสม 3 ส่วน (พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์) เช่น งู ม้า ลา ไก่ ส่วนประสม 4 ส่วน (พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด) เช่น มด ยุง หุง ข้าว ส่วนประสม 4 ส่วนพิเศษ (พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวการันต์) เช่น เล่ห์ เสน่ห์

คำประสม 5 ส่วนมีคำว่าอะไรบ้าง

4. การประสมอักษรห้าส่วน คือ การประกอบพยางค์ด้วยพยัญชนะต้น สระ พยัญชนะท้ายพยางค์หรือตัวสะกด พยางค์ท้ายไม่ออกเสียงหรือตัวการันต์ และวรรณยุกต์ เช่น สิงห์ องค์ประกอบ คือ

คําประสมคืออะไร พร้อมยกตัวอย่าง

น. คำที่เกิดจากการนำคำมูลที่เกิดอิสระได้ตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคำใหม่ที่มีความหมายใหม่ขึ้นมาอีกคำหนึ่ง เช่น ลูกเสือ ลูกน้ำ แขกยาม เครื่องใน ไฟฟ้า. Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)

คํา3ส่วน มีอะไรบ้าง

พยางค์แต่ละพยางค์จะต้องมีส่วน ประกอบ ๓ ส่วนขึ้นไป คือ สระ พยั พยัญชนะ และวรรณยุกต์ การประกอบสระ พยัญชนะและวรรณยุกต์เข้าเป็นพยางค์ เรียกว่า “การประสมอักษร”