การทำ ข าว นา โยน ม ข อด อย างไร

เจ้าหน้าท่ีที่ท�ำงานโครงการปิดทองหลังพระฯ เธอได้รับค�ำแนะน�ำว่า ให้ทดลองท�ำดู แล้วท�ำบัญชีรายรับรายจ่ายไว้ เพื่อจะได้เป็นการเก็บข้อมูล เพื่อการยืนยันจาก ประสบการณ์ใกล้ตัวให้กับคนอื่นได้ด้วย “อย่างน้อยก็ได้พิสูจน์ไปด้วยและจะได้ ช่วยงานพีเ่ ดน่ ด้วยวา่ เนย่ี เราพิสจู นม์ าแลว้ ” เธอกล่าว อาหารลดต้นทุนคือ หยวกกล้วยสับผสมกับร�ำละเอียด หัวอาหาร ปลาย ข้าวต้มสุกและข้าวโพดแห้งบดละเอียด ต๊ิกตัดสินใจและลงมือท�ำตามสูตรที่ได้มา เธอบอกว่าได้ผลเกินคาด ใน 3 เดือนแรก ไก่ของเธอไม่ป่วย แม้จะเป็นช่วงฤดูฝน “ช่วงฤดูฝนที่ผ่านมาไข่จะลดและไก่จะป่วย ต้องเสียเงินซื้อยาแก้หวัดของไก่มา เตรียมไวเ้ ลย เพราะไก่จะหายใจดัง ตอ้ งใหย้ าโดยละลายนำ้� ใหไ้ กก่ นิ ” เธอบอก ในขณะเดีียวกัันติ๊๊�กก็็หัันมาทำำ�บััญชีีรายรัับรายจ่่ายอย่่างจริิงจััง เธอบอกว่่า เดืือนแรก ได้้กำำ�ไรกว่่า 1,000 บาท เนื่�องจากเงิินซื้�ออาหารสำำ�เร็็จรููปนั้�นลดลง “เมื่่�อ ก่่อนเราซื้�อ้ อาหารไก่่ 30 ตัวั เราซื้�้อ 5 กระสอบ กระสอบละ 450 บาท พอมาทำำ�สููตร ลดต้้นทุุนเหลืือแค่่ 3 กระสอบ ไข่่ก็็ขนาดใหญ่่ขึ้�นทำำ�ให้้เราขายได้้ราคาดีีขึ้�น จาก เดิิมขายแผงละ 60 - 70 บาท พอเปลี่่ย� นอาหารก็เ็ ป็น็ เป็น็ 80 - 90 บาท” เธอยืนื ยันั เม่ือมีก�ำไรต๊ิกก็ซื้อไก่เพ่ิมคร้ังละ 30 ตัว เรื่อยมา จนล่าสุด เธอได้ซ้ือทีเดียว จ�ำนวน 250 ตัว “เพราะดูแล้วเราสามารถควบคุมต้นทุนอาหารได้แล้วก็เรามา เพมิ่ เรอื่ งหยวกกลว้ ยกบั ร�ำใหเ้ ยอะ” เธอเลา่ ดว้ ยความภมู ิใจ ปจั จุบนั นม้ี ไี กไ่ ขจ่ ำ� นวน 500 ตัว และต๊ิกเป็นแรงงานหลักในการดูแล “บางวันมีหลานชาย 2 คน มาช่วยให้ อาหาร โดยได้รับคา่ ขนมไปโรงเรยี นครั้งละ 50 บาท” เธอบอก

ครูภูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 49

เคล็ดลับการใชอ้ าหารลดต้นทุน

สัดส่วนการผสมอาหารลดต้นทุน ใช้หยวกกล้วยสับ 20 กิโลกรัม หัวอาหาร 3 กโิ ลกรมั ร�ำขา้ ว 5 กโิ ลกรมั ปลายขา้ วต้ม 2 กโิ ลกรัม และขา้ วโพดแห้งบดละเอยี ด 1 กิโลกรัม คลุกเคล้ากันแล้วน�ำไปเลี้ยงไก่ สูตรอาหารนี้เน้นให้มีโปรตีนท่ีได้จาก ร�ำข้าวผสมข้าวโพด เพ่ือช่วยให้ไก่ไข่ดก แต่หากให้มากจนเกินไปไก่จะอ้วน แล้วก็ จะไมอ่ อกไข่เช่นกนั ติ๊๊�กบอกว่่า สิ่่�งที่่�ที่่�สำำ�คััญในการให้้ อาหารลดต้้นทุุนถ้้าจะให้้ได้้ประสิิทธิิภาพ สููงสุุดต้้องดููช่่วงอายุุของไก่่ “ไก่่ที่่�ซื้้�อมา จะมีีอายุุ18 สััปดาห์์ ต้้องรอให้้มีีอายุุครบ 25 - 30 สััปดาห์์ก่่อน ถึึงจะทำ�ำ ได้้ หากนำำ�มาเลี้�ยงด้้วยอาหารลดต้้นทุุนเร็็วเกิินไป ไก่จะไมไ่ ข่” เธอกลา่ ว เธอเล่าว่า ช่วงเวลาให้อาหารต้องให้ 3 เวลา คือ เช้า บ่ายโมง และช่วง ห้้าโมงเย็็น ถ้้าให้้อาหารถี่�ตามนี้้� ปริิมาณไข่่จะเท่่าเดิิมทุุกวััน ถ้้าผิิดเวลาวัันถััดไป ไข่่ก็็จะลด ความรู้้�ต่่าง ๆ ได้้มาจากหลายแหล่่ง ทั้้�งจากโครงการปิิดทองหลัังพระฯ และค้น้ คว้า้ เองจากอิินเตอร์์เนท แล้้วนำำ�มาทดลองปฎิิบััติเิ อง เช่น่ ความรู้�เรื่�องอาหาร ลดต้้นทุนุ ปิดิ ทองฯ ไม่่ได้ใ้ ห้ร้ ายละเอีียดเรื่�องช่่วงอายุทุี่�เหมาะสมในการให้้ แต่่เธอก็็ หาเพิ่�มเติมิ จากแหล่ง่ อื่�น ๆ

คิดจะสรา้ งตัวจากการเลย้ี งไก่

ติ๊๊ก� เริ่�มคิดิ ถึงึ การยึึดเอาอาชีพี เลี้�ยงไก่่เป็น็ อาชีพี หลััก สร้า้ งความมั่�นคงให้้กัับ ตนเองในวัันข้้างหน้้า เธอบอกว่่า การทำำ�งานที่�รอหวัังพึ่�งเงิินเดืือนไม่่มีีความแน่่นอน ในบางครั้�งเมื่�อถึึงช่่วงปิิดปีีงบประมาณรายปีี ติ๊๊�กได้้รัับเงิินเดืือนล่่าช้้าไป 3 เดืือน แต่่พอมาเลี้�ยงไก่่ก็็หมดกัังวลเรื่�องเงิินเดืือนลงไป “ตอนนี้้�มีีรายได้้จากการเลี้�ยง ไก่่ 17,000 บาทต่่อเดือื น หักั ต้้นทุุนประมาณ 8,000 - 9,000 บาท ส่ว่ นที่่เ� หลืือก็็จะ เป็็นกำ�ำ ไร” เธอบอก ต๊ิกบอกว่า ส่ิงที่เห็นได้ชัดในการเปล่ียนแปลงของตัวเอง จากคนท่ีไม่เคย วางแผนการท�ำงาน ด�ำเนินชีวิตแบบวันต่อวัน เมื่อต้องมาอยู่บ้านเลี้ยงไก่ควบคู่ไป

50 ครูภูมปิ ัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

กับการท�ำงานส�ำนักงาน จ�ำเป็นต้องวางแผนจะท�ำอะไรก่อนหลังเพื่อไม่ให้กระทบ กับงานหลกั เธอมองเห็นตวั เองที่มีความคดิ เราเป็นผใู้ หญ่ขนึ้

อยากยนื บนขาของตนเอง

กลุ่�มเลี้�ยงไก่่บ้้านละโพะ ปััจจุุบัันมีีจำำ�นวน 13 ราย และมีีแนวโน้้มที่�จะเพิ่�ม จำำ�นวนขึ้�น ปััจจุุบัันมีีตลาดหลัักส่่งให้้กัับ มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์ วิิทยาเขต ปัตตานี ทุกวันอังคาร และโรงพยาบาลโคกโพธ์ิ ซ่ึงท้ังสองตลาดน้ีก็ส่งไข่ให้ได้ไม่ พอกัับความต้้องการ และตลาดอื่�นก็็ยัังมีีความต้้องการอีีกมากขณะนี้้�มีีสมาชิิกใน กลุ่�มจำำ�นวน การรวมกลุ่�ม 5 - 6 รายที่่�ทำำ�ตามและเลี้�ยงด้้วยวิธิ ีเี ดียี วกััน อย่่างไรก็็ตามในความคิิดเห็็นของเธอเอง การจะสร้้างความยั่�งยืืนของ โครงการฯ ให้้เกิิดขึ้�นได้้ ต้้องให้้ชาวบ้้านมีีการตััดสิินใจและบริิหารจััดการให้้เต็็ม รููปแบบ “หน่่วยงานอื่�นให้้งบมาชาวบ้้านจะทำ�ำ แบบไหนก็็ได้้ แต่่โครงการปิิดทอง หลังั พระฯ ให้ท้ ำำ�ในระบบกองทุุน เงิินหมุุนเวีียนอยู่�ในกลุ่�ม หากแต่่ตอนนี้� เรากำำ�ลังั รอ ให้้เกิิดความพร้้อมเพื่่�อการบริิหารกองทุุนเบ็็ดเสร็็จอยู่�ในกลุ่�มชาวบ้า้ นเอง” เธอกล่่าว

ทิศทางในอนาคต

แม้จะมีตลาดส่งไข่ไก่ขายที่แน่นอน แต่ในอนาคตต๊ิกอยากให้ไข่ไก่ท่ีเธอ และเพ่ือนสมาชิกเลยี้ ง การได้รบั การรบั รองมาตรฐานของไข่ เน่อื งจากเป็นไกท่ เี่ ลยี้ ง แบบปลอดสารเคมี หากท�ำได้ส�ำเร็จเธอมั่นใจว่า คุณภาพชีวิตของคนในหมู่บ้านจะ ดีีขึ้�น ความฝัันสููงสุุดคืือ ภายใน 3 ปีี เธอจะมุ่�งไปสู่�การเลี้�ยงแบบอิินทรีีย์์ “ไข่่ไก่่ ของบ้้านละโพ๊๊ะจะต้้องมีีชื่�อเสีียงในอำ�ำ เภอแม่่ลาน คนต้้องรู้้�จักไข่่อิินทรีีย์์ของเรา” เธอทง้ิ ท้าย

นางสาวปวณีี เขียี วจัันทร์์ อายุุ 35 ปีี บ้้านละโพะ อำ�ำ เภอแม่ล่ าน จัังหวัดั ปััตตานีี

ครูภมู ปิ ัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 51

ฟาตีีเมาะ สาเละ

นาโยนแหง่ ทา่ น�้ำ

52 ครภู มู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

“หัวั ใจที่่�สำ�ำ คัญั ที่่�สุุดของการทำำ�นาให้ส้ ำำ�เร็จ็ ถ้้าเราทำ�ำ นา ถึงึ เงิินไม่ม่ ีี แต่่ข้้าวสารมีอี ยู่�เต็็มบ้า้ น เวลาไม่่มีีเงิิน

เราก็เ็ อาข้า้ วไปขายสััก 2 - 3 กระสอบ เราก็อ็ ยู่�ได้”้

ท�ำนามาแต่เดก็

ฟาตีีเมาะ หรืือก๊๊ะเมาะท์์ มีีลููกทั้�งหมด 8 คน อาชีีพหลัักของเธอคืือทำำ�นา รับจ้างกรีดยางเป็นอาชีพเสริม ส่วนสามีท�ำงานก่อสร้าง ก๊ะเมาะท์เติบโตมาใน ครอบครัวท�ำนา เร่ิมท�ำนาต้ังแต่เด็ก แต่ก่อนท�ำนาปีละครั้ง แต่สิบกว่าปีท่ีผ่านมา มคี ลองชลประทาน เธอและคนท่มี นี าอย่ใู นพื้นทีร่ ับนำ�้ จงึ หนั มาทำ� นาปีละ 2 คร้งั ตั้งแต่ท�ำนามา ก๊ะเมาะท์เคยเจอประสบการณ์ปัญหาหอยเชอร่ีระบาด หนัักติิดต่่อกััน 2 ปีี ทำำ�ให้้ผลผลิิตข้้าวได้้น้้อย ถึึงขนาดต้้องซื้�อข้้าวกิิน ก๊๊ะเมาะท์์ บอกว่่า “ตอนนั้�นเลวร้้ายและน่า่ เจ็็บใจมาก อุุตส่่าห์ก์ ้ม้ หน้า้ ทำ�ำ นา แต่ข่ ้า้ วก็็ยังั ไม่พ่ อ ต้้องซื้้�อเขากิิน” แม้้เหตุุการณ์์ดัังกล่่าวเกิิดขึ้�นมา 4 -5 ปีีแล้้ว แต่่เธอก็็เจ็็บปวดใจ ทุกุ ครั้�งที่่�ย้อ้ นนึึกกลัับไป “โชคดที ปี่ ตี อ่ มา มนี กปากหา่ งเขา้ มาในพนื้ ท่ี มนั จงึ ชว่ ยกนิ หอยจนหมดไปได”้ เธอกลา่ ว

ครูภมู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 53

เหมืือนเล่่น ๆ แต่่เห็็นจริิง

ปี 2560 โครงการปิดทองหลังพระฯ เข้ามาในพ้ืนท่ี และได้แนะน�ำการท�ำนา ให้เธอและคนในหมู่บ้านรู้จักการท�ำนาโยนเป็นวิธีการท�ำนาแบบใหม่ ที่ผสมผสาน ระหว่างนาด�ำกับนาหว่านน�้ำตม วิธีการคือ โยนตุ้มต้นกล้าท่ีเพาะไว้แล้วในกระบะ เพราะกล้าลงในแปลงจนเต็ม อันจะเป็นการลดต้นทุนในการซ้ือเมล็ดพันธุ์และลด ปริมาณแรงงาน ทส่ี ำ� คัญ ข้าวจะใหผ้ ลผลติ ท่สี ูงขึ้น เร่ิมแรกโครงการปิดทองหลังพระฯ พาชาวบ้านท่ีสนใจไปดูงาน เพ่ือให้เกิด แนวคิดและเห็นตัวอย่างเพ่ือกลับมาพัฒนาในพื้นท่ีนาของตัวเอง คนเข้าร่วมทดลอง ท�ำนาโยนในตอนนั้นมี 4 คน เน่อื งจากท้ัง 4 ยงั ไมไ่ ดเ้ พาะกลา้ ขา้ ว จงึ มคี วามพร้อม ในการทดลองท�ำนาโยนไดท้ ันที ก๊ะ๊ เมาะท์ไ์ ม่ไ่ ด้เ้ ข้า้ ร่ว่ มการทำำ�นาโยนในปีแี รก เธอก็เ็ หมือื นกับั ชาวนาส่ว่ นใหญ่่ ที่�ตอนนั้�นยังั ไม่เ่ ชื่�อมั่�นในวิธิ ีกี ารใหม่ท่ี่�ได้ร้ ับั คำำ�แนะนำำ� เพราะทำำ�นาดำำ�มาตลอด ไม่ก่ ล้า้ เปลี่�ยน มีีชาวนาบางคนถึึงขนาดปรามาสวิิธีกี ารดังั กล่า่ วว่า่ เหมืือนเด็ก็ เล่น่ ปีแี รกผ่า่ นไป ก๊ะ๊ เมาะท์เ์ ริ่�มเห็น็ ว่า่ เพื่�อนที่�เข้า้ ร่ว่ มทำำ�นาโยนได้ผ้ ลผลิติ ดีี กระทั่�ง ปีีต่่อมาเธอจึึงชักั ชวนสามีที ดลองทำำ�นาโยนในพื้�นที่่� 3 งานดููบ้้าง ชาวบ้า้ นคนอื่�น ๆ ก็็ หัันมาทำำ�นาโยนเพิ่�มขึ้�นเป็น็ 20 คน หลัังได้้ทำำ� นอกจากพบว่า่ ข้้าวให้ผ้ ลผลิติ ที่�เยอะ กว่า่ แล้ว้ ก๊ะ๊ เมาะท์ย์ ังั เห็น็ ว่า่ วิธิ ีกี ารทำำ�นาโยนใช้เ้ วลาไม่เ่ ยอะ ไม่เ่ หนื่�อย เหมาะกับั เธอ เป็็นอย่า่ งมาก เพราะสามีีต้้องทำำ�งานก่อ่ สร้า้ ง ไม่่มีเี วลามาช่ว่ ยเต็็มที่่�

54 ครูภูมิปัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

“แต่่ก่่อนทำำ�นาดำ�ำ ในพื้�นที่่� 3 งาน ก๊๊ะดำำ�นา คนเดีียวใช้้เวลาประมาณ 1 สััปดาห์์ พอเปลี่่�ยนมาทำ�ำ นาโยนใช้้เวลาเพีียงแค่่วัันเดีียวก็็เสร็็จแล้้ว ตอน เก็็บเกี่�ยวเมื่่�อก่่อนก็็ได้้ข้้าวแค่่ 9 กระสอบ แต่่พอ ทำำ�นาโยนได้ถ้ ึึง 13 กระสอบ” เธอเล่่า

นาโยนของก๊ะ๊ เมาะท์์

ทำำ�นาโยนมาฤดูกู าลที่่� 3 ก๊ะ๊ เมาะท์์พบว่า่ พื้้�นที่� ที่�เหมาะจะทำำ�นาโยนนั้�น ต้อ้ งเป็น็ พื้�นที่�สามารถถ่า่ ยน้ำำ�� เข้้านาได้้อย่่างเพีียงพอ ในขณะเดีียวกัันก็็ต้้องระบาย น้ำำ��ออกได้้ดีี ดิินที่�เหมาะคืือดิินร่่วนปนทราย เพราะ หน้าดินจะแข็งเร็ว สามาระยึดต้นกล้าไว้ไม่ให้ล้ม ต้นกล้าจะแน่นและต้ังตรง หลังการไถพรวนเตรียมดินเสร็จ สามารถโยนกล้าได้ในวันถัดไปไดเ้ ลย “นาที่เป็นดินเหนียว เตรียมดินเสร็จต้องปล่อยท้ิงไว้ให้นานกว่าสักนิด ดนิ เหนียวปล่อยทง้ิ ไวน้ าน ย่งิ ด”ี กะ๊ เมาะท์บอกอย่างผ้ชู ำ� นาญการ ในขั้นตอนการปลูก กะ๊ เมาะทบ์ อกวา่ เบ้อื งต้นตอ้ งไถพรวนดนิ ให้ละเอียดกวา่ นาด�ำ เพราะรากจะปักลงดินได้ง่าย ก่อนโยนต้นกล้าลงไป ก็ควรมีน�้ำในแปลงจาก พ้ืนผิวดินประมาณ 3 เซนติเมตร ถ้าไม่มีน้�ำขังเลย ต้นกล้าจะล้ม ส่วนต้นกล้าที่ใช้ โยน จะใชเ้ วลาการเพาะประมาณ 15 - 20 วัน เพราะเป็นต้นกลา้ ท่สี ามารถแตกกอ และเจรญิ เติบโตด ี

ครภู มู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 55

การท�ำนาแบบโยนควรหมั่นดูแลในช่วง 2 สัปดาห์แรกภายหลังการโยน เพราะบางทีอาจมตี ้นกล้าลอยข้นึ ต้องตรวจเชคเพือ่ ปกั ดำ� ต้นกล้าซ่อมแซม “การท�ำนาโยนมขี อ้ ดอี กี อย่างคอื ไม่คอ่ ยมีหญา้ ในนา ถ้ามีกก็ �ำจัดงา่ ย ก๊ะแค่ เดนิ ถอนเอาก็หมด” กะเมาะทบ์ อก

มาถกู ทาง

ปัจจบุ ันโครงการปิดทองหลงั พระฯ ส่งเสรมิ ให้เพาะปลกู พนั ธ์ขุ ้าว 2 สายพนั ธ์ุ ได้แก่ ข้าวหอมปทุมและข้าวเล็บนก ข้าวหอมปทุมนั้น จะมีลักษณะต้นใหญ่ ยาว และมคี วามหอม ขณะทขี่ า้ วเลบ็ นก ตน้ เลก็ กวา่ ไมห่ อมเทา่ แตร่ สชาตอิ รอ่ ย คนนยิ มกนิ กระนั้�นก็็ตาม กะเมาะท์์บอกว่่า ชาวนาที่�เข้้าร่่วมสามารถเลืือกปลููกพัันธุ์์�ข้้าว ที่�โครงการฯ ส่่งเสริิมหรืือพัันธุ์�พื้�นเมืืองก็็ได้้ ตอนนี้�เธอจึึงยัังคงปลููกข้้าวพื้�นเมืืองอยู่� เพราะคุ้�นเคยและรู้�จักข้้าวที่�เธอปลููกอย่่างทะลุปุ รุโุ ปร่ง่ โดยเฉพาะการบำำ�รุุงดููแลและ การเก็็บเกี่�ยว ส่่วนข้้าวสายพัันธุ์�ใหม่่ที่�โครงการฯ นำำ�เข้้ามาส่่งเสริิม เธอจะทดลอง ปลููกในแปลงนาผืืนใหม่่ในปีีหน้า้ ก๊๊ะเมาะท์์บอกว่่าตั้�งแต่่โครงการปิิดทองหลัังพระฯ เข้้ามา ได้้ช่่วยแนะนำำ� ความรู้�ใหม่่ ๆ ในการทำำ�นา จากเดิิมที่�ไม่่เคยรู้้�จัักคำำ�ว่่าการทำำ�นาโยน ก็็ทำำ�ให้้เธอ ไดเ้ รยี นรู้และนำ� วธิ ีการมาปฏิบัตจิ นสามารถลดระยะเวลา แรงงาน ตน้ ทุน ได้จริง ๆ ทั้งผลผลติ ก็เพม่ิ ขนึ้ อยา่ งทนั ตาเห็น

56 ครูภมู ปิ ัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

จากเดิมท่ีไม่ค่อยเชื่อ มาวันน้ีก๊ะเมาะท์ภูมิใจและดีใจต่อผลที่เกิดขึ้น สามี ของเธอกเ็ ชน่ เดยี วกนั จากทเี่ คยไมค่ อ่ ยเชอื่ มน่ั แตเ่ มอ่ื เหน็ ผลผลติ ทอี่ อกมา กส็ นบั สนนุ ให้เธอทำ� นาดว้ ยวิธกี ารเชน่ นี้อย่างตอ่ เนอ่ื ง

การพึ่งพงิ กันในระบบกลุ่ม

ปัจจุบันกลุ่มข้าวมีสมาชิกท้ังหมด 62 คน ทุกคนมารวมกลุ่มกันเพราะ สามารถพึ่�งพิิงกัันเรื่�องปุ๋๋�ย และแรงงาน โดยเฉพาะการพึ่�งพิิงด้้านแรงงานนั้�น ทุุกวัันนี้้�มีีการกลัับมาช่่วยกััน “ลงแขก” ซึ่่�งเป็็นวิิถีีที่�หายไปกว่่าสิิบปีีแล้้ว ในจำำ�นวน สมาชิิกกลุ่�มข้้าว มีีคนทำำ�นาโยน 24 คน ก๊๊ะเมาะท์์ยอมรัับว่่า เหตุุผลที่�สมาชิิก คนอื่�นยัังไม่่ยอมปรัับเปลี่�ยนก็็เพราะว่่า ยัังคุ้�นเคยกัับวิิธีีการเดิิม ๆ จึึงไม่่กล้้าที่�จะ เปลี่�ยนแปลง ทั้้�งที่�พื้�นที่�นาหลายคนเหมาะที่�จะทำำ�นาโยนก็ต็ าม

อนาคตที่วาดหวงั

ภายในระยะเวลาอีก 3 ปี ก๊ะเมาะท์อยากเห็นเพ่ือนสมาชิกพร้อมใจกัน มาทำำ�นาโยนทั้�งหมด เพราะเห็็นว่่าวิิธีีการดัังกล่่าว มีีผลดีีต่่อการทำำ�นามากกว่่าทำำ� ด้้วยวิิธีีการแบบเก่่า หากสิ่�งที่�คาดหวัังเกิิดขึ้�นจริิง ในขั้�นต่่อไปก๊๊ะเมาะท์์อยากเห็็น ผลิภัณฑ์ข้าวที่ผลิตในพื้นท่ีท่าน�้ำส่งออกขายไปตลาดข้างนอกอย่างแพร่หลาย ภายใต้ช่ือแบรนดข์ องตวั เอง “ถา้ หนั มาท�ำนาโยนกันทุกคน ขา้ วของเราก็ จะมีจุดขาย เอาวธิ ีการท�ำทไ่ี ม่เหมอื นทวั่ ไปน่ีแหละ มาทำำ�ให้้คนสนใจซื้้อ� ” ก๊ะ๊ เมาะท์ค์ าดหวังั อย่่างเต็็มเปี่่�ยม

นางฟาตีีเมาะ สาเระ อายุุ 51 ปีี หมู่ 4 บ้านบางโต๊ะซา ต�ำบลทา่ น�้ำ อ�ำเภอปะนาเระ จังหวดั ปตั ตานี

ครูภูมิปัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 57

แอเสาะ มะลีี

โลกกวา้ งในแปลงผกั

“การปลกู ผกั ปจั จยั ต้องถงึ พรอ้ ม พนั ธ์ดุ ี น�้ำดี ป๋ยุ ดี คนเอาใจใสด่ ี ผลผลติ ก็จะดตี ามมา”

58 ครูภูมปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

เมือ่ ก้าวออกจากรัว้ บ้าน โลกประสบการณ์ก็ตอ้ นรับ

แอเสาะ มะลีี หรืือ ก๊๊ะเน๊๊าะ เริ่�มรู้�จักโครงการปิดิ ทองหลังั พระฯ จ า ก ต อ น ที่ � โ ต๊๊ ะ อิิ ห ม่่ า ม แ จ้้ ง ใ ห้้ ชาวบ้้านทุุกคนเข้้าร่่วมประชุุม ที่่�สำำ�นัักงานเมื่�อปีี 2560 ครั้�งนั้�น หม่่อมราชวงศ์์ดิิศนััดดา ดิิศกุุล หรือื ที่�หลายคนเรียี กว่า่ “คุณุ ชาย” พร้้อมคณะลงมาในพื้ �นที่ �เพื่ �อพบ ปะกัับชาวบ้้าน ถามไถ่่ถึึงความ เป็น็ อยู่�และการประกอบอาชีีพ ครั้�งแรก ทุุกคนที่�เข้า้ ร่่วมประชุมุ ไม่่รู้�จักว่่าคุณุ ชายเป็น็ ใคร ด้ว้ ยความไม่แ่ น่่ใจ โต๊๊ะอิิหม่่ามจึึงถามในที่�ประชุุมว่่า “โครงการปิิดทองฯ ที่่�จะมาส่่งเสริิมเรื่�องอาชีีพ มีี ความจริิงจัังจริิงใจแค่่ไหน เพราะที่่�ผ่่านมายัังไม่่เคยมีีหน่่วยงานไหนทำ�ำ สำำ�เร็็จ” ซึ่่�ง ก็ไ็ ม่ม่ ีีคำำ�ตอบใด ๆ ที่่�ยืืนยันั จากคุุณชาย ผ่่านไป 2 - 3 วััน ก๊๊ะเน๊๊าะก็็ได้้รัับแจ้้งว่่า เธอคืือหนึ่�งใน 12 คนที่�โครงการ ปิิดทองหลัังพระฯ จะพาไปดููงานที่�ภาคเหนืือและอีีสานเป็็นเวลา 2 สััปดาห์์ การได้้ รัับเลืือกให้้เป็็นตััวแทนไปดููงานครั้ �งนั้ �นสร้้างความตื่ �นเต้้นและกัังวลใจให้้เธอเป็็น อย่่างมากเนื่ �องจากเป็็นการห่่างจากบ้้านไปนานที่่�สุุดในชีีวิิต ทั้้�งยัังเป็็นการเดิินทาง โดยเครื่�องบินิ ครั้�งแรกอีีกด้ว้ ย ก๊๊ะเน๊๊าะยอมรัับว่่า ก่่อนไป เธอก็็ยัังไม่่ค่่อยเข้้าใจถึึงวััตถุุประสงค์์ของการพา ไปดููงานเท่า่ ใดนััก แต่่เมื่�อไปถึึงสถานที่่�ดููงานต่า่ ง ๆ ความเข้า้ ใจก็็เริ่�มชััดขึ้�นเรื่�อย ๆ “ครั้�งแรกที่่�เราได้้เปิิดหููเปิิดตา ไม่่เหมืือนกัับที่่�คิิดไว้้เลย ตื่่�นตาตื่่�นใจมาก เขา พยายามให้เ้ ราคิิดว่า่ เมื่่อ� กลับั บ้า้ น เราอยากจะทำ�ำ อะไรกันั บ้า้ ง ตอนนั้�น เขาจะให้ส้ มุดุ จดมา ก๊ะ๊ ทั้�งจด ทั้�งจำำ�และถ่า่ ยรูปู กลับั มาที่่โ� รมแรมกิินข้า้ วเสร็จ็ ก็จ็ ะมาสรุปุ กันั วันั นี้�ได้้ อะไรมาบ้้าง ก๊ะ๊ ก็เ็ ลยมีีแรงบัันดาลใจอยากมาทำ�ำ ในหมู่่�บ้้านของเราบ้า้ ง” เธออธิบิ าย

ครภู ูมปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 59

กลับั มาปลูกู ฝันั

หลัังจากกลัับมาจากดููงาน ผู้้�ใหญ่่บ้้านเรีียกประชุุมเพื่�อสรุุปผลจากการไป ดูงานและร่วมคิดกันว่าจะท�ำอะไรต่อยอดจากการดูงานได้บ้าง โดยให้ชาวบ้านคน ท่ีไม่ได้ไปมาร่วมรับฟัง หลังประชุมก๊ะเน๊าะเลือกต่อยอดจากการดูงานด้วยการ ปลูกผักและสังกัดกลุ่มปลูกผัก โดยในท่ีประชุมตกลงกันว่า ให้กลุ่มปลูกผักใช้พื้นท่ี สว่ นรวมท่ีเคยเปน็ แปลงของหน่วยงานอ่นื ท่ีเคยเข้ามาสนับสนุนและถกู ทงิ้ ร้างไว้ พื้�นที่่�ดัังกล่่าวถููกรื้�อฟื้�้นขึ้�นมา โดยโครงการฯ เข้้ามาช่่วยปรัับปรุุงระบบน้ำำ��ให้้ กลับมาใช้ได้ และแบ่งพ้ืนท่ีเป็นแปลงย่อยจัดสรรตามจ�ำนวนคนที่ลงชื่อ ปัจจุบัน สมาชกิ กลมุ่ ปลกู ผกั มีประมาณ 30 คน ขึน้ ลงตามสถานการณ์แวดล้อม มคี นเกา่ ออก ไปมคี นใหมเ่ ข้ามา “บางคนเจอนำ้� ทว่ ม สตั วเ์ ขา้ ท�ำลาย กท็ อ้ และถอดใจ กอ็ อกไป บางคนอยากมี สว่ นรว่ ม เหน็ ของเพอ่ื นเจรญิ เตบิ โตจนสรา้ งรายไดก้ เ็ ขา้ มาทดแทน สลบั กนั อยอู่ ยา่ งนี้ แตส่ �ำหรบั กะ๊ ปญั หาแบบนนั้ กม็ เี หมอื นกนั แตก่ ะ๊ ไมเ่ คยทอ้ กต็ อ้ งอดทนและแกป้ ญั หา ใหไ้ ด้” ก๊ะเนา๊ ะกลา่ วอย่างภาคภูมใิ จในตวั เอง เหตุุที่�เธอไม่่เคยรู้้�สึกึ ท้อ้ ถอย ก๊๊ะเน๊๊าะบอกว่่า เพราะเธอเป็น็ คนชอบปลูกู ผัักมา ตั้�งแต่ไ่ หนแต่ไ่ ร เริ่�มหัดั ปลููกครั้�งแรกตอนอายุุราว ๆ 20 ปีี ปลูกู ผัักที่�ชอบกินิ จำำ�พวก แตงกวา ผัักบุ้�ง ผัักกวางตุ้�ง ผัักกาดขาว ฯลฯ พอมาร่่วมงานปลููกผัักกัับโครงการ ก็เหมือนกับมาพบของรักของชอบ ของท่ีเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตอยู่แล้ว อุปสรรคท่ีเข้า

60 ครภู ูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

มาจึงไม่ใชป่ ญั หา หากแตเ่ ป็นเพยี งบททดสอบให้เธอเรยี นรทู้ ี่จะก้าวผ่าน เพอื่ ให้การ ลงทุนลงแรงในแปลงฟักทองของเธอเติบโต งอกงาม มผี ลผลติ ท่ดี ี “ทุุกวัันนื้� ก๊๊ะซื้้�อเม็็ดฟัักทองมาร้้อยบาท ขายได้้ลููกเดีียวก็็คืืนทุุนแล้้ว ฟัักทอง ขายง่า่ ย หาตลาดง่่าย ก๊๊ะปลูกู 70 ต้้น ขายได้้ถึึง 400 กิิโลกรัมั ” ก๊๊ะเน๊๊าะภาคภูมู ิใิ จ กับั ผลผลิติ หลัังการก้า้ วผ่า่ นอุปุ สรรคต่่าง ๆ ของเธอ

การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัติ

การเข้้าร่่วมปลููกผัักกัับโครงการฯ เป็็นการเรีียนรู้�ในทุุกขั้�นตอน ตั้้�งแต่่เริ่�มต้้น จนเก็็บผลิิตผลิิตจำำ�หน่่าย ใส่่ใจในรายละเอีียดตั้�งแต่่การขุุดหลุุม การผสมดิินปลููก วิิธีกี ารปลูกู การให้น้ ้ำำ�� การใส่่ปุ๋๋�ย การผสมเกสร และการเก็็บเกี่�ยว แปลงของก๊๊ะเน๊๊าะ นอกจากดำำ�เนิินการอย่่างละเอีียดดัังกล่่าวแล้้ว เธอยัังติิด ตั้�งระบบน้ำำ��หยดในแปลงฟัักทอง เพราะสามารถเปิิดทิ้�งไว้้แล้้วไปทำำ�งานอย่่างอื่�นได้ ้ หรืออย่างการใส่ปุย๋ เธอก็ต้องกเ็ อาใส่ใจอย่างดี “การใส่่ปุ๋�ย ถ้้าเป็็นขี้้�วััว ให้้ดีีต้้องให้้แห้้งก่่อน การใส่่สด ๆ นอกจากใส่่ยาก แล้ว้ ยัังเสี่่�ยงเรื่�องเชื้�อราและมดแมงที่่ป� นเปื้้�อนมาด้ว้ ย เวลาใส่่ก็จ็ ะใส่่ไว้ร้ อบ ๆ โคน ใส่่ไม่่ถึึงโคนเสีียทีีเดีียว ส่่วนปุ๋�ยก็็จะใช้้สููตรเสมอ 16-16-16 สิิบห้้าวัันใส่่ทีี จนกว่่า จะครบ 2 เดืือน ซึ่่�งได้้เวลาเก็บ็ เกี่่ย� ว”

ครภู มู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 61

การใส่่ปุ๋๋�ยอย่่างถููกต้้องนี่�เอง ที่่�ก๊๊ะเน๊๊าะบอกว่่าเป็็นเคล็็ดลัับในการการปลููก ฟัักทองให้ส้ ำำ�เร็็จ เธอเปรียี บเทียี บให้ฟ้ ังั ว่่า แปลงหนึ่�งเธอใส่่ปุ๋๋ย� ถูกู ต้้องเหมาะสม ได้้ ผลผลิิตฟัักทองถึงึ 300 ลููก ขณะที่่�อีกี แปลงไม่่ค่อ่ ยได้บ้ ำำ�รุงุ จึงึ ได้้แค่่เพีียง 100 กว่่าลููก ก๊๊ะเน๊๊าะบอกว่่า แม้้เรื่�องของการปลููกผัักเป็็นสิ่�งที่่�ทุุกคนคุ้�นเคยกัันทั่�วไป แต่่ การทำำ�ให้้ได้้ผลผลิิตที่่�ดีีนั้�นมีีความจำำ�เป็็นต้้องมีีหลัักปฎิิบััติิที่่�ถููกต้้อง อาจจะยุ่�งยาก ต่่อการเรีียนรู้�ในช่่วงแรก เพราะหลายคนมัักคุ้�นเคยกัับวิิธีีการปลููกแบบวิิธีีเดิิม ๆ แต่่หากตั้�งใจเรีียนรู้้�ผ่่านช่่องทางต่่าง ๆ พร้้อมการปฏิิบััติิจริิง ประสบการณ์์ก็็จะ ค่่อย ๆ เพิ่�มพูนู จนเกิดิ ความชำำ�นาญในที่่�สุดุ เธอยัังเล่่าอีีกว่่า ก่่อนหน้้านี้้� เธอเคยร่่วมงานปลููกผัักกัับหน่่วยงานอื่�นมาก่่อน พวกเขาแจกจ่่ายเมล็็ดพัันธุ์�มาให้้ แต่่หลัังจากนั้�นก็็ไม่่เข้้ามาสนใจอีีกเลย สุุดท้้าย เมื่�อชาวบ้้านเจอปััญหา ก็็ต้้องล้้มเลิกิ ไป

ดอกผลแห่่งหยาดเหงื่ �อแรงงาน

จุุดเปลี่�ยนสำำ�คััญในชีีวิิตการปลููกผัักของก๊๊ะเน๊๊าะ คืือการได้้ไปศึึกษาดููงาน ในครั้�งแรก เธอบอกว่่า ถ้้าไม่่มีีโอกาสดัังกล่่าว โลกทััศน์์ของเธอคงไม่่กว้้างไกล อย่่างทุุกวัันนี้้� ทุุกวัันนี้้� ก๊๊ะเน๊๊าะมีีรายได้้จากการปลููกผัักโดยรวม ประมาณ 6,000 - 10,000 บาทต่่อเดืือน รายได้ท้ี่�มาจากน้ำำ��พักั น้ำำ��แรงดัังกล่า่ ว ทำำ�ให้เ้ ธอมั่�นใจว่่าเธอมา ถููกทางแล้้ว เธอบอกว่่า ในแต่่ละวัันจะช้้เวลาขลุุกอยู่�ที่�แปลงผัักจนแทบจะมากกว่่า อยู่่�ที่่�บ้้าน “ถ้้าไม่อ่ ยู่่�บ้้านก็อ็ ยู่�ที่�นี่่� กิินข้้าวที่่�นี่่� อยู่�ที่แ� ปลงแล้ว้ ได้้ตังั ค์์ อยู่่�บ้้านไม่่ได้”้ “เมื่่�อก่่อนลูกู ไปโรงเรีียน ก๊๊ะมีีให้้แค่ว่ ัันละ 20 บาท แต่่เดี๋๋ย� วนี้� 30 - 40 บาท ถ้้าลููกจำำ�เป็น็ ก๊ะ๊ ก็ใ็ ห้้ได้้ เอากำำ�ไรมาให้้ ” เธอกล่่าว ไม่่ใช่่แค่่ทำำ�ให้ม้ ีรี ายได้จ้ ุุนเจืือครอบครัวั เท่่านั้�น หลังั ปลูกู ผััก กะเน๊๊าะมีีโอกาสได้้นำำ�ผลิิตผลของเธอแบ่่งปัันเพื่ �อนบ้้านคน อื่�น ๆ อีีกด้้วย “ผัักที่่�ได้้ก็็ขายบ้้าง แจกจ่่ายคนอื่�นบ้้าง อย่่างช่่วงโควิิดที่่�ผ่่านมา ก๊๊ะก็็แจกให้้คนใน หมู่่�บ้้านไปทั่่�ว ถืือว่่าทำ�ำ แล้้วได้้บุุญ ได้้ความสุุข” ก๊ะ๊ เน๊๊าะกล่่าวอย่่างภาคภููมิใิ จ

62 ครภู ูมิปัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

กลุ่�มก้้อนแห่่งความมั่่น� คง

การรวมกันปลูกในพ้ืนที่เดียวกัน ได้พบปะเจอะเจอเพ่ือนเกือบทุกวัน ท�ำให้ ได้้แลกเปลี่�ยนความรู้�ร่วมกััน แต่่สิ่�งที่�ได้้ช่่วยเหลืือกัันอย่่างเห็็นผลได้้ชััดคืือ การนำำ� ผลิิตผลรวมกัันไปขายตลาดในตััวเมืืองยะลา บางครั้�งมีีพ่่อค้้าแม่่ค้้ามาติิดต่่อถึึงที่่�ก็็ จะบอกกล่าวกนั หากมีผลผลติ ท่ีสามารถเก็บเกยี่ วได้พร้อมกนั กจ็ ะรวมกนั ขาย นอกจากนี้แล้ว ทางกลุ่มยังมีระบบกองทุน ซึ่งตัดก�ำไรจากการขายปุ๋ยและ เมล็ดพันธุ์ ท่ีซ้ือจากโครงการแล้วจ�ำหน่ายต่อแก่สมาชิก เงินกองทุนดังกล่าวมี ไว้ส�ำหรับค่าซ่อมบ�ำรุงระบบน้�ำและอ่ืน ๆ ท่ีจ�ำเป็น ก๊ะเน๊าะบอกว่า เม่ือก่อนยังไม่ เคยมีระบบกองทุนแบบนี้ ได้รับการสนับสนุนมาจากหน่วยงานไหน ก็จะด�ำเนินการ กนั สักพกั แลว้ กจ็ บสนิ้ กันไป ไมม่ ีการดูแลระยะยาว “โครงการปิิดทองหลัังพระฯ บางทีีเขาก็็ให้้ฟรีี บางทีีก็็ต้้องซื้�้อ เขาบอกเราว่่า จะได้้มีกี ำำ�ไรเก็บ็ ไว้้ เวลาอะไรเสียี ก็็จะเอากำำ�ไรมาซ่อ่ ม ถ้า้ ให้ฟ้ รีที ุกุ ๆ อย่า่ ง ก็จ็ ะไม่ม่ ีี เงิินมาบริิหารจัดั การให้้ต่อ่ เนื่่�อง ”

อนาคตท่ีวาดหวัง

ในอนาคต กะ๊ เนา๊ ะฝันวา่ อยากมโี รงเรือนกับเขาสักโรง เธอบอกว่า “จะปลูก ผัักทุุกวััน ปลููกให้้หนำำ�ใจไปเลย เพราะในนั้�นแมลงไม่่มีี” เธอตั้�งเป้้าหมายเอาไว้้ว่่า ภายใน 2 - 3 ปีนี ี้้� จะพยายามเก็็บหอมรอมริิบสร้้างโรงเรืือนปลูกู ผักั ของตััวเองให้้ได้้ หรืือถ้้าทางโครงการฯ ลงทุุนสร้้างโรงเรืือนให้้ก่่อน แล้้วให้้ผ่่อนจ่่าย เธอก็็ยิินดีี เธอ เคยคิิดเล่่นว่่า อยากให้้คนที่�เธอไปดููงานที่�ภาคเหนืือและอีีสาน ได้้มาเยี่�ยมที่่�นี่่�บ้้าง อยากมีีโอกาสต้้อนรัับให้้คนอื่�นเข้้ามาดููงานในแปลงผัักของกลุ่�ม แม้้ในตอนนี้�จะยััง ไม่พ่ ร้อ้ มแต่ค่ งอีีกไม่่นานความคิิดของเธอจะเป็น็ จริิง

นางแอเสาะ มะลี ี อายุุ 45 ปีี หมู่ 6 บ้านจ�ำปนู ต�ำบลท่าธง อ�ำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ครภู มู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 63

อับดุลวาหะ มะเลาะ

ปลกู ออ้ ยขายน�้ำออ้ ย

64 ครภู มู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้

“ไปเที่่�ยว ผมไม่่ชอบ ผมชอบทำ�ำ งาน กิินกาแฟเสร็็จ ผมต้อ้ งมาที่่ส� วนแล้ว้ เห็น็ ต้้นอ้อ้ ย ผมสามารถตีีได้เ้ ลย

ผมจะได้้น้ำ�ำ�อ้อ้ ยกี่่�ขวด

หน้าทขี่ องพค่ี นโต

อัับดุุลวาหะ หรืือ แบหะ เกิิดมาในครอบครััวที่่�พ่่อแม่่มีีลููกหลายคน ตััวเอง เป็็นพี่�ชายคนโต จึึงมีีหน้้าที่่�ช่ว่ ยพ่อ่ แม่่ทำำ�งานเพื่�อเลี้�ยงดูแู ละส่ง่ น้อ้ ง ๆ อีีก 6 คนเรียี น หนัังสืือ แบหะบอกว่่า ตััวเองไม่่ได้้เรีียนหนัังสืือ เพราะชอบทำำ�งานมากกว่่าเรีียน “แต่่ก่่อนก็็แบกไม้้ยางส่่งน้้อง ๆ เรีียนที่่�กรุุงเทพฯ ถ้้าไม่่ได้้ทำำ�งาน หรืืออยู่�เฉย ๆ อยู่�ไม่่ได้จ้ ะเครียี ด” แบหะเล่่า แบหะยึดอาชีพท�ำสวนยางเป็นอาชีพหลัก ซ่ึงเป็นอาชีพที่สืบทอดมาตั้งแต่ รุ่นพ่อแม่ เม่ือว่างเว้นจากการกรีดยางจะหารายได้เสริมโดยการปลูกอ้อย เป็นอ้อย ท่ีใช้ส�ำหรับหนีบน้�ำอ้อยขาย ในช่วงแรกของการปลูก แบหะประสบอุปสรรคหา แหล่ง่ รับั ซื้�อไม่ไ่ ด้้ จนต้อ้ งซื้�อเครื่�องหีบี น้ำำ��อ้อ้ ยเพื่�อจำำ�หน่า่ ยด้ว้ ยตัวั เอง แต่ก่ ็ต็ ้อ้ งปัญั หา อีีกครั้�ง เพราะปริมิ าณอ้อ้ ยไม่พ่ อในการทำำ�น้ำำ��ขาย อ้้อยแก่่มีไี ม่เ่ พีียงพอ

ก้้าวแรกกับั ปิดิ ทองฯ

ซารีีปะ ลููกสาวคนโตของแบหะ เล่่าว่่า เธอได้้รัับการชัักชวนจากเพื่�อนที่� ทำำ�งานเป็็นอาสาสมััครพััฒนากัับโครงการปิิดทองหลัังพระฯ ให้้เข้้าร่่วมโครงการ ปลููกผััก โดยโครงการฯ ได้้แบ่่งซอยพื้�นที่่�ว่่างด้้านหน้้าอาคารเป็็นแปลงสาธิิต เพื่�อ ส่่งเสริิมให้้ชาวบ้้านและเยาวชนที่�สนใจได้้ปลููกผัักสวนครััวไว้้กิินเอง เธอเป็็นตััวแทน ของครอบครััวในการเข้้าร่ว่ มกิิจกรรมนับั แต่น่ั้�นมา

ครูภมู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 65

ต่่อมาในปีี 2561 ซารีีปะ ไ ด้้ รัั บ คัั ด เ ลืื อ ก ใ ห้้ เ ป็็ น ห นึ่� ง ใ น ตััวแทนเกษตรกรในแปลงสาธิิต เข้้าร่่วมการดููงานเรื่�องการปลููกผััก การทำำ�นา การทำำ�ฟาร์์มและการ ทำำ�ฝายกั้ �นน้ำำ��ในพื้ �นที่ �ภาคเหนืือและ อีีสาน “ไปดููงานที่่�จัังหวััดอุุดรธานีี ขอนแก่่น น่่าน ดููเสร็็จก็็ไปเที่่�ยว เ ปิิ ด หูู เ ปิิ ด ต า ที่่� จัั ง ห วัั ด เ ชีี ย ง ร า ย และเชีียงใหม่”่ เธอเล่่า เมื่�อกลัับมาจากการดููงาน มีีการเรีียกประชุุมที่่�มััสยิิด ซารีีปะได้้ชวนพ่่อเข้้า ร่่วมประชุุมด้้วย เธอเป็็นหนึ่�งในคณะดููงานที่�จะต้้องเล่่าสิ่�งที่�ได้้พบเจอจากการดููงาน ให้้คนอื่�น ๆ ฟังั เมื่�อเล่่าจบ ชาวบ้า้ นที่�เข้า้ ประชุุมช่่วยระดมความคิิดว่า่ สิ่�งที่�ได้ฟ้ ังั นั้�น ส่ว่ นไหนสามารถประยุกุ ต์ท์ ำำ�ในหมู่่�บ้า้ นได้บ้ ้า้ ง ซารีปี ะบอกว่า่ แม้อ้ าชีพี การเพาะปลูกู ที่�ไปดูงู านมา จะนำำ�เอามาใช้ไ้ ม่ไ่ ด้ท้ั้�งหมด เพราะสภาพดินิ และอากาศแตกต่า่ งกันั แต่่ สิ่�งที่่�นำำ�กลับั มาใช้้ได้้คืือวิธิ ีกี ารเอาใจใส่ด่ ููแล และการทำำ�อย่า่ งจริิงจังั ในสิ่�งที่่�ทำำ�

ปลูกู เองขายเอง

ในวัันที่�เข้้าร่่วมประชุุม แบหะกัับชาวบ้้านหลายคนแสดงความสนใจที่�จะ ได้้รัับการสนัับสนุุนการปลููกอ้้อยจากโครงการปิิดทองหลัังพระฯ แบหะบอกกัับ ปิิดทองฯ ว่่า ตนคิิดจะขยายพื้�นที่�ปลููกและขอสนัับสนุุนพัันธุ์์�อ้้อย หากคนปลููกด้้วย กัันไม่่มีีที่�ขาย ตนก็็พร้้อมจะซื้�อเพื่�อทำำ�น้ำำ��อ้้อยขายในช่่วงถืือศีีลอด แล้้วแบหะกัับ ชาวบ้้านคนอื่�น ๆ ก็็ได้้รัับการตอบสนองจากโครงการฯ โดยแบหะขยายพื้�นที่�ปลููก อ้อ้ ยเป็็น 2 แปลง และได้ร้ ัับการสนับั สนุนุ เครื่�องหีบี น้ำำ��อ้อ้ ยอีกี เครื่�องหนึ่�งเพื่�อให้ก้ าร ผลิิตน้ำำ��อ้้อยทัันต่่อการขาย แบหะบอกว่่า ตั้้�งแต่่ทำำ�การเกษตรมา เขาชอบเรื่�องการ ปลูกู อ้อ้ ยกว่า่ การปลููกพืชื ชนิิดอื่�น เพราะปลูกู ง่า่ ย ดูแู ลง่่าย รายได้้ก็็ดีี ปัจั จุบุ ัันแบหะ จึึงยืืดการปลููกอ้้อยและขายน้ำำ��อ้้อยเป็็นอาชีีพหลััก เขามีีความสุุขที่�ควบคุมุ คุณุ ภาพ ด้ว้ ยมือื ของตัวั เอง ตั้�งแต่ก่ ารปลูกู การดูแู ล และการแปรรูปู จนถึงึ ผู้�บริโิ ภค

66 ครภู ูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ช่่วงเดืือนบวช แบหะจะหีีบอ้้อย ขายหน้้าบ้้าน อ้้อยของเขาได้้รัับความ นิิยม เนื่�องจากไม่่มีีการฉีีดยาฆ่่าแมลง และเป็็นอ้้อยที่�แก่่พอดีี เมื่�อเอามาหนีีบ เป็น็ น้ำำ��หวาน จึงึ ไม่ม่ ีรี สเปรี้�ยวเจือื ปน “ช่ว่ ง เดืือนรอมฎอน จะขายดีีมาก คนผ่่านไป ผ่่านมาจะแวะซื้้�อตลอด ได้ก้ ิินปีีนี้� ปีหี น้้า ก็็จะมาซื้�้ออีีก เพราะไม่่ผิิดหวัังในรสชาติิ และความปลอดภััย” แต่่ก่่อนจะสำำ�เร็็จมีีรายได้้เป็็นกอบ เป็็นกำำ�จากการขายน้ำำ��อ้้อยเช่่นทุุกวัันนี้�เขาบอกว่่า เคล็็ดลัับอยู่�ที่�ความขยัันเอาใจ ใส่่อ้้อยที่�ปลููกเป็็นอย่่างดีีทุุก ๆ ต้้น ทุุกๆ กอ “ถึึงเวลาก็็ต้้องให้้ปุ๋�ยให้้น้ำ�ำ � ก็็ต้้องให้้ อย่า่ งเต็็มที่่� ไม่่ใช่่แค่ท่ ำ�ำ ลวก ๆ ผ่า่ น ๆ ต้้องขยันั เดิินตรวจตรา เห็็นว่่าต้้นไหนมีีหนอน ซอนไซ ก็็ต้้องรีีบตััดทำ�ำ ลาย” นอกจากความขยัันแล้้ว แบหะบอกว่่าจะต้้องอยู่�แบบ พอเพีียงด้้วย ถ้้าไม่่พอเพีียง ได้้เงิินจากการขายน้ำำ��อ้้อยมาแค่่ไหนก็็ไม่่พอ “พืืชผััก อัันไหนปลููกกิินเองได้้ก็็ปลููก อัันไหนไม่่จำ�ำ เป็็นก็็ไม่่ต้้องซื้้�อ มัันจะช่่วยลดรายจ่่าย เราต้้องประมาณตนเองให้ไ้ ด้้”

การปรับั เปลี่่�ยนรีียนรู้�

ในอดีีตแบหะเคยปลููกพัันธุ์�พื้�นบ้้าน ซึ่่�งให้้ความหวาน ไม่่มากนััก แต่่หลัังจากผู้�ใหญ่่บ้้านได้้พากลุ่�มปลููกอ้้อยไป ดููงานที่่�อำำ�เภอแม่่ลาน จัังหวััดปััตตานีี ประสบการณ์์ครั้�งนั้�นก็็ ทำำ�ให้้เขาปรัับเปลี่ �ยนมาใช้้พัันธุ์์�อ้้อยที่ �ซื้ �อมาจากอำำ�เภอแม่่ลาน ซึ่�งเป็็นพัันธุ์�เดียี วกับั ที่�โรงงานน้ำำ��ตาลมิิตรผลแนะนำำ� นอกจากการคััดเลืือกพัันธุ์�แล้้ว แบหะยัังปรัับวิิธีีการ ปลูกู ที่�เคยปลููกเป็น็ หลุุม ๆ ละ 2 - 4 ต้้น มาปลูกู เป็น็ กอ ๆ แบบ ยกร่อ่ งกอละ 7 - 8 ต้น้ ซึ่่�งทำำ�ให้้ได้้ผลผลิติ เยอะกว่า่ เดิมิ ทั้้�งยังั ง่า่ ยในการดููแลวััชพืืช

ครูภมู ปิ ัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 67

ในช่่วงแรก แบหะได้้ติิดตั้�งระบบการให้้น้ำำ��แบบน้ำำ��หยด โดยดััดแปลงมา จากการให้้น้ำำ��ในแปลงผััก แต่่มาพบว่่า ระบบน้ำำ��หยดไม่่เหมาะกัับการปลููกอ้้อย เนื่�องจากเป็็นพืืชที่่�ต้้องการน้ำำ��เยอะกว่่าผััก หลัังกลัับมาจากดููงานที่�แม่่ลาน เขาจึึง เปลี่ �ยนมาให้้น้ำำ��แบบปล่่อยเข้้าร่่อง ซึ่่�งจะสร้้างความชุ่ �มชื้ �นได้้มากและนานกว่่า แต่่หากเห็็นว่่ากอไหนได้้รัับน้ำำ��ไม่่เต็็มที่�หรืือเพิ่�งปลููกใหม่่ ๆ แบหะจะรดทุุก ๆ 2 วััน เจาะจงไปที่�กอนั้�น ๆ โดยตรง ส�ำหรับการใส่ปุ๋ย หลังกลับมาจากดูงานแบหะก็ปรับจากการใส่แต่ปุ๋ยคอก อย่างเดียวมาให้ปุ๋ยสูตรเสมอ 15-15-15 เพ่ิมด้วย เพราะจะท�ำให้อ้อยมีความหวาน มากกว่า หรือบางครัง้ แบหะกใ็ สป่ ๋ยุ ยูเรยี บ้าง เพราะจะท�ำใหอ้ ้อยหวานและมีรสชาติ อรอ่ ยขึ้นไปอกี “ตอนดููงานที่่�แม่่ลานเราได้้เรื่�องพัันธุ์์�อ้้อย เรื่�องวิิธีีการปลููกและ วิิธีีการให้้ปุ๋�ย ให้น้ ้ำ�ำ �กลับั มา เมื่่อ� ก่อ่ นเราก็ป็ ลูกู มั่่ว� ๆ ไปตามที่่ค� ิิด แต่พ่ อไปดูงู านก็ท็ ำ�ำ ให้รู้้�ว่า ต้อ้ งปลูกู เว้้นระยะห่่าง 1 เมตร เวลาใส่ปุ่๋�ยก็็ให้้ห่่างจากโคนลำ�ำ อ้อ้ ย 1 คืบื ให้้ 2 อาทิิตย์ต์ ่อ่ ครั้�ง แต่ก่ ็ต็ ้้องดููด้ว้ ยต้้นเหลืืองไหม ถ้้าต้้นไม่่เหลือื งก็ไ็ ม่่ต้อ้ งใส่”่ แบหะแจงรายละเอีียด นอกจากนี้�แล้ว้ ช่ว่ งที่่�อ้้อยเริ่�มโต ต้้นกำำ�ลังั ขึ้�นเป็น็ ลำำ� ต้อ้ งคอยเด็ด็ เอาใบออก หากปล่อ่ ยทิ้�งไว้จ้ ะมีแี มลงมากัดั กินิ ที่�อื่�นเขาอาจแก้ป้ ัญั หาด้ว้ ยการเผาเพื่�อให้ใ้ บหมด แต่่สำำ�หรัับแบหะ เลืือกที่�จะเดิินแกะเอาใบออกด้้วยมืือของตััวเอง “การเผาอาจจะ ทำำ�ให้้ต้้นอ้้อยลำ�ำ อ่่อนตาย เสี่่�ยงที่่�จะทำำ�ให้้ผลผลิิตลด ควัันจากการเผาก็็เป็็นมลพิิษ” แบหะกล่่าว การปลููกอ้้อยรอบหนึ่�ง ๆ ใช้้เวลาประมาณ 9 เดืือน จึงึ จะสามารถเก็็บผลผลิิต ได้้ แบหะปลูกู อ้อ้ ยในพื้�นที่่� 1 ไร่่ ได้เ้ งินิ จากการลงทุนุ ลงแรงรอบละประมาณ 20,000 - 30,000 บาท รายได้ด้ ัังกล่า่ ว คิดิ เฉลี่�ยเฉพาะอ้อ้ ยที่�ปลููกเองและเอาไปหนีีบน้ำำ��อ้้อย จำำ�หน่่ายเท่่านั้�น หากนัับอ้้อยที่่�รัับซื้�อจากคนอื่�นมาหนีีบขายด้้วย เฉพาะช่่วงเดืือน ถือื ศีลี อดเดืือนเดีียวก็ท็ ำำ�ให้ป้ ีีนี้�เขามีแี ผนจะขยายพื้�นที่�ปลููกอ้้อยเพิ่�มอีกี “ช่ว่ งตลอดเดือื นถือื ศีลี อด เราขายตกอยู่�ที่� 2,000 - 4,000 บาทต่่อวััน ต้อ้ งซื้�้อ อ้อ้ ยที่่�อื่�นมาเสริิม เพราะอ้้อยที่่ต� นปลูกู นั้�นไม่่เพียี งพอ” แบหะเล่่า

68 ครูภมู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

ส่คู วามมั่นคงของครอบครวั

แบหะเล่่าว่่า เขาได้้รัับการแนะนำำ�จากปิิดทองฯ หลาย ๆ อย่่าง โดยเฉพาะ เรื่�องเทคนิิคการขาย ไม่่ว่่าจะเป็็นการให้้ลููกค้้าทดลองชิิมน้ำำ��อ้้อยก่่อนซื้�อ หรืือการ ขายแบบ 10 ขวดแถม 2 ขวด ซึ่�งเทคนิิคดังั กล่่าวก็ไ็ ด้้ผลตอบรัับที่่�ดีี เพราะเมื่�อนำำ�มา ใช้ก้ ็ท็ ำำ�ให้น้ ้ำำ��อ้อ้ ยของเขาได้ร้ ับั การพูดู ถึงึ กันั ปากต่อ่ ปาก ขายดิบิ ขายดีเี ป็น็ เทน้ำำ��เทท่า่ “ในอดตี ชว่ งเดอื นบวช เราไมม่ รี ายไดเ้ ลย กรดี ยางอยา่ งเดยี ว กไ็ มพ่ อ เดอื นบวช ใช้เงนิ เยอะ พอท�ำแบบนีร้ ายไดเ้ พิ่ม ท�ำให้ครอบครัวดขี น้ึ การเป็นอยกู่ ารกินมัน่ คงขึน้ พอเหลอื กไ็ ด้แบ่งปนั ให้คนอื่นบา้ ง” แบหะบอก ขณะที่่�ซารีีปะผู้�เป็็นบุุตรสาวเล่่าว่่า ก่่อนหน้้านี้้�ตััวเธอเองเคยหมดเวลาไปกัับ การขี่�มอเตอร์์ไซด์์เล่่นไปวััน ๆ แม้้จะเห็็นว่่าพ่่อปลููกอ้้อย ก็็ไม่่ได้้สนใจแต่่อย่่างใด เพราะเห็็นว่่าได้้เงิินน้้อย แต่่พอพ่่อมาร่่วมกัับปิิดทองฯ กลัับทำำ�ให้้เธอสนใจการ ปลูกู อ้อ้ ยของพ่อ่ ขึ้�นมา เพราะยิ่�งทำำ�ยิ่่�งรายได้ด้ ีี สามารถสร้า้ งรายได้ห้ ลักั ให้ค้ รอบครัวั จากการขายน้ำำ��อ้อ้ ยได้้ “ปลูกู เอง ขายเอง มันั ดีแี บบนี้�นี่เ� อง” เธอกล่่าว

ความหวังั ความภููมิใิ จ

แบหะบอกว่่า การที่�ได้้ปลููกอ้้อยเองและสามารถทำำ�น้ำำ��อ้้อยขายเองได้้อย่่าง ทุุกวัันนี้้� เป็็นสิ่�งที่�มาไกลเกิินกว่่าที่�ตนเองคาดหวัังไว้้แล้้ว หลัังจากนี้�นอกจากการได้้ ขยายพื้�นที่�ปลูกู อ้้อยเพิ่�มอีกี ไร่่ และมีีลูกู ค้า้ สม่ำำ��เสมออยู่�แบบนี้้� ก็็พอใจแล้้ว อย่่างอื่�น ไม่่ได้ค้ าดหวัังอะไรอีีก “แค่่มีีลูกู ค้า้ มีตี ลาด ก็็พอแล้ว้ ไม่่เอาอะไรแล้ว้ ” แบหะบอก ตั้�งแต่ล่ งมือื ปลูกู อ้อ้ ยจนถึงึ วันั นี้� สิ่�งที่�แบหะภาคภูมู ิใิ จที่่�สุดุ คือื ความตั้�งใจความ ขยััน และการรู้�จักปรัับเปลี่�ยนเรีียนรู้�ของตััวเอง ได้้ก่่อให้้เกิิดผลขึ้�นจริิงๆ เป็็น “ผล” ที่่�ทำำ�ให้แ้ บหะสามารถนำำ�มาดูแู ลครอบครััวและเจือื จุุนคนอื่�น ๆ ได้ต้ ามสภาพ

นายอัับดุลุ วาหะ มะเลาะ อายุุ 57 ปีี หมู่�ที่่� 6 บ้า้ นจำำ�ปูนู ตำำ�บลท่า่ ธง อำ�ำ เภอรามััน จัังหวัดั ยะลา

ครูภมู ิปัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 69

ดอเล๊า๊ ะ มะลีี

โคขุนุ บ้า้ นจำ�ำ ปูนู

“ถ้้าคิิดที่่จ� ะทำำ� ต้อ้ งทำำ�ให้จ้ ริิง แต่่ถ้า้ เราทำำ�ไปแล้ว้ สำำ�เร็็จ หรืือไม่่สำำ�เร็็จ ค่่อยว่า่ กััน เราต้อ้ งทำำ�ให้จ้ ริิงจังั ไว้้ก่อ่ น” 70 ครูภูมิปัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้

บทพิสิ ููจน์์ผู้�ใหญ่บ่ ้้าน

นายดอเล๊๊าะ เริ่�มต้้นชีีวิิตการเป็็นผู้้�นำำ�จากการเป็็นผู้้�ช่่วยผู้�ใหญ่่บ้้าน บ้้านจำำ�ปููน หมู่่� 4 ต่่อมาในปีี 2545 เมื่�อมีีจำำ�นวนประชากรหมู่่�บ้้านเพิ่�มขึ้�น ทางการ ได้แ้ ยกเป็น็ อีกี หมู่่�บ้า้ นหนึ่�ง ซึ่�งก็็คืือ หมู่่� 6 ในปััจจุบุ ััน หลัังการแยกหมู่่�บ้า้ น ชาวบ้้าน เล็็งเห็็นว่่านายดอเล๊๊าะเป็็นผู้้�ที่่�มีีคุุณสมบััติิเหมาะสมที่ �จะเป็็นผู้้�นำำ� จึึงเสนอให้้เป็็น ผู้�ใหญ่บ่ ้้านนัับตั้�งแต่่นั้�นเป็็นต้้นมา ช่่วงที่�เป็็นผู้้�นำำ�ใหม่่ ๆ เป็็นช่่วงที่�เริ่�มเกิิดเหตุุการณ์์ไม่่สงบในสามจัังหวััด ชายแดนใต้้ จึึงเป็็นบททดสอบด่่านแรกของผู้้�นำำ�ที่่�จะต้้องคอยสอดส่่องดููแลให้้ สถานการณ์์ผ่่านพ้้นช่่วงวิิกฤตให้้ได้้ โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งในช่่วงปีี 2547 ผู้้�ใหญ่่ ดอเลาะเล่่าว่่า เป็็นช่่วงที่�กดดัันเป็็นอย่่างยิ่�ง เพราะมีีเหตุุการณ์์ความไม่่สงบเกิิดขึ้�น รอบด้า้ น และหมู่่�บ้้านของตนเป็็นทางผ่า่ นที่�ใครต่อ่ ใครใช้เ้ ส้้นทางจำำ�นวนมาก จึึงต้้อง ขอช่่วยให้้ทุุกคนในชุุมชนผลััดเปลี่�ยนกัันเข้้าเวร และเป็็นหููเป็็นตาคอยสอดส่่องดููแล หากเจอคนแปลกหน้า้ ให้้ประสานงานบอกต่่อ ๆ กันั เพื่�อจะได้้แจ้ง้ ไปทางอำำ�เภอ

นำ�ำ ร่่องเป็็นแบบอย่่างให้เ้ ห็็น

เมื่�อโครงการของปิิดทองหลัังพระฯ เข้้ามาสอบถามชาวบ้้านเพื่�อสนัับสนุุน อาชีีพเสริิมต่่าง ๆ ในหมู่่�บ้้านจำำ�ปููน ผู้้�ใหญ่่ดอเล๊๊าะเล่่าให้้ฟัังว่่า เขาเลืือกที่�จะเสนอ เรื่�องการเลี้�ยงโคขุุน เพราะเห็็นว่่าแต่่เดิิมเกษตรกรเลี้�ยงโคพัันธุ์�พื้�นเมืืองกัันอยู่�แล้้ว เพีียงแต่ป่ ล่่อยให้โ้ คหากิินเองตามท้้องนา โคจึึงไม่ส่ มบูรู ณ์น์ ักั

ครูภมู ปิ ัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 71

“ถามว่่าชอบไหม ไม่่ได้้ชอบเลี้�ยง” ผู้�ใหญ่่บอก “แต่่อยากจะนำ�ำ ร่่องและเลี้�ยง ให้้เป็็นตััวอย่่างให้้กัับชาวบ้้าน อยากให้้คนในชุุมชนเห็็นว่่าการเลี้�ยงแบบมีีระบบ จััดการที่่�ดีีจะนำ�ำ ไปสู่่�กำำ�ไรที่่�สููงขึ้�น ถ้้าเราแค่่บอกชาวบ้้านด้้วยคำำ�พููด ชาวบ้้านก็็ อาจไม่่เชื่อ� เราจึึงทำ�ำ เป็น็ ตััวอย่่างให้เ้ ขาเห็น็ ” กระทั่�งปีี 2561 การเลี้�ยงโคขุุนในบ้้านจำำ�ปููนก็็เกิิดขึ้�นตามที่�ผู้�ใหญ่่เสนอ โดยโครงการปิิดทองหลัังพระฯ สนัับสนุุนทำำ�คอกเลี้�ยงโครวม คอกใหญ่่หนึ่�งคอก แบ่่งซอยคอกเป็็น 15 ช่่อง เพื่�อให้้ชาวบ้้าน 15 คน ที่่�มีีโคนำำ�เข้้ามาเลี้�ยงไว้้ในคอก เดีียวกััน ในปีีเดีียวกััน ทางกลุ่�มได้้รัับสนัับสนุุนพ่่อพัันธุ์�โคขุุนมาให้้ ตอนแรกผู้�ใหญ่่ และผู้�เลี้�ยงโคคนอื่�น ๆ ปล่่อยให้้อยู่�รวมกัับแม่่พัันธุ์�ในคอก แต่่ต่่อมาได้้ปรึึกษากัับ อาจารย์์มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์ ได้้รัับคำำ�แนะนำำ�ว่่า การเลี้�ยงรวมกัันจะทำำ�ให้้ โคขุุนเจริิญเติิบโตช้้า ผู้้�ใหญ่่จึึงนำำ�โคขุุนเพศผู้�มาแยกเลี้�ยงไว้้ที่่�บ้้าน เช่่นเดีียวกัันกัับ เกษตรกรรายอื่�น ปััจจุุบััน ผู้้�ใหญ่่มีีโคขุุนจำำ�นวน 3 ตััว ซึ่่�งเขาบอกว่่า เป็็นจำำ�นวนที่� พอดีกี ัับเวลาและคอกที่่�มีีอยู่�

การเลี้้ย� งโคขุุนต่่างจากโคพื้น�้ เมืือง

การเลี้�ยงโคขุุนอยู่�ในคอก มีีข้้อดีีตรงที่่�สััตว์์เลี้�ยงไม่่ถููกปล่่อยให้้ไปเหยีียบย่ำำ�� พื้�นที่่�ทำำ�นาของชาวบ้้าน ผู้้�ใหญ่่บอกว่่า ตอนนี้้� ชาวนาเริ่�มกลัับมาทำำ�นาปรัังกัันแล้้ว เพราะปััญหานาข้้าวหรืือพืืชผัักถููกเหยีียบย่ำำ��ทำำ�ลายโดยโคพื้ �นบ้้านไม่่รุุนแรงเหมืือน ในอดีีต

72 ครูภูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

นอกจากนี้้� การเลี้�ยงโคแบกแยกคอกที่่�ชัดั เจน มีีการจััดการที่�เป็น็ ระบบ ยัังทำำ� ให้้โคขุุนเจริญิ เติบิ โตเร็็วกว่่าโคพื้�นบ้้าน ผู้�ใหญ่่บอกว่า่ หากเป็น็ ลููกโคขุุนอายุปุ ระมาณ 4-5 เดืือน หรืือ 120 -150 วัันก็็ได้้ขายแล้ว้ แต่่หากเป็น็ โคพื้�นบ้้าน ถ้้าจะขายในราคา เดีียวกัันอาจใช้้ระยะเวลานานกว่่าถึึงสองเท่่า โคขุุนสร้้างรายได้้ที่�เป็็นก้้อนใหญ่่ ผู้�ใหญ่่บอกว่่าขายโคพื้�นบ้้านทั่�วไปขายได้้ตััวละไม่่เกิิน 10,000 บาท แต่่โคขุุนขาย ตััวละประมาณ 15,000 - 16,000 บาท สิ่�งสำำ�คััญของการเลี้�ยงโคขุุน คืือช่่วงที่�โคเริ่�มตั้�งครรภ์์ต้้องดููแลเป็็นพิิเศษ ไม่่ให้้แม่่พัันธุ์์�ที่่�กำำ�ลัังตั้�งท้้องได้้รัับการกระทบกระแทกหนัักๆ เพราะอาจทำำ�ให้้แท้้งได้้ และควรให้้อาหารเสริิมให้้เพีียงพอ สำำ�หรัับผู้�ใหญ่่จะให้้โคกิินอาหารเสริิม 2 วัันต่่อ 1 ครั้�ง ครั้�งละ 1 กิิโลกรััม จนครบอายุคุ รรภ์ ์ 9 เดือื น

ประสบการณ์์ใหม่่ ๆ ที่่ไ� ด้้รับั

ผู้�ใหญ่่ดอเล๊๊าะเล่่าว่่า การเข้้าร่่วมโครงการปิิดทองหลัังพระฯ เป็็นการเปิิด โอกาสตััวเองให้้ได้้รัับความรู้�ใหม่่ ๆ ทั้้�งจากอาจารย์์มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์ และจากหน่่วยงานราชการอย่่าง ปศุุสััตว์์ ผู้้�ใหญ่่บอกว่่า ครั้�งหนึ่�งได้้เข้้าร่่วมอบรม ของโครงการฯ เรื่�องการให้้อาหารแบบไหนไม่่ขาดทุุน และเรื่�องระยะการเป็็นสััด ของโคที่�เหมาะในการผสมพันั ธุ์�เพื่�อให้ต้ ิิดลููก “ความรู้�เหล่่านี้� ก็็เคยได้้ยิินมา แต่่ยิ่่�งมีีอาจารย์์เข้้ามาเพิ่�่มความรู้�ยิ่�งทำ�ำ ให้้ ย้ำำ��ความเข้า้ ใจให้ช้ ััดเจนมากยิ่�่งขึ้�น” ผู้้�ใหญ่่บอก

ครูภมู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 73

นอกจากความรู้�เรื่�องการเลี้�ยงดููโคแล้้ว โครงการฯ ยัังสนัับสนุุนความรู้�เรื่�อง การปลููกหญ้้าเลี้�ยงวััวอีีกด้้วย ผู้้�ใหญ่่เล่่าว่่า “ทางปิิดทองฯ ได้้แบ่่งพื้�นที่่�ที่่�สำำ�นัักงาน ให้้เกษตรกรผู้�เลี้�ยงโคจำำ�นวนครึ่่�งไร่่เพื่่�อปลููกหญ้้า อย่่างผมปลููกหญ้้าเนเปีียร์์และ หญ้า้ อะตราตั้�ม” การแบ่่งพื้�นที่�ให้้ปลููกหญ้้านี้�เอง ที่่�ทำำ�ให้้เกษตรกรมีีหญ้้าให้้โคอย่่างไม่่ ขาดแคลน สำำ�หรัับผู้�ใหญ่ด่ อเล๊๊าะ โคตััวผู้�เขาจะให้ห้ ญ้้าสัับ 2 กิิโลกรัมั คลุุกกับั อาหาร ข้้น 2 กิิโลกรััมต่่อครั้�ง ทุุก ๆ 2 เดืือน ผู้้�ใหญ่่จะตััดหญ้้าที่�ปลููกเอาไว้้เพื่�อนำำ�มาสัับ แล้้วหมัักเก็็บไว้้ในถัังปิิดสนิิท ค่่อย ๆ ทยอยเอาออกมาให้้โคในแต่่ละมื้�อ หากอััด หญ้้าให้้แน่่น หมัักโดยไม่่ให้้มีีอากาศเข้้า สามารถเก็็บหญ้้าได้้นานเป็็นปีี สิ่่�งเหล่่านี้้� ได้ม้ าเพราะโครงการฯ เข้้ามาแนะนำำ�

จากนำำ�ร่อ่ ง สู่่�ความชอบธรรม

ผู้�ใหญ่่บอกว่่า การจะมีีกำำ�ไรหรืือขาดทุุนจากการเลี้�ยงโคขุุนนั้�น อยู่�ที่�คน เลี้�ยงเป็็นหลััก หากเลี้�ยงแล้้วดููแลอย่่างดีี ให้้อาหารที่่�มีีผลต่่อการเจริิญเติิบโตอย่่าง ถููกต้อ้ ง ก็ไ็ ม่ม่ ีที างขาดทุุน “อย่่างผม ซื้้�อโคมา 21,000 บาท ขุุนเลี้�ยงอย่่างดีี 4 เดืือน ขายออกได้้ 30,000 บาท หักั ค่่าอาหาร 4,700 บาท ที่่เ� หลืือก็เ็ ป็น็ กำ�ำ ไร” จากตอนแรก ที่�เลี้�ยงเพียี งเพราะอยากทำำ�ให้เ้ ป็น็ แบบอย่า่ งให้ก้ ับั คนในหมู่่�บ้า้ น แต่่พอเลี้�ยงมาเรื่�อย ๆ ผู้�ใหญ่่พบว่่า ปััจจุุบัันพบว่่าตััวเองเริ่�มชอบการเลี้�ยงโคมากขึ้�น

74 ครภู มู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

“เวลาเห็็นเขากิินหญ้้าจนอิ่�่มแปล้้ เราก็็มีีความสุุขตามไปด้้วย พอเลี้�ยง นาน ๆ เข้้า ก็็เกิิดความผููกพััน เวลาขายก็็ไม่่อยากขาย แต่่ไม่่รู้�จะทำ�ำ ไง ต้้องทำ�ำ ใจ อย่า่ งเดีียว เพราะเราต้้องนำ�ำ เงิินมาทำำ�ทุุนมาต่อ่ ” ผู้�ใหญ่่บอก

อนาคตที่่�วาดหวััง

ในอนาคตอัันใกล้้ ผู้้�ใหญ่่หวัังเอาไว้้ว่่า จะขยายการเลี้�ยงโคขุุนเพิ่�มขึ้�นเป็็น 6 - 7 ตัวั เพื่�อให้คุ้้�มกับั เวลาและจะได้้มีรี ายได้ท้ี่�มั่�นคงขึ้�น นอกจากนี้้� เขายัังมั่�นใจว่า่ สมาชิิกผู้�เลี้�ยงโคขุุนทั้�ง 5 คน จะสามารถเพิ่�มจำำ�นวนโคขุุนของแต่่ละคนได้้ขึ้�นอีีก เพราะที่่�ผ่่านมาทุุกคนใส่่ใจดููแลในการเลี้�ยงโคขุุนเป็็นอย่่างดีี ที่่�สำำ�คััญ ตอนนี้้�ทุุกคน มีีประสบการณ์์และความรู้�ในการเลี้�ยงโคขุุนเพิ่�มขึ้�น สามารถเลี้�ยงโคในปริิมาณที่่� มากกว่า่ เก่่าได้อ้ ย่่างสบาย “อยากให้้คนในหมู่่�บ้้านหัันมาเลี้�ยงโคขุุนกัันเพิ่�่มขึ้�น เพราะถ้้าเราเลี้�ยงมััน อย่่างดีีและค่่อย ๆ พััฒนา มัันก็็จะทำ�ำ ให้้เกิิดรายได้้ที่่�เลี้�ยงตััวเองเลี้�ยงครอบครััวได้้ แถมยัังเป็็นอาชีีพที่่�ทำำ�กัันในพื้�นที่่�หมู่่�บ้้าน ไม่่ต้้องออกไปเครีียดกัับการทำ�ำ งาน ในที่่�อื่น� ๆ” ผู้�ใหญ่ด่ อเล๊า๊ ะทิ้�งท้า้ ย

นายดอเล๊๊าะ มะลีี อายุุ 54 ปีี หมู่� 6 บ้า้ นจำ�ำ ปูนู ตำ�ำ บลท่่าธง อำำ�เภอรามััน จังั หวัดั ยะลา

ครูภูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 75

คอลีเี ยาะ สามอ

แม่ค้าผักปลอดสาร

“หัวั ใจสำำ�คัญั ของการปลูกู ผััก คืือถ้้าพลาดแล้้ว ต้้องสร้า้ งกำำ�ลัังใจในการลุุกขึ้้น� ทำ�ำ ต่อ่ ”

76 ครภู ูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

เคยหลงผิิด คิดิ แต่อ่ ยากขาย

อาชีีพหลัักของคอลีีเยาะคืือกรีีดยางและทำำ�นาปลููกข้้าวไว้้กิินในครอบครััว เวลาว่า่ งจะปลูกู ผักั ปลูกู แตงโมหลังั ฤดูกู าลทำำ�นา และค้า้ ขายเป็น็ อาชีพี เสริมิ เธอบอก ว่่า อาชีพี ค้้าขายของเธอเริ่�มจากขายผักั และแตงโมที่�ปลููก และเพื่�อให้ผ้ ัักและแตงโม ขายดีี เธอจึึงระดมใช้้สารเคมีใี นการบำำ�รุงุ พืืชผัักเพื่�อให้อ้ อกมาสวย “ปลูกู แบบไม่ม่ ีคี วามรู้� คิิดแต่อ่ ยากได้ผ้ ักั ที่่ส� วย ๆ เพื่่อ� จะได้ข้ ายง่า่ ย ๆ” เธอบอก แต่่บางปีีเธอก็็ต้้องประสบปััญหา เพราะแม้้จะระดมใช้้สารเคมีีแค่่ไหน ก็็ไม่่ สามารถเก็็บเกี่�ยวผลผลิิตได้้ เนื่�องจากน้ำำ��ท่่วมแปลงพืชื ผัักจนเน่่าเสีียหาย “ปลูกู เสร็จ็ ฝนตกลงหนักั ๆ น้ำำ��ก็ท็ ่ว่ มแปลง เราก็ไ็ ด้แ้ ต่น่ั่่ง� ดูู ทำ�ำ อะไรไม่ไ่ ด้”้ เธอเล่า่ กระนั้�น คอลีเี ยาะวนเวีียนอยู่่�กัับการปลูกู ผััก ปลููกแตงโม อยู่�แบบเก่า่ มาอย่า่ ง ยาวนาน

เมื่่�อเข้า้ ร่่วมโครงการฯ

ปีี พ.ศ. 2558 โครงการปิดิ ทองหลังั พระฯ เข้า้ มาส่่งเสริมิ อาชีพี เสริิมในหมู่่�บ้้าน คอลีีเยาะเข้้าร่่วมโครงการฯ ตั้้�งแต่่ครั้�งนั้�น โดยเข้้าร่่วมทำำ�แปลงสาธิิตการปลููกผััก ผสมผสานปลอดสารพิษิ และได้้รัับเลือื กให้้ เป็น็ ประธานกลุ่�มปลูกู ผััก ช่่วงแรกก็็มีคี นเข้า้ ร่ว่ มโครงการปลูกู ผััก ประมาณ 20 คน แต่่ด้ว้ ยพื้�นที่่�มีีจำำ�กัดั แต่่ละคนได้้พื้�นที่�ปลููกไม่่มาก และพื้�นที่�ปลููกผัักในแปลงสาธิิตก็็ห่่างไกลจากพื้�นที่�

ครูภมู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 77

ชุุมชน ทำำ�ให้้บางคนที่�อยู่�ไกลจากพื้�นที่�เพาะปลููกไม่่อยากทำำ�ต่่อ เพราะเห็็นว่่าไม่่ คุ้ �มกัับการเสีียเวลาและค่่าน้ำำ��มัันรถที่่�ต้้องขัับมาปลููกผััก สุุดท้้ายจึึงเหลืือสมาชิิก เพียี งแค่่ 4 - 5 คน ที่่�ยัังทำำ�ต่่อ “เราก็อ็ ยู่�ไกล แต่ค่ ิิดว่า่ ไม่เ่ ป็น็ ไรถ้า้ เสียี ค่า่ น้ำำ��มันั มาแล้ว้ ได้ค้ วามรู้�เพิ่ม�่ ” เธอบอก ผักั ที่�เธอและสมาชิกิ ที่�เหลือื ปลูกู คือื ผักั บุ้�ง ผักั คะน้า้ ผักั กวางตุ้�ง พริกิ แตงกวา ฯลฯ แต่่ของเธอจะเน้น้ ที่่�ผัักบุ้�ง เพราะขายง่่าย ต่่อมามีีการย้้ายแปลงปลููกผัักไปแห่่งใหม่่ที่�กว้้างขวางกว่่าที่�เดิิม จึึงทำำ�ให้้ เพื่�อนสมาชิิกที่�เคยออกไปก็็กลับั เข้้ามาร่ว่ มเพาะปลููกด้ว้ ยอีกี รอบ ส่ว่ นคอลีเี ยาะเอง เธอมีีพื้�นเพาะปลููกในพื้�นที่�ใหม่่นี้้�จำำ�นวน 4 แปลง โดยแบ่่ง ชนิดิ พืชื ที่�ปลูกู ออกเป็น็ แปลงแรกปลูกู พริกิ ถัดั มาอีกี แปลงปลูกู แตงโม อีกี สองแปลง ที่�เหลือื ปลูกู ฟักั ทองลายทอง เธอบอกว่า่ หากมีกี ารปลููกใหม่ใ่ นแต่ล่ ะรอบ เธอจะปลููก สลับั หมุุนเวีียนพืืชทั้�ง 4 ชนิดิ นี้้�กันั ทุกุ ๆ แปลง เพื่�อไม่ใ่ ห้ด้ ิินเสื่�อมสภาพ “โครงการเขาจะเน้น้ ให้ป้ ลูกู ให้ห้ ลากหลาย อย่า่ ปลูกู ซ้ำ�ำ � ๆ ตามกันั เพื่่อ� จะได้้ ขายง่่าย แปลงหนึ่�่ง ๆ ก็็ไม่่ควรปลููกพืืชเดิิม ๆ ต่่อเนื่่�องกัันหลายรอบ เพราะมัันจะ หมดแร่ธ่ าตุุ ผักั เจริิญเติิบโตไม่ส่ มบูรู ณ์”์ เธอย้ำำ��

78 ครภู มู ิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

ผัักปลอดสารพิษิ นำำ�ช่่องทางตลาดมาให้้

คอลีีเยาะเล่่าว่่า โครงการปิิดทองหลัังพระฯ จะเน้น้ ให้ล้ ดรายจ่า่ ย เพิ่�มรายได้้ เข้้ามาในครััวเรืือน เธอจึึงต้้องเรีียนรู้�วีธีีการทำำ�ปุ๋๋ย� หมักั เพื่�อใช้้ในการบำำ�รุุงพืชื ผักั แทน การซื้�อปุ๋๋ย� เคมีแี ละยากำำ�จัดั ศัตั รูพู ืชื ผลที่�เกิดิ ขึ้�นจากการหันั มาปลูกู ผักั ปลอดสาร ทำำ�ให้้ เธอสามารถส่่งขายประจำำ�ที่่�โรงพยาบาลได้ ้ “ดีใี จที่่เ� ราทำ�ำ ผักั ได้ส้ วยและปลอดภัยั เดิิมขายผักั ได้แ้ ค่ต่ ลาดในหมู่่�บ้า้ น หรือื ร้้านก๋๋วยเตี๋๋�ยวเท่่านั้�น ตอนนี้้�ส่่งผัักให้้กัับโรงพยาบาลมาแล้้ว 2 ปีี ปิิดทองฯ เขา ช่ว่ ยประสานให้”้ เธอเล่่าด้้วยความภูมู ิิใจ นอกจากโครงการปิิดทองหลัังพระฯ จะเป็็นผู้�หาช่่องทางการตลาดให้้ทั้�งที่� โรงพยาบาลแล้้ว ยัังประสานงานให้้เกษตรผู้ �ปลููกผัักได้้นำำ�ผัักไปขายตามงาน ต่่างๆ อีีกด้้วย ครั้�งแรกที่�ได้้นำำ�ผัักไปขายคืือที่�งานเปิิดตลาดใหม่่ที่�โกตาบารูู ซึ่่�งมีี นายอำำ�เภอเป็็นประธานเปิิดงาน การไปขายผัักครั้�งนั้�น ยัังทำำ�ให้้เจ้้าหน้้าที่�ทาง โรงพยาบาลและเจ้า้ หน้า้ ที่่�อำำ�เภอได้้รู้�จักผักั จากบ้้านจำำ�ปููนมากขึ้�น ช่ว่ งแรก ๆ โครงการปิดิ ทองหลังั พระฯ สนับั สนุนุ ค่่าน้ำำ��มัันให้เ้ นื่�องจากเกรงว่่า เธอจะขายไม่ไ่ ด้แ้ ละไม่่มีกี ำำ�ไร ตอนนี้�เธอบอกว่า่ ไม่่ต้้องให้้แล้ว้

ครภู มู ิปัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 79

“ทุุกวัันนี้� ขายที่่�ตลาดในหมู่่�บ้้าน 2 วััน คืือวันั อัังคารกับั วัันศุกุ ร์์ ส่่วนวันั จัันทร์์ กัับวัันพฤหััสบดีีจะไปขายที่่�ตลาดสดรามััน” เธอบอก ไม่่ใช่่ขายเฉพาะผัักของ ตนเองเท่่านั้�น เธอรัับซื้�อผัักของเพื่�อนสมาชิิกไปขายด้ว้ ย “รัับซื้อ้� ของเพื่่อ� นในราคา 20 บาท ไปขายราคา 30 - 35 บาท ส่่วนแตงกวา รัับซื้้อ� 15 บาท ไปขาย 25 บาท ราคาที่่�ตั้�ง ก็็ดููจากที่่�ซื้อ�้ มาเป็็นหลัักว่า่ ซื้อ�้ มาเท่่าไหร่่” เธอแจงรายละเอียี ด เธอบอกว่่า บางครั้�งจะสอบถามราคากลางกัับผู้�ใหญ่่บ้้าน เพื่�อให้้ตรงหรืือ ใกล้้เคีียงกัับราคาตลาดข้้างนอกที่�ซื้�อ เพื่�อให้้ความเป็็นธรรมกัับเพื่�อนสมาชิิก ที่่�ผ่่าน มาทุุกคนจะเข้้าใจในราคาที่่�รัับซื้ �อและราคาที่ �เธอนำำ�ไปขายต่่อ “เราต้้องเอากำำ�ไรบ้้าง เพื่่อ� นก็็เข้า้ ใจ เพราะสำำ�หรัับเขา แค่ม่ ีีคนซื้อ้� ก็พ็ อใจแล้ว้ การที่่�เรารัับซื้้�อแบบนี้้�ก็็ดีีนะ ทำ�ำ ให้เ้ ขาก็ข็ ยันั ขึ้�น” เธอกล่า่ ว ปััจจััยสำำ�คััญที่่�ทำำ�ให้้ทุุกวัันนี้�คอลีีเยาะมีีลููกค้้าเพิ่�มขึ้�นเรื่�อย ๆ เธอบอกว่่า ก็็เพราะผัักของเธอไม่่ใช้้สารเคมีี ช่่วงแรกอาจมีีคนไม่่เชื่�อบ้้าง แต่่เมื่�อเธอย้ำำ��ว่่าเป็็น ผักั ในโครงการของปิดิ ทองฯ ผู้�คนก็็เชื่�อมั่�นขึ้�น “ถ้้าเราใช้้สารเคมีี ทางโครงการฯ เขาก็็ไม่่ให้้เราเข้้าร่่วม เราบอกกัับลููกค้้า แบบนี้�” เธอบอกถึึงจุุดขายของตััวเอง

ชีวี ิิตดีขี ึ้้�น

ปััจจุุบััน คอลีีเยาะมีีรายได้้จากการปลููกผัักขายเองและรัับซื้�อผัักไปขาย ประมาณ 2,000 บาทต่่ออาทิิตย์์ ขายได้้มากสุุด 4,000 บาทต่่ออาทิิตย์์ น้้อยสุุด ประมาณ 1,000 - 1,500 บาท ขึ้�นอยู่่�กัับว่่านำำ�ผักั ไปขายที่�ไหน เช่่น ถ้้าไปขายตลาด ข้า้ งนอกจะได้้เยอะกว่า่ ขายในหมู่่�บ้้าน เพราะขายในหมู่่�บ้า้ นมีีทั้�แจกทั้�งแถม คอลีีเยาะบอกว่่า เธอภููมิิใจที่่�ปััจจุุบัันตััวเองขายของเก่่งขึ้�น มีีเทคนิิคการขาย ที่�สามารถเรีียกลููกค้้าไปเพิ่�มขึ้�น ทุุกวัันนี้้� คอลีีเยาะยอมรัับว่่าเธอและครอบครััวมีี ชีีวิิตดีีที่่�ดีีขึ้�น เพราะมีีรายได้้เพิ่�มเข้้ามาในครอบครััวสม่ำำ��เสมอ สามารถส่่งลููก 3 คน เรียี นหนังั สืือได้้

80 ครภู มู ิปัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

อนาคตอยู่ �ที่ �ทุุกคน

ในอนาคต คอลีเี ยาะยังั มุ่�งมั่�นที่�จะปลูกู และช่ว่ ยสมาชิกิ ขายผักั ต่อ่ ไป นอกจาก นี้�แล้้ว ในเวลาอัันใกล้้ เธอหมายมั่�นที่�จะขยายอาชีีพไปสู่�การเลี้�ยงโคขุุนและแพะ อีีกด้้วย สำำ�หรัับกลุ่�มปลููกผัักนั้�น เธอมั่�นใจว่่าอีีก 3-4 ปีี ข้้างหน้้านี้�กลุ่�มจะมีีความ เข้้มแข็็งและเดิินหน้้าเองต่่อไปได้้โดยไม่่มีีพี่�เลี้�ยง แต่่ทั้�งนี้�ทั้�งนั้�นต้้องอยู่�ที่�สมาชิิกว่่า จะร่่วมด้ว้ ยช่่วยกันั แค่่ไหน “อนาคตของกลุ่�มไม่่ได้้อยู่�ที่�เราคนเดีียว สมาชิิกคนอื่�นๆก็็ต้้องเรีียนรู้�และ พััฒนาอย่า่ งจริิงจังั ด้ว้ ย” เธอสรุุป

นางคอลีีเยาะ สามอ อายุุ 48 ปีี หมู่� 6 บ้า้ นจำำ�ปูนู ตำำ�บลท่่าธง อำ�ำ เภอรามััน จังั หวััดยะลา

ครูภูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 81

ไสว คงเทพ

ผัักปลอดภัยั บนดิินทรายสีขี าว

82 ครูภูมิปัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

“ลุงุ นึกึ ถึึงรััชกาลที่่� 9 ที่่อ� อกความคิิดนี้้ม� า ทำ�ำ ไมคนไม่ท่ ้้อ ทำำ�ไมเขาทำ�ำ ได้้ เราก็็มีีมือื มีตี ีีน ถ้้าเราท้้อ ลูกู หลานหรืือชาวบ้้าน

จะเห็น็ ตััวอย่่างที่่ด� ีไี ด้้จากที่่ไ� หน”

รอนแรมจากถิ่่�นอีีสาน

ถิ่�นฐานบ้้านเกิิดของไสว คงเทพ หรืือ “ลุุงไสว” คืือจัังหวััดศรีีสะเกษ ใน วััยหนุ่ �มลุุงไสวประกอบอาชีีพรัับจ้้างทั่ �วไป ชีีวิิตระหกระเหิินจนมาพบกัับภรรยา ที่่�จัังหวััดยะลา เมื่�อแต่่งงานมีีครอบครััว เปลี่�ยนอาชีีพมาทำำ�สวนยางอยู่�ในพื้�นที่� นิิคมสร้า้ งตนเองพััฒนาภาคใต้้ เขื่�อนบางลาง จังั หวััดยะลา กระทั่�งมีีการจัดั สรรพื้�นที่� ทำำ�กินิ ใหม่ข่ องนิิคมสหกรณ์์บาเจาะ ลุงุ ไสวและครอบครัวั จึงึ ย้า้ ยมาทำำ�สวนปาล์์มบน พื้�นที่�ที่�ได้้รัับจััดสรรจำำ�นวน 20 ไร่่ ในตำำ�บลโคกเคีียน จ.นราธิวิ าส นอกจากทำำ�สวนแล้้ว ลุุงไสวยัังมีีฝีีมืือด้้านช่่าง ด้้วยความสามารถดัังกล่่าว ทำำ�ให้้ลุุงไสวมีีโอกาสเข้้าทำำ�งานเป็็นลููกจ้้างประจำำ�ของนิิคมอุุตสาหกรรมบาเจาะ ในตำำ�แหน่่งช่่างทั่�วไป ตลอดระยะเวลาที่�เป็็นลููกจ้้างของนิิคมบาเจาะ ลุุงไสวทำำ� การเกษตรควบคู่่�กัันไปด้้วย ทั้้�งการปลููกพืืชผัักหลากหลายชนิิด การทำำ�สวนปาล์์ม น้ำำ��มันั และการเพาะเห็ด็ ฟางจากทลายปาล์ม์

การเริ่่�มต้้นบนผืืนดินิ สีขี าว

จากพื้�นฐานที่�ปลููกผัักไว้้กิินเองอยู่�แล้้ว เมื่�อปีี 2530 มีีหน่่วยงานรััฐหลาย หน่่วยงานเข้้ามาส่่งเสริิมการทำำ�เกษตรตามหลัักทฤษฎีีใหม่่ ทั้้�งการสนัับสนุุนความรู้ � และอุปุ กรณ์ ์ นับั แต่น่ั้�นมาลุงุ ไสวก็ม็ุ่�งมั่�นทำำ�การเกษตรตามแนวทางดังั กล่า่ ว จนแปลง ปลูกู ผัักของลุงุ ไสวได้้รัับการยกย่อ่ งให้เ้ ป็น็ แปลงสาธิิตให้ก้ ับั เกษตรกรคนอื่�นๆ

ครูภูมปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 83

ลุุงไสว เล่่าว่่า แต่่ก่่อนสภาพดิินในพื้�นที่่�ที่่�ทำำ�กิินอยู่�นี้� เป็็นดิินทรายสีีขาว เพาะปลููกไม่่ได้้ มีีคนย้้ายเข้้ามาต่่างก็็หนีีหาย แต่่ท่่ามกลางข้้อจำำ�กััดดัังกล่่าว ลุุงจึึง แก้้ปััญหาด้้วยการเพาะเห็็ดฟางจากทะลายปาล์์มเป็็นเบื้�องต้้น เมื่�อเห็็ดหมด ผลผลิิตก็็นำำ�ทะลายปาล์์มมาทำำ�ปุ๋๋�ยปรัับสภาพดิิน โดยใช้้ร่่วมกัับน้ำำ��หมัักชีีวภาพ ที่�กรมพัฒั นาที่่�ดิินเข้้ามาส่ง่ เสริมิ ทำำ�อยู่�ราว 3 - 4 ปีี สภาพดินิ ก็ด็ ีีขึ้�น

ปิิดทองฯ เปิิดทาง

เมื่�อปีี 2559 สถาบัันอิิสลามศึึกษา มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์ (ปััตตานีี) จััดประชุุมเรื่�องการส่่งเสริิมการทำำ�เกษตรแบบเศรษฐกิิจพอเพีียง ลุุงไสวเข้้าร่่วม ประชุมุ ในครั้�งนั้�นด้ว้ ย แม้เ้ รื่�องที่�ประชุมุ จะเป็น็ เรื่�องที่่�ทำำ�และมีพีื้�นฐานอยู่�แล้ว้ แต่ด่ ้ว้ ย ความสนใจใคร่่รู้�ในประสบการณ์์ใหม่่ ๆ ลุุงไสวจึึงกระตืือรืือร้้นกัับการแลกเปลี่�ยน ความคิิดเห็น็ และซึึมซับั ความรู้�จากการประชุมุ อย่า่ งเต็็มที่� การประชุุมครั้�งนั้�นนั่�นเองที่�เปิิดโอกาสให้้ลุุงไสวได้้รู้�จัักกัับโครงการปิิดทอง หลังั พระฯ เป็น็ ครั้�งแรก ลุงุ บอกว่่าในการประชุมุ วันั นั้�นมีีชาวบ้้านเข้้าร่ว่ มราว 50 คน ส่่วนใหญ่่มีีอาชีีพทำำ�สวนปาล์์มในพื้�นที่่�จััดสรรของนิิคมอุุตสาหกรรมบาเจาะ และ ปลููกพืืชผัักเล็็ก ๆ น้้อย ๆ ไว้้กิินเอง เมื่�อทุุกคนได้้รู้�จักกัับโครงการปิิดทองหลัังพระฯ ก็ท็ ำำ�ให้เ้ ริ่�มเกิดิ มุุมมองใหม่่ ๆ ต่่ออาชีีพที่่�ตััวเองทำำ�อยู่� หนึ่�งเดืือนต่่อมา โครงการฯ นำำ�ลุุงไสวและชาวบ้้านหลายสิิบคนไปศึึกษา ดููงานการทำำ�เกษตรในหลาย ๆ พื้้�นที่่� ทั้้�งจัังหวััดพััทลุุง นครศรีีธรรมราช พิิษณุุโลก นครราชสีีมาลุุงเล่่าว่่า บางแห่่งมีีการเลี้�ยงปลา โดยมีีการปลููกผัักไว้้รอบ ๆ ขอบบ่่อ

84 ครูภูมปิ ัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

เพื่�อใช้้พื้�นที่�ให้้คุ้�มค่่าและสามารถเข้้าถึึงน้ำำ��ได้้อย่่างสะดวก ขณะที่�พื้�นที่�ไม่่ไกลจาก บ่อ่ ก็็จัดั สรรไว้้เลี้�ยงวััว เลี้�ยงไก่่ เลี้�ยงผึ้�ง และปลููกพืืชผัักอื่�น ๆ อย่า่ งหลากหลายและ ครบวงจร ซึ่่�งเป็็นประสบการณ์์ที่�ได้้ประโยชน์์มาก แต่่สิ่�งที่�ประทัับใจที่่�สุุดในการเดิิน ทางไปศึึกษาดููงานในครั้�งนั้�นคืือ ได้้เรีียนรู้�การทำำ�น้ำำ��ส้้มควัันไม้้ ที่่�สามารถนำำ�มาฉีีด รดผัักเพื่�อไล่่แมลง และการทำำ�ปุ๋๋�ยหมักั จากอินิ ทรียี ์ส์ ารต่่าง ๆ “ถ้้าใช้้ปุ๋�ยเคมีี มัันก็็จะยิ่�่งทำ�ำ ให้้เพิ่่�มต้้นทุุน อย่่างน้ำำ��ปุ๋๋�ยหมัักของลุุง ปลาแค่่ กิิโลกรััมละแปดถึึงสิิบบาท กากน้ำำ��ตาลถัังละหนึ่�่งถึึงสองถึึงสามร้้อยบาท ก็็สามารถ ผลิิตน้ำำ��ปุ๋๋�ยได้อ้ ย่า่ งเหลือื เผืือ” ลุงุ ไสวกล่่าวอย่า่ งภาคภูมู ิใิ จ

การเรีียนรู้้�ด้ว้ ยหััวใจ

ในการปลููกพืืชผััก ปััญหาที่�เกษตรกรทุุกคนต้้องเจอคืือหนอนหรืือแมลงที่� เข้้าทำำ�ลายพืืชผล บางทีีการใช้้อิินทรีีย์์สารก็็อาจเอาไม่่อยู่่� วิิธีีการแก้้ปััญหาดัังกล่่าว ลุุงไสวบอกว่่า บางครั้�งต้้องเว้้นช่่วงหรืือสลัับปลููกกัับพืืชอื่�น ๆ หากจะแก้้ปััญหา ด้้วยการสลัับพืืชปลููก จะต้้องหัันไปปลููกพืืชที่�ไม่่ได้้ต้้องการก้้านใบเป็็นผลผลิิต แต่่ ต้อ้ งเป็็นพืชื ที่�ปลููกเพื่�อเอาผล พวกฟักั เขียี วหรือื ฟักั ทอง เป็็นต้้น “ผัักที่่�ลุุงชอบเอามาสลัับปลููกในแปลง คืือฟัักเขีียว ฟัักทอง เพราะดููแล ง่่ายกว่่าพวกกวางตุ้�งและคะน้้าเยอะ แมลงก็็น้้อย ไม่่ค่่อยมีีโรค ขายง่่าย ราคา ไม่่ค่่อยตก” ลุุงไสวยืนื ยันั ลุุงไสวบอกอีีกว่่า การปลููกผัักให้้ได้้ผลดีีนั้�น ต้้องเอาใจใสตลอดเวลา หาก ละเลยเพีียงช่่วงไม่่กี่่�วััน ก็็อาจถููกแมลงบุุกรุุกทำำ�ลายเอาง่่าย ๆ ลุุงไสวก็็เคยประสบ ปััญหาดัังกล่่าว 2 - 3 ครั้�ง เพราะมััวแต่่ยุ่�งอยู่่�กัับอย่่างอื่�นจนไม่่มีีเวลาดููแลผัักเท่่า ที่�ควร ผ่่านไปเพีียง 4 - 5 วััน ผัักคะน้า้ กับั กวางตุ้�งที่�ปลูกู ไว้้ก็เ็ สีียหายยัับเยินิ ลุุงไสว จึึงพยายามเรีียนรู้�วิธีีแก้้ปััญหาที่�เกิิดขึ้�นในแต่่ละครั้�ง กระทั่�งกลายเป็็นผู้้�มีีภููมิิรู้�ใน การปลูกู ผัักปลอดสารพิิษที่่�ชำำ�นาญที่่�สุุดคนหนึ่�ง ในพื้�นที่�และละแวกใกล้เ้ คีียง “ถ้้าเราเบื่่อ� หรืือปลููกทิ้�งปลูกู ขว้า้ ง สักั พักั แมลงจะลง ต้้องคิิดไว้เ้ สมอว่า่ ไหน ๆ ลุุงก็็เลืือกมาทางนี้�แล้้ว จะเบื่่�อหรืือหนีีไปปลููกพืืชแบบใช้้สารเคมีีไม่่ได้้ อย่่างน้้อย ๆ ลุุงก็็จะมีีผัักปลอดสารพิิษกิินในครััวเรืือน มากไปกว่่านั้�น คนที่่�ซื้้�อผัักลุุงไปก็็จะได้้ กิินผักั ที่่ป� ลอดภัยั ” ลุงุ ไสวกล่า่ ว

ครภู ูมปิ ัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 85

การเปลี่่�ยนแปลงที่่�ไม่่เปลี่่ย� นไป

หลัังโครงการปิิดทองหลัังพระฯ เข้้ามาร่่วมงานกัับผู้�คนในชุุมชน เกิิดการ เปลี่�ยนแปลงในทางที่่�ดีขีึ้�นหลาย ๆ ด้า้ น ทั้�งด้า้ นแหล่ง่ น้ำำ��ใช้ใ้ นการเกษตร ที่�โครงการฯ เข้้ามาร่่วมขุุดเจาะ ปรัับปรุุง และสร้้างระบบน้ำำ��ในพื้�นที่�แปลงรวมของชุุมชน ช่่วย ประสานงบประมาณในการสร้้างโรงเรืือนปลููกผัักจากหน่่วยงานอื่ �นให้้กัับเกษตรกร ที่�สนใจ ขยัันหมั่�นเพีียร และพร้อ้ มยอมรัับกติกิ าของกลุ่�ม ตั้�งแต่่โครงการเข้้ามา ลุุงไสวและเพื่�อนเกษตรกรอีีกหลายคน มีีแปลงเกษตร รวม 12 ไร่่ และได้้รัับการยกระดัับให้เ้ ป็น็ ศูนู ย์เ์ รียี นรู้�เศรษฐกิิจพอเพีียงบ้้านฮูแู ตทูวู อ ภายใต้้ชื่�อ “สวน&ไร่่” ในศููนย์์ฯ มีีการจััดอบรมให้้ความรู้�ในเรื่�องการทำำ�เกษตร แบบเศรษฐกิิจพอเพีียงอย่่างสม่ำำ��เสมอ ลุุงไสวคืือหนึ่ �งในวิิทยากรที่ �คอยถ่่ายทอด องค์ค์ วามรู้�ในการเพาะปลูกู ให้ก้ ัับผู้�ที่�สนใจ รายได้ท้ี่�ได้จ้ ากการขายผััก ลุงุ ไสวบอกว่่า ตกประมาณ 1,000 - 2,000 บาท ต่่อสััปดาห์์ ซึ่่�งแม้้จะเป็็นอาชีีพเสริิมแต่่ก็็ทำำ�ให้้มีีรายได้้ทุุก ๆ วััน อย่่างน้้อย ๆ ก็็ วันั ละ 70 บาท แต่แ่ ม้จ้ ะมีรี ายได้เ้ พิ่�มขึ้�น ลุงุ ไสวก็ย็ ืืนยัันว่่า รายได้ด้ ังั กล่า่ วจะไม่พ่ อ และไม่เ่ หลืือ ถ้า้ ไม่ล่ ดค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยในครอบครัวั ร่่วมด้ว้ ย “ดีีที่่�การทำำ�การเกษตรแบบนี้้�ทำ�ำ ให้้ลุุงไม่่ต้้องเสีียเงิินไปซื้�้อหามากิิน มัันก็็ เลยทำ�ำ ให้้รายจ่่ายลดอััตโนมััติิ ทุุกวัันนี้� ลุุงมีีหลัักคิิดในการดำำ�รงชีีวิิตคืือทำำ�ในสิ่่�งที่่� ชอบ ไม่เ่ บียี ดเบีียนผู้�อื่�น ได้้เท่า่ ไหร่่เอาเท่า่ นั้�น และต้้องรู้�จักพอเพียี ง” ลุุงไสวกล่่าว

ความภาคภูมู ิใิ จ 3 ประการ

จากอาชีีพรัับจ้้างทั่�วไป มาเป็็นช่่าง และกลายเป็็นเกษตรกรตััวอย่่างที่�เดิิน ตามหลักั เศรษฐกิิจพอเพียี งอย่่างทุกุ วัันนี้� สิ่�งที่่�ลุงุ ไสวภาคภููมิใิ จมาก ๆ มีอี ยู่� 3 อย่่าง นั่�นก็็ หนึ่�งการได้้ทำำ�หน้้าที่่�วิิทยากรให้้ความรู้้�ด้้านการเกษตรให้้กัับคนอื่�น ๆ สองการ เป็็นส่่วนหนึ่�งที่่�ทำำ�ให้้แปลงปลููกผัักของกลุ่�มกลายเป็็นแปลงตััวอย่่าง และสาม สามารถแก้ป้ ััญหาดิินเปรี้�ยวในสวนปาล์์มด้้วยตััวเอง ลุงุ ไสว รู้้�ดีวี ่า่ ตัวั เองไม่ไ่ ด้เ้ รียี นจบสูงู ต้น้ ทุนุ ชีวี ิติ ก็ต็ ่ำำ�� แต่พ่ อวันั หนึ่�งตัวั เองกลาย เป็น็ วิทิ ยากรที่�สามารถให้ค้ วามรู้�แก่ค่ นอื่�น ๆ ได้ ้ ถือื เป็น็ สิ่�งมหัศั จรรย์อ์ ย่า่ งหนึ่�งของชีวี ิติ

86 ครูภูมปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

ขณะที่่� ความภููมิิใจในการเป็็นส่่วนหนึ่�งในการยกระดัับแปลงปลููกผัักของ กลุ่ �มจนกลายเป็็นแปลงตััวอย่่างของสามจัังหวััดชายแดนใต้้นั้ �น ทำำ�ให้้ลุุงไสวได้้พบ กัับผู้�คนหลากหลายที่�เข้้ามาศึึกษาเรีียนรู้� ทั้�งยัังทำำ�ได้้ออกรายการทีีวีีต่่าง ๆ จนกลุ่�ม ปลููกผักั มีชีื่�อเสีียง

อนาคตที่่�วาดหวังั

ในอนาคต ลุงุ ไสวอยากมีอี าคารสถานที่่�สำำ�หรับั ขายผักั ที่�ได้ม้ าตรฐาน จำำ�หน่า่ ย ทั้�งพืชื ผักั ปลอดภัยั ต้น้ กล้า้ เมล็ด็ พันั ธุ์� ปุ๋ย� อินิ ทรียี ์์ ตลอดถึงึ การสาธิติ การทำำ�ปุ๋๋ย� อินิ ทรียี ์์ จากเศษวััสดุุธรรมชาติิ ลุุงไสวบอกว่่า ไม่่อยากเห็็นเกษตรกรถางหญ้้าแล้้วนำำ�ไปเผา เพราะพืชื ต่า่ ง ๆ สามารถนำำ�มาเข้้าเครื่�องบดสัับ ทำำ�เป็็นปุ๋๋ย� อิินทรีีย์ไ์ ด้้อย่า่ งดีี “อยากให้้พืืชผัักทุุกชนิิดเพาะชำ�ำ ไว้้ในถุุง เหมืือนต้้นพริิก ต้้นมะเขืือ พร้้อม จำำ�หน่่ายให้้คนไปปลููก มีีโรงเรืือนกัันแดดกัันฝน เวลามีีคนมาซื้้�อผััก ก็็สามารถเลืือก หาต้น้ กล้า้ ไปปลููกต่่อได้้ ถ้า้ อยากได้้ปุ๋�ย เราก็ม็ ีใี ห้้พร้อ้ มสรรพ” ลุงุ ไสวเล่า่ ถึงึ ความฝันั ที่�จะทำำ�ให้เ้ กิิดขึ้�นให้ไ้ ด้้ “อีกี สองสามปีี ลุงุ มั่่น� ใจว่า่ ทำำ�ได้้” ลุุงไสวยืืนยััน

นายไสว คงเทพ อายุุ 70 ปีี หมู่� 4 บ้้านฮููแตทููวอ ตำ�ำ บลโคกเคีียน อำำ�เภอเมือื ง จัังหวัดั นราธิิวาส

ครูภูมปิ ัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 87

สมาน ผ่่านพรม

ปลููกผัักบนโต๊๊ะ

“เราเป็็นผู้�ให้้ เราไม่ต่ ้้องคำำ�นึงึ ถึงึ ว่่าจะได้้ ผลตอบแทนกลัับมา

แต่่ให้้หาช่่องทางช่ว่ ยคนที่่�ด้อ้ ยโอกาส ให้้ดีีขึ้้�นมาอีีกให้้มากที่่ส� ุุด

แล้้วเราจะมีีพัันธมิิตรที่่�มาก”

88 ครูภูมปิ ัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

มาจากที่่�ราบสููง

สมาน ผ่่านพรม หรืือน้้าหมาน เกิิดที่่�จัังหวััดศรีีสะเกษ ตอนอายุุ 21 ปีี ถููกคััดเลืือกเป็็นทหารเกณฑ์์ มีีโอกาสไปประจำำ�การอยู่ �เกืือบทั่ �วทุุกภาคของประเทศ ช่ว่ งอายุุ 23 ปีี ย้า้ ยมาประจำำ�การที่่�จัังหวัดั ยะลา และตัดั สิินใจสมััครเป็็นทหารพราน ต่่อหลังั ปลดประจำำ�การ เป็็นทหารพรานอยู่�ได้้เพียี ง 3 ปี ี น้า้ หมานก็ล็ าออก หันั มาปัักหลักั มีีครอบครัวั ประกอบอาชีีพรัับจ้้างกรีีดยาง เลี้�ยงวััว และทำำ�สวนผลไม้้บนที่่�ดิินที่�ได้้รัับการจััดสรร ในพื้�นที่่�นิคิ มสร้า้ งตนเองพััฒนาภาคใต้้ เขื่�อนบางลาง จัังหวััดยะลา ปีี 2544 มีีการเปิิดรัับสมัคั รสมาชิกิ สหกรณ์์นิคิ มอุุตสาหกรรมบาเจาะ จังั หวัดั นราธิิวาส น้้าหมานสมััครเข้้าเป็็นสมาชิิก จนได้้รัับจััดสรรพื้�นที่่�ทำำ�กิิน และนำำ�พื้้�นที่� ดัังกล่่าวมาทำำ�สวนปาล์์มน้ำำ��มัันและสร้้างที่ �อยู่ �อาศััยในปััจจุุบััน ช่่วงแรกที่ �มาอยู่ � น้า้ หมานยังั เทียี วมาเทียี วไประหว่า่ งบ้า้ นในปัจั จุบุ ันั กับั บ้า้ นที่่�จังั หวัดั ยะลา แต่ห่ ลังั จาก นั้�นสองปี ี มีกี ารประกาศให้เ้ อกสารสิทิ ธิ์�ในที่่�ดินิ แก่ผู่้�ที่�ได้้รัับการจััดสรรและมีีทะเบียี น บ้้านอยู่�ในพื้�นที่่� น้า้ หมานเลยต้อ้ งย้้ายภููมิิลำำ�เนามาอยู่�อย่่างถาวร

1 ใน 4 แกนนำำ� ผู้้�เริ่ม่� ต้้นกับั ปิิดทองฯ

น้า้ หมาน เล่า่ ว่่า ในปีี 2559 โครงการปิิดทองหลังั พระฯ ได้เ้ ห็็นศักั ยภาพของ ชุุมชนฮููแตทููวอ ที่่�จะพััฒนาภายใต้้โครงการพััฒนาชุุมชนและชนบทโดยปรััชญา เศรษฐกิิจพอเพีียง จึึงมีีการประชุุมในพื้�นที่�เพื่�อชี้�แจงโครงการฯ ให้้ชาวบ้้านกว่่า

ครูภูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 89

ครึ่�งร้้อยรัับรู้�และออกความคิิดเห็็น ภายหลัังการประชุุม น้้าหมานได้้รัับเลืือกให้้ เป็็นหนึ่ �งในแกนนำำ�ไปดููงานเรื่ �องปรััชญาเศรษฐกิิจพอเพีียงที่ �พระตำำ�หนัักหนััก ภูพู านราชนิิเวศน์์ จัังหวัดั สกลนคร “ตอนนั้�นคััดเฉพาะผู้้�นำำ� มีีทั้�งหมด 4 คน คืือ ผู้�ใหญ่่บ้้าน โต๊๊ะอิิหม่่าม ผู้้�ช่่วยผู้�ใหญ่่บ้้าน แล้้วก็็เราเริ่�มออกเดิินทางกัันตั้�งแต่่วัันที่่� 23 กุุมภาพัันธุ์� ปีี 2559” น้้าหมานย้้อนหลังั เหตุกุ ารณ์์ การไปดููงานในครั้�งนั้�น มีีวััตถุุประสงค์์ให้้ผู้้�นำำ�ได้้เปิิดมุุมมองใหม่่ ๆ ด้้าน การเกษตร เพื่�อจะได้้นำำ�สิ่่�งที่�พบเจอกลัับมาต่่อยอดในพื้�นที่่� ช่่วยกัันหาวิิธีีแก้้ปััญหา การซ้้อนทับั ของหน่ว่ ยงานต่่าง ๆ ที่่�ลงทำำ�งานในพื้�นที่่� ประเมินิ กระบวนการขัับเคลื่�อน งานร่่วมกัับปิิดทองฯ โดยเฉพาะความร่ว่ มมืือจากชาวบ้า้ นและหน่่วยงานที่�เกี่�ยวข้้อง ข้้อสรุุปอย่า่ งหนึ่�งที่่�น้า้ หมานจำำ�ได้้ในวันั นั้�นคือื โครงการปิดิ ทองหลังั พระฯ จะ เริ่�มต้น้ กระบวนการร่ว่ มมือื กับั ชาวบ้า้ นโดยการช่ว่ ยกันั พัฒั นาระบบน้ำำ��ใช้ท้ ี่่�มัสั ยิดิ และ ขยัับขยายสู่�เรื่�องระบบน้ำำ��ในพื้�นที่�แปลงเกษตรพอเพียี งที่่�ยัังคงดำำ�รงอยู่่�ถึึงทุกุ วันั นี้�

ผู้้� “ยกระดัับ” งานปลููกผักั

จากการดููงานที่�พระตำำ�หนัักภููพานราชนิิเวศน์์ สิ่่�งที่่�น้้าหมานประทัับใจที่่�สุุด คืือการปลููกสตอเบอรี่�ในกระบอกไม้้ไผ่่ขนาดใหญ่่ วิิธีีการปลููกดัังกล่่าว เป็็นการเอา ท่่อไม้้ไผ่่ผ่่าครึ่�งยกระดัับจากพื้�นดิินในลัักษณะคล้้ายแคร่่ เอาดิินใส่่ในร่่องกระบอก แล้ว้ ปลูกู วิธิ ีกี ารนี้้� น้า้ หมานบอกว่า่ จะทำำ�ให้ค้ วบคุมุ วัชั พืชื ได้ง้ ่า่ ย ดูแู ลรักั ษาง่า่ ย เพราะ ไม่ต่ ้อ้ งก้ม้ ๆ เงย ๆ สามารถควบคุมุ ปริมิ าณการให้น้ ้ำำ��และปุ๋๋ย� กับั พืชื ได้อ้ ย่า่ งพอเหมาะ ที่่�สำำ�คัญั รููปแบบดังั กล่่าวสามารถประยุุกต์ใ์ ช้้ในชุุมชนของตัวั เองได้อ้ ย่่างแน่น่ อน หลัังกลัับจากดููงาน น้้าหมานจึึงไม่่รีีรอที่�จะดำำ�เนิินการในสิ่�งที่่�คิิด ทำำ�เรื่�อยมา จนคุุณชายมาเยี่ �ยมที่่�บ้้านและชมเชยการที่ �เขาสามารถดััดแปลงความคิิดจากการ ดูงู านมาใช้้ได้จ้ ริงิ น้า้ หมานเรีียกสิ่�งที่�ตนเองประยุกุ ต์์ทำำ�ขึ้้�นว่่า “การปลููกผัักบนโต๊ะ๊ ” ซึ่�งเป็็นการ ทำำ�กระบะขนาด 1 x 4 เมตร ยกระดับั ขึ้�นมาจากพื้�น ใส่ด่ ินิ ปลูกู ผักั ข้า้ งใน และมีหี ลังั คา โปร่่งแสงด้า้ นบนเพื่�อให้้สามารถปลููกในฤดููฝนได้้

90 ครภู มู ปิ ัญญาเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

“พอดีคี ุณุ ชายมา ก็พ็ ามาดูโู ต๊ะ๊ ปลูกู เราก็บ็ อกว่า่ ใช้ต้ ้น้ ทุนุ แค่่ 200 บาท คุณุ ชาย ก็ช็ มว่า่ ได้ม้ าตรฐานและควรพัฒั นาต่่อ ผมจึึงหันั มาทำำ�มันั อย่่างจริิงจังั ” น้้าหมานเล่่า อย่่างไรก็็ตาม ช่่วงแรกที่�ปลููกผัักบนโต๊๊ะ น้้าหนามยอมรัับว่่า แม้้จะทำำ�ให้้ ผลผลิิตดีีขึ้�น แต่่ก็็ต้้องลองผิิดลองถููกกัับวััสดุุอุุปกรณ์์อยู่�พอสมควร “ทำำ�มาสัักปีี เราก็ไ็ ด้เ้ รียี นรู้�ว่าไม่ค่ วรใช้ไ้ ม้้เป็็นวัสั ดุุฐานรอง เพราะเมื่่�อโดนน้ำ�ำ �บ่อ่ ย ๆ มัันจะพัังง่า่ ย ความลึึกของกระบะบนโต๊๊ะก็็ควรสููงไม่่เกิิน 7 นิ้�ว หากน้้อยกว่่านี้้�ผัักจะไม่่ค่่อย งอกงาม” น้้าหมานบอกว่่า ส่่วนดิินที่�ใช้้ปลููกน้้าหมานบอกว่่า ต้้องเป็็นดิินที่�โปร่่ง สามารถระบายน้ำำ�� ระบายอากาศได้้ดีี สููตรดิินที่่�น้้าหมานคิิดค้้นและใช้้อยู่่�ทุุกวัันนี้้�คืือ ขุุยมะพร้้าวหมััก 3 ส่ว่ น ดินิ 1 ส่ว่ น มููลสััตว์์ 1 ส่ว่ น และปููนขาวอีกี 1 ส่่วน น้้าหมานบอกว่่า ปััจจุุบัันวิิธีีการปลููกผัักบนโต๊๊ะแบบนี้้� ได้้รัับความสนใจจาก กรมวิิชาการเกษตรเป็็นอย่่างมาก มีีการพััฒนาระบบและรููปแบบให้้มีีมาตรฐาน มากขึ้�น เพื่�อรองรับั การทำำ�เกษตรอินิ ทรียี ์โ์ ดยเฉพาะ แต่ป่ ัญั หาคือื เกษตรกรยังั ไม่ค่ ่อ่ ย ปรัับเปลี่�ยนมาทำำ�เกษตรอิินทรีีย์์ กลััวว่่าจะไม่่ได้้ผล ทั้้�ง ๆ ที่่�มีีตััวอย่่างให้้เห็็นอยู่่�ว่่า การปลููกผัักรอบหนึ่�ง ๆ ในพื้�นที่่� 1 โต๊๊ะ ขนาด 1x4 เมตร สามารถสร้้างรายได้้ให้้ น้า้ หมานถึึง 1,200 บาท และปีีหนึ่�ง ๆ สามารถปลููกได้้ถึงึ 5 - 6 รอบ “ปัญั หาคือื เกษตรกรบางรายยัังไม่่เปิิดใจลองทำ�ำ สิ่่�งใหม่่” น้า้ หมานบอก

การค้้นพบยิ่่�งใหญ่่ในพื้้�นที่่�เล็็ก ๆ

จากประสบการณ์์ น้้าหมานพบว่่าการส่่งเสริิมการปลููกผัักนั้�น ควรเป็็นผััก ที่�คนนิิยมบริิโภค เช่่น ผัักสลััด ต้้นหอม คื่่�นช่่าย หรืือชนิิดใดก็็ตามที่่�มีีตลาดรองรัับ กว้า้ งขวาง แต่ต่ ้อ้ งปลูกู ผักั ธรรมดา ๆ เหล่า่ นั้�นให้เ้ ป็น็ เรื่�องที่�ไม่ธ่ รรมดา เพื่�อเพิ่�มมูลู ค่า่ โดยคำำ�นึึงถึึงการประหยััดเวลา ใช้้ทรััพยากรที่่�น้้อย และเกิิดมููลค่่าสููงสุุด การทำำ�ผััก อิินทรีีย์ค์ ือื หนึ่�งในรููปแบบที่�สามารถตอบโจทย์เ์ หล่า่ นั้�นได้้เป็น็ อย่า่ งดีี “ที่่ผ� ่า่ นมาเกษตรกรใช้ท้ รัพั ยากรสิ้�นเปลือื ง ต้อ้ งใช้เ้ นื้�อที่่เ� ป็น็ ไร่่ ๆ จึึงจะสามารถ สร้า้ งรายได้ต้ ามที่่ต� ้อ้ งการได้้ แต่ก่ ารปลูกู แบบนี้� ปรับั ขนาดพื้�นที่่ล� ดลงแบบนี้� ประหยัดั ก็ป็ ระหยััด เวลาก็ใ็ ช้ไ้ ม่ม่ าก แถมผลผลิิตและรายได้้ก็ไ็ ม่่ต่า่ งกันั ” น้า้ หมานกล่า่ ว

ครภู ูมิปัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 91

สู่ �การแบ่่งปััน

น้้าหมานบอกว่่า ในหลวงรััชกาลที่่� 9 ทรงดำำ�รััสว่่า “ดิินไม่่ดีีไม่่เป็็นไร ขอให้้ เป็็นคนดีี เพราะนั่่�นจะทำำ�ให้้มีีแรงจููงใจที่่�จะพััฒนาต่่อ” ด้้วยพระราชดำำ�รััสดัังกล่่าว นี้�เอง ที่่�ทำำ�ให้้ทุุกวัันนี้้�น้้าหมานดำำ�รงตนอยู่�ในทำำ�นองคลองธรรม และพยายามทำำ�ให้้ ตััวเองมีคี ุณุ ค่า่ ที่่�สุดุ ทั้้�งคุณุ ค่่าต่อ่ ตััวเอง และคุณุ ค่า่ ต่อ่ ผู้�อื่�น “เราไม่ด่ื่่ม� เหล้า้ หลีกี เลี่่ย� งการใช้ช้ ีวี ิิตที่่ไ� ร้ค้ ุณุ ค่า่ ทุกุ ศาสนาสอนให้เ้ ราเป็น็ คนดีี แต่่ไม่ใ่ ช่่ดีีแค่พ่ ูดู แต่ต่ ้้องปฏิิบัตั ิิให้้เห็น็ จริิง” การปฏิิบััติิให้้เห็็นจริิงดัังว่่า อย่่างหนึ่�งที่่�น้้าหมานยึึดปฏิิบััติิมาตลอดก็็คืือการ รู้�จักแบ่ง่ ปันั ต่อ่ ผู้�อื่�น ปััจจุุบัันน้้าหมานได้้รับั การยอมรัับจากหน่ว่ ยงานด้้านการศึกึ ษา และหน่่วยงานราชการต่่าง ๆ ให้้เป็็นปราชญ์์ชาวบ้้านด้้านการเกษตร เพื่�อเป็็นแบบ อย่่างให้้เกษตรกรคนอื่�น ๆ ได้้เรียี นรู้�เอาเป็น็ แบบอย่่าง “ทุกุ วัันนี้�เรายิินดีจี ะถ่่ายทอดความรู้�ให้ก้ ับั ทุุกคนที่่�สนใจ ถ่า่ ยทอดให้ฟ้ รีี ๆ ไม่่ ทวงบุญุ คุณุ อะไรทั้�งสิ้�น ใครอยากรู้�อยากทำำ�เป็น็ มาดูู มาสอบถามได้เ้ ลย เราถ่า่ ยทอด ให้้ทุกุ อย่่าง ไม่ก่ั๊๊�ก ไม่่ปิดิ หรือื กลัวั ว่า่ คนอื่�นจะทำำ�ได้ด้ ีกี ว่า่ ” น้า้ หมานกล่่าว นอกจากการแบ่่งปัันให้้กัับผู้�อื่�นแล้้ว การมีีสติิ การรู้�จักความพอดีี คืือสิ่�งที่� น้้าหมานยึึดเป็็นหลัักปฏิิบััติิของชีีวิิต โดยเฉพาะความพอดีีนั้�น น้้าหมานบอกว่่าต้้อง คำำ�นึึงถึงึ ให้ม้ าก เพราะไม่่เช่่นนั้�นจะทำำ�ให้้ชีีวิติ ยุ่�งยากไปหมด

92 ครูภูมิปญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

“เรามาช่่วยงานส่่วนรวม ก็็ต้้องดููด้้วยว่่าครอบครััวของตััวเองเป็็นอย่่างไร ไม่่ใช่่ช่่วยงานส่่วนรวมอย่่างแข็็งขััน แต่่ลููกเมีียอดอยากอยู่�ที่�บ้้าน แบบนั้�นก็็ไม่่ถููก หรืือคิิดถึึงแต่เ่ รื่อ� งของตััวเองโดยไม่ส่ นใจเรื่อ� งส่ว่ นรวมเลย ก็็คงไม่ใ่ ช่่”

เพื่่อ� อนาคตที่่�ยั่่�งยืืน

ปััญหาเรื่�องน้ำำ��เป็็นปััญหาใหญ่่ของคนที่่�นี่่� แม้้ว่่าวัันนี้้�น้ำำ��ในแปลงเกษตร จะสามารถแก้้ได้้แล้้ว แต่่น้ำำ��ใช้้ในครััวเรืือนยัังเป็็นปััญหาอยู่�มาก โดยเฉพาะใน หน้้าแล้้งช่่วงเดืือนเมษายนและพฤษภาคม ชาวบ้้านจะประสบปััญหาการขาดน้ำำ�� กิินน้ำำ��ใช้อ้ ย่า่ งหนััก น้้าหมานจึงึ ตั้�งเป้้าหมายไว้้ว่่า ภายในระยะเวลา 5 ปีี หลัังจากนี้้� ปัญั หาดังั กล่่าวจะต้้องได้้รัับการแก้ไ้ ขให้เ้ สร็จ็ สิ้�นและยั่�งยืืนให้้ได้้ สิ่�งที่่�น้้าหมานยัังเป็็นห่่วงอยู่่�บ้้างคืือ ปััจจุุบัันคนรุ่�นใหม่่ไม่่ค่่อยสืืบสานงาน ด้้านการเกษตรจากรุ่�นพ่่อรุ่�นแม่่ ซึ่่�งจะทำำ�ให้้ศููนย์์ “สวน & ไร่่ เรีียนรู้�้เศรษฐกิิจ พอเพีียงบ้้านฮููแตทููวอ” ที่่�น้้าหมานกัับชาวบ้้านช่่วยสร้้างกัันไว้้ จะล้้มหายตาย จากไป น้า้ หมานบอกว่า่ มีที างเดียี วเท่า่ นั้�นที่�จะทำำ�ให้ศ้ ูนู ย์ฯ์ ดังั กล่า่ วได้ร้ ับั การสืบื ทอด โดยคนรุ่�นหลััง คือื การทำำ�ให้พ้ วกเขาเห็็นคุุณค่่าและมูลู ค่า่ ของศููนย์แ์ ห่่งนี้�ให้้ได้้ “ต้้องทำ�ำ ให้้พวกเขาเห็็นว่่าศููนย์์ฯ มัันมีีคุุณค่่ายัังไง และเป็็นแหล่่งเรีียนรู้�ที่�ทำ�ำ ให้้พวกเขาเห็็นแนวทางการสร้้างมููลค่่าจากการเกษตรยัังไง ถ้้าเขาเห็็นคุุณค่่าและ เห็น็ ว่่าหากทำ�ำ แบบนี้้�ก็ส็ ามารถเลี้�ยงครอบครััวได้้อย่่างสบาย พวกเขาก็จ็ ะสืบื ทอดต่อ่ สิ่่�งที่่�เราทำำ�เอาไว้้” น้้าหมานทิ้�งท้้ายอย่า่ งมีหี วังั

นายสมาน ผ่่านพรม อายุุ 58 ปีี หมู่� 4 บ้า้ นฮููแตทููวอ ตำ�ำ บลโคกเคีียน อำ�ำ เภอเมืือง จัังหวัดั นราธิิวาส

ครภู มู ปิ ัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 93

ฮาซััน สะตาปอ

แพะบััณฑิติ

“ทุกุ อย่่างต้อ้ งลงมืือทำ�ำ ถ้้าไม่ท่ ำำ�จะไม่เ่ ห็น็ ผล”

94 ครภู มู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

เรีียนมาด้้านสััตวศาสตร์์

อาซัันมีีพี่่�น้้องทั้�งหมด 7 คน อาซัันเป็็นคน ที่่� 5 เรีียนจบสาขาสััตวศาสตร์์ คณะเกษตรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยนราธิิวาสราชนคริินทร์์ ที่่�บ้้านของอาซัันเลี้�ยงวััว เลี้�ยงแพะมาตั้�งแต่่เขาจำำ�ความได้้ โตขึ้�น อาซัันจึึงเคยใฝ่่ฝัันอยากเป็็นสััตวบาล จึึงเลือื กเรีียนสาขาวิิชานี้้� เมื่�อครั้�งที่�อาซัันยัังเรีียนระดัับประถม เขาจำำ�ได้้ว่่าแพะที่�หมู่่�บ้้านตายกัันไม่่ เว้้นวััน ตายโดยไม่่ทราบสาเหตุุ บางครั้�งแพะมีีบาดแผล ชาวบ้้านก็็รัักษากัันตามมีี ตามเกิิด “ตอนนั้�นผมอยู่� ป.5, ป.6 มีีแพะประมาณ 10 ตััวถููกลวดหนามเกี่ �ยว เป็็น แผลเน่่า ชาวบ้้านไม่่มีีความรู้� ก็็เอาน้ำ�ำ �มัันเครื่�องทา ผมเองก็็ช่่วยพ่่อแม่่ทาแผลด้้วย แม้ใ้ นใจจะสงสัยั ว่่ามัันจะหายหรืือเปล่่าก็ต็ าม” อาซัันเก็็บความสงสััยเรื่�อยมา บอกกัับตััวเองว่่า วัันหนึ่�งจะหาคำำ�ตอบให้้ได้้ กระทั่�งมีีโอกาสเข้้าเรีียนสััตวศาสตร์์ จึึงได้้เข้้าใจว่่า การกระทำำ�ของชาวบ้้านแม้้ไม่่ ถููกต้้องนััก แต่่ก็็ไม่่ได้้ไร้้เหตุุผลเสีียทีีเดีียว เพราะน้ำำ��มัันเครื่�องจะไปยัับยั้�งหนอนได้้ ในเบื้�องต้้น เพีียงแต่่ไม่่สามารถยัับยั้�งได้้ทั้�งหมด สัักพัักแมลงวัันก็็จะมาไข่่จน กลายเป็็นหนอนจนแผลลุกุ ลามขึ้�นเรื่�อย ๆ

ครภู ูมปิ ัญญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 95

แรงผลักั ดััน

อาซัันบอกว่่า การเลี้�ยงแพะนั้�นต่่างกัับวััว แพะกิินอาหารน้้อยและให้้ผล ตอบแทนดีีกว่่า ไม่่แปลกที่�ชาวบ้้านจึึงเปลี่�ยนจากการเลี้�ยงวััวมาเลี้�ยงแพะกัันมาก ขึ้�นเรื่�อย ๆ แต่่อาซัันเองก็็ชอบเลี้�ยงแพะมากกว่่าสััตว์์ชนิิดไหน ก็็เพราะเขาอยู่่�กัับ ครอบครััวที่�เลี้�ยงแพะมาตั้�งแต่เ่ ด็ก็ จึึงมีีความผููกพััน ทุุกวัันนี้้� แม้้อาซัันจะมีีความพอใจในฝีีมืือการเลี้�ยงแพะของตนเองระดัับหนึ่�ง แต่่เขาก็็ยัังมุ่�งมั่�นที่�จะเลี้�ยงให้้สำำ�เร็็จและดีียิ่�งขึ้�นไปอีีก เขาบอกว่่าได้้แรงผลัักดััน ดัังกล่่าวมาจากปััญหาด้้านหนี้้�สิินในครอบครััว ที่่�เคยโดนเถ้้าแก่่หลอกเอาที่่�ดิิน ไปจำำ�นองธนาคาร ต่่อมาธนาคารประกาศขาย ครอบครััวต้้องขายที่่�ดิินอีีกแปลง เพื่ �อเอาเงิินไปแลกกัับโฉนดที่่�ดิินผืืนใหญ่่ที่ �เป็็นมรดกของครอบครััวกลัับคืืนมา ทั้้�งที่ � เป็็นที่่�ดินิ ของเรา เหตุกุ ารณ์์นี้้�ก็็ทำำ�ให้้อาซันั ฝังั ใจ ผลักั ดัันให้้เขาเป็น็ คนขยััน คิดิ หาทางที่�จะช่่วย ครอบครััวสร้้างฐานะทุุกวิิถีีทาง อาซัันบอกว่่าดีีที่�ตอนเรีียนเขาได้้กู้�เงิินจากกองทุุน กู้้�ยืมื เพื่�อการศึึกษา (กยศ.) มาช่ว่ ย ไม่เ่ ช่่นนั้�นก็็คงไม่่มีโี อกาสเรีียนจนจบ

ด้ว้ ยตัวั ของอาซััน

อาซันั รู้�จักกับั โครงการปิดิ ทองหลังั พระฯ ขณะที่�ตนเองเรียี นอยู่�ในมหาวิทิ ยาลัยั ปีี 2 ตอนนั้�นเขามัักจะเห็็นพี่่� ๆ เจ้้าหน้้าที่�ของโครงการฯ เข้้ามาฉีีดยาแก้้อัักเสบให้้ แพะของชาวบ้้านบ่่อย ๆ หนึ่�งในเจ้้าหน้้าที่�เป็็นรุ่�นพี่�มหาวิิทยาลััย จึึงทำำ�ให้้อาซััน รู้้�สึึกอุ่ �นใจและชื่ �นชมรุ่ �นพี่ �คนดัังกล่่าวเป็็นอย่่างมากที่ �ใช้้วิิชาชีีพที่ �เรีียนมาช่่วยเหลืือ แนะนำำ�ชาวบ้า้ น เพราะทำำ�ให้้แพะของชาวบ้้านป่ว่ ยน้อ้ ยลง อาซันั ร่ว่ มงานกับั โครงการปิดิ ทองหลังั พระฯ ครั้�งแรก โดยการรับั การสนับั สนุนุ โครงการเลี้�ยงแพะ ซึ่่�งเป็็นโครงการฯ ที่่�ผู้้�ใหญ่่บ้้านประสานงานมาให้้ เขาดีีใจมาก และตกลงเข้้าร่่วมทัันทีีที่�ได้้รับั การเสนอ และเริ่�มเลี้�ยงแพะด้้วยตััวเองจำำ�นวน 15 ตััว ปลููกหญ้้าหวานอิิสราเอลไว้้เลี้ �ยงแพะในพื้ �นที่ �ที่ �ได้้รัับการจััดสรรจำำ�นวนครึ่ �งไร่่ เลี้�ยงแบบปล่อ่ ยให้ห้ าหญ้้ากินิ เอง เหมือื นกับั ชาวบ้า้ นทั่�วไป

96 ครภู มู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

ตอนนี้�อาซัันขายแพะได้แ้ ล้ว้ 6 ตััว ตัวั ละ 2,000 กว่า่ บาท เหลืือแพะอีีก 7 ตััว ซึ่ �งได้้เปลี่ �ยนวิิธีีการเลี้ �ยงโดยการย้้ายแพะเข้้ามาเลี้ �ยงในโรงเรืือน ที่่�ขอทุุนกู้้�ยืืมทุุน จากโครงการฯ มาสร้า้ ง อาซันั บอกว่า่ ปัจั จัยั ที่่�สำำ�คัญั ที่่�สุดุ ของการเลี้�ยงแพะ คือื เรื่�องอาหาร การมีแี หล่ง่ อาหารและการหาอาหารไว้้ที่ �เพีียงพอจะทำำ�ให้้การเลี้ �ยงแพะเหนื่ �อยน้้อยลง อาหาร ที่�แพะชอบ ได้แ้ ก่่ หญ้า้ หวาน และกระถิิน หรืือหญ้้าทั่�วไปก็ไ็ ด้้ แต่ม่ ีเี คล็ด็ ลัับสำำ�คััญ ว่่าต้อ้ งไม่่อ่่อนจนเกินิ ไป เพราะจะทำำ�ให้แ้ พะเจ็บ็ ป่่วยด้ว้ ยโรคทางเดิินอาหารประเภท ท้้องเสีีย ท้้องอืืดได้้ง่่าย ส่่วนการให้้น้ำำ�� อาซัันบอกว่่าจะต้้องเปลี่�ยนน้ำำ��ใหม่่ทุุก ๆ วััน น้ำำ��จะต้อ้ งไม่ม่ ีขี องเสีียปนเปื้้อ� น ปััจจััยสำำ�คััญต่่อมาคืือโรงเรืือนที่�จะต้้องได้้มาตรฐาน ต้้องโปร่่ง ยกพื้�นสููง หลังั คาไม่ต่ ่ำำ��เกินิ ไป เพราะภาคใต้อ้ ากาศร้อ้ นชื้�น ฝนตกชุกุ ความชื้�นแฉะจะทำำ�ให้เ้ กิดิ ความหมักั หมมของมูลู แพะ เมื่�อแพะสูดู ดมเข้า้ ไปอย่า่ งต่อ่ เนื่�อง จะทำำ�ให้แ้ พะป่ว่ ยง่า่ ย นอกจากนี้�แล้้ว สััดส่่วนการเลี้�ยงระหว่่างแพะตััวผู้�และตััวเมีียนั้�นก็็สำำ�คััญ เพราะสััดส่่วนที่�เอื้�อให้้เกิิดการผสมพัันธุ์�แบบธรรมชาติิ จะทำำ�ให้้การขยายผลผลิิต ลููกแพะมีีประสิิทธิิภาพมากที่่�สุุด อาซััน บอกว่่าสััดส่่วนที่�เหมาะสมคืือ ตััวพ่่อพัันธุ์� 1 ตัวั ต่่อแม่่พันั ธุ์� 20 - 30 ตัวั ส่่วนระยะเวลาในการเลี้�ยง อาซัันบอกว่่าระหว่่างแพะพื้�นเมืืองกัับแพะพัันธุ์์�ดีี จะใช้เ้ วลาต่่างกันั แพะพื้�นเมืืองจะเลี้�ยงอย่า่ งน้้อย ๆ 1 ปี ี จึงึ จะขายได้้ ขณะที่่�พันั ธุ์์�ดีี 3 - 4 เดือื นก็พ็ ร้อ้ มขาย แต่่ข้้อดีีของแพะพื้�นเมืืองคืือกินิ น้อ้ ยและทนต่่อโรค ส่่วนแพะ พัันธุ์์�ดีกี ิินมากและติดิ โรคได้ง้ ่า่ ย “เลี้�ยงแพะพันั ธุ์์�ดีี เราต้อ้ ง หมั่่�นดููแลเอาใจใส่่จึึงจะได้้ผล ต อ บ แ ท น ที่่� ดีี ไ ม่่ เ ห มืื อ น แ พ ะ พื้�นเมืือง ที่่�เลี้�ยงแบบปล่่อย ๆ ก็็ได้้ แต่่ผลตอบแทนก็็จะน้้อย ตามไปด้ว้ ย” อาซันั กล่่าว

ครูภมู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 97

เรีียนรู้้�จากการปฏิบิ ัตั ิิ

หลัังเข้้ารัับการสนัับสนุุนใน โครงการเลี้�ยงแพะมาระยะหนึ่�ง อาซัันยอมรัับว่่า การเรีียนรู้�ในห้้องเรีียนมหาวิิทยาลััยที่่�ว่่าเข้้มข้้น แล้ว้ ยังั เทียี บไม่ไ่ ด้ก้ ับั การได้เ้ รียี นรู้�จากการปฏิบิ ัตั ิิ จริิง อย่่างการฉีีดวััคซีีน ตอนเรีียนส่่วนใหญ่่จะเป็็นภาคทฤษฎีี มีีภาคปฏิิบััติิน้้อย แต่่พอมาเลี้�ยงแพะด้้วยตััวเอง ก็็ไม่่ได้ท้ ำำ�ได้้ง่า่ ย ๆ แค่่การจัับแพะด้ว้ ยตัวั เองก็็ทำำ�เอา ขลุกุ ขลักั ทุลุ ักั ทุเุ ลทุกุ ครั้�ง “มัันไม่เ่ หมืือนตอนเรียี นเสียี ทีเี ดียี ว พอทำ�ำ จริิงๆ มันั มีปี ัญั หา เฉพาะหน้้าที่่�ต้้องให้้แก้้ไข อย่่างผมฉีีดถ่่ายพยาธิิใต้้ผิิวหนัังให้้แพะตััวหนึ่่�ง ก็็จะใช้้ ปริิมาณ 1 ซีซี ีตี ่อ่ น้ำ�ำ �หนักั 10 กิิโลกรััมของแพะตามที่่�เรียี นมาแต่่ตอนฉีดี บางทีีแพะ ก็ว็ ิ่ง�่ หนีี บางทีีสะบัดั ไม่่ยอมยืืนนิ่�ง่ ๆ ต้อ้ งใช้้ความพยายามกันั พอสมควร” อาซันั เล่า่ การได้้เรีียนรู้้�ท่่ามกลางการปฏิิบััติิจริิงดัังกล่่าวนี้�เองที่่�ทำำ�ให้้ทุุกวัันนี้้� แม้้อาซััน จะยังั มีอี ายุแุ ค่่ 25 ปีี แต่ค่ วามรัับผิดิ ชอบและความขยัันของเขาโตเกิินวััย “พอเราได้้รัับการสนัับสนุุนจากโครงการปิิดทองหลัังพระฯ โดยเฉพาะเงิินทุุน ที่่ใ� ห้กู้้�มาทำำ�โรงเรือื น เราก็็ต้้องมีคี วามรัับผิิดชอบและต้้องขยัันมากขึ้�น ไม่ง่ั้�นเราก็ไ็ ม่่มีี เงิินผ่่อนส่่ง เจตนารมณ์์ของปิิดทองฯ ที่่�จะทำำ�ให้้เกิิดกองทุุนหมุุนเวีียนไปยัังคนอื่�น ในสมาชิิก ก็จ็ ะขาดช่ว่ ง” อาชันั กล่่าว

ในฐานะหนึ่่�งในสมาชิิกของกลุ่ �ม

อาซัันได้้รัับความช่่วยเหลืือจากโครงการฯ ในด้้านเงิินทุุนกู้้�ยืืมสร้้างโรงเรืือน แพะ จำำ�นวน 30,000 บาท โดยมีีระยะเวลาในการใช้้คืืน 2 ปีี เป็็นการคืืนเข้้ากลุ่�ม

98 ครูภมู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

นาโยน1ไร่ใช้ข้าวกี่กิโล

1,000 - 1,200 กิโลกรัมต่อไร่ และใช้เวลาใน การโยนเพียง 30 นาที / ไร่ / คน

การทำนาโยนหมายความว่าอย่างไร

นาโยน หรือ การปลูกข้าวแบบโยนกล้า (parachute) เป็นการทำนาแบบใหม่ที่เป็นการผสมผสานกันระหว่างนาดำ กับนาหว่านน้ำตม เป็นวิธีการโยนตุ้มต้นกล้าที่เพาะไว้แล้วลงในแปลง ซึ่งสามารถนำมาใช้แทนการถอนกล้าปักดำด้วยแรงงานคน และการปักดำด้วยเครื่องได้ เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ต่ำกว่า แต่ได้ผลผลิตไม่แตกต่างจากการปักดำด้วยเครื่อง หรือด้วยคน ...

การทํานาดํา มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง

การปลูก การทำนาดำแบ่งได้เป็น 2 ขั้นตอน คือ การตกกล้า โดยเพาะเมล็ดข้าวเปลือกให้มีรากงอกยาว 3–5 มิลลิเมตร นำไปหว่านในแปลงกล้า ช่วงระยะ 7 วันแรก ต้องควบคุมน้ำไม่ให้ท่วมแปลงกล้า และถอนกล้าไปปักดำได้เมื่อมีอายุประมาณ 20-30 วัน

นาโยน 1 ไร่ใช้กี่ถาด

ขั้นตอนในการทำนาโยน 1.แช่เมล็ดพันธุ์ข้าวในน้ำ 1 คืน ใช้เมล็ดพันธุ์ 4-5 กิโลกรัมต่อไร่ 2.หุ้มเมล็ด 1 คืนเพื่อให้เมล็ดงอก 3.จัดเรียงถาดเพาะเมล็ดลงบนพื้นที่เตรียมไว้ จำนวนถาด 50-70 ถาดต่อไร่ (ถาดขนาด 561 หลุม) หรือ 70-90 ถาดต่อไร่ (ถาดขนาด 434 หลุม) ใช้พื้นที่เพาะกล้าประมาณ 10-15 ตารางเมตรต่อไร่