ก กยศ สามารถขอเง นค นย อยหล งได ม ย

ให้สั่งจ่าย “กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา บัญชีรับชำระหนี้ ชื่อ-นามสกุลผู้กู้ยืมเงิน หมายเลขบัตรประชาชนผู้กู้ยืมเงิน”

1. ก่อนการนำฝากเช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็คทุกครั้ง ผู้กู้ยืมเงินจะต้องดาวน์โหลด QR Code หรือ Barcode ผ่าน Application “กยศ. Connect” หรือจากระบบ DSL ... โดยระบุจำนวนเงินที่จะชำระให้ตรงกับยอดเงินหน้าเช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็ค พร้อมบันทึกภาพ หรือจัดพิมพ์ QR Code หรือ Barcode ภายในวันที่ไปชำระหนี้เท่านั้น

2. ผู้กู้ยืมเงินชำระหนี้ด้วยเช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็ค ที่หน้าเคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย ก่อนเวลา 12.00 น. โดยแสดงภาพ QR Code หรือ Barcode

3. เมื่อธนาคารกรุงไทยรับชำระหนี้จากผู้กู้ยืมเงินแล้ว ระบบจะดำเนินการลดยอดหนี้ให้ผู้กู้ยืมเงินโดยอัตโนมัติภายใน 3-5 วันทำการ (เมื่อวันที่เช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็คมีผลเรียบร้อยแล้ว) หมายเหตุ

* กรณีชำระหนี้เป็นเช็คที่มิใช่เช็คของธนาคารกรุงไทย อาจมีการเคลียร์ริ่งเช็คต่างธนาคาร ทำให้ยอดหนี้ที่ชำระไม่ครบถ้วน

ผู้กู้ยืมต้องชำระหนี้ปิดบัญชี พร้อมจ่ายค่าทนาย และส่งหลักฐานการชำระหนี้ปิดบัญชีให้กองทุนพิจารณาถอนฟ้อง

01.ชำระหนี้ปิดบัญชี พร้อมค่าทนาย ดังนี้

1. ชำระหนี้เงินกู้ยืมที่ธนาคารกรุงไทย หรือ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

2. ชำระค่าทนายความ 5,500 บาท ก่อนวันที่ศาลนัด 2 สัปดาห์ที่ธนาคารกรุงไทยเท่านั้น

โดยชำระผ่านระบบ Teller Payment (กยศ. code : 9067) (กรอ. code : 92707)

02.ส่งหลักฐานการชำระหนี้ปิดบัญชี พร้อมแจ้งชื่อและเบอร์ติดต่อกลับ ดังนี้

1. ใบเสร็จการชำระหนี้ปิดบัญชี กยศ. หรือ กรอ.

2. ใบเสร็จการชำระค่าทนายความ

“ผู้กู้ กยศ.” ส่งให้แก่ บริษัท กรุงไทยกฎหมาย จำกัด

Fax: 0 2261 3811 โทรศัพท์ 0 2261 3739 ต่อ 8778

“ผู้กู้ กรอ.” ส่งให้แก่ ฝ่ายคดีและบังคับคดี กยศ. ระบุ “ขอให้ถอนฟ้อง กรอ. หรือผู้กู้ยืมกลุ่มไกล่เกลี่ย”

Fax: 0 2016 4940 โทรศัพท์ 0 2016 4888 ต่อ 550 – 587

กรณีที่ 2 ผู้กู้ยืมที่ไม่สามารถชำระหนี้เพื่อถอนฟ้องได้ ผู้กู้และผู้ค้ำประกันทุกคนจะต้องไปศาล

01.เจรจาไกล่เกลี่ยประนีประนอมยอมความในชั้นศาล กรณีที่ผู้กู้ยืมและผู้ค้ำประกันไปตามที่ศาลนัดหมาย สามารถขอผ่อนชำระหนี้รายเดือนให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม่เกิน 9 ปี

•กรณีบุคคลใดบุคคลหนี่งไม่สามารถไปศาลได้ให้ทำหนังสือมอบอำนาจ พร้อมแนบสำเนาบัตรประชาชนและลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องให้บุคคลที่บรรลุ นิติภาวะทำแทนได้

การรายงานสถานภาพการศึกษา เป็นกระบวนการสำคัญที่สถานศึกษาต้องดำเนินการให้กับผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเลื่อนชั้นปี หรือผู้กู้ยืมที่มีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพระหว่างปี ซึ่งสถานศึกษามีหน้าที่รายงานสถานภาพให้กับผู้กู้ในสถานศึกษาของตน จนกว่าจะพ้นสภาพการเป็นนักเรียน นักศึกษา หรือพ้นสภาพการเป็นผู้กู้ยืมเงิน เพื่อให้ผู้กู้ยืมเงินสามารถเบิกเงินกู้ยืมในปีการศึกษาใหม่ หรือให้กองทุนทราบว่าผู้กู้ยืมเงินได้หยุดการกู้ยืมเงินแล้ว เช่น สำเร็จการศึกษา ไม่มาลงทะเบียนเรียน ลาออก ให้ออก เสียชีวิต

3. การยื่นคำขอกู้ยืม ... คลิก

เฉพาะผู้กู้ยืมเงินรายใหม่ ผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเปลี่ยนระดับ ย้ายสถานศึกษา เปลี่ยนหลักสูตรหรือสาขาวิชา

- ผู้กู้ยืมเงิน ยื่นคำขอกู้ยืมเงินประจำปีการศึกษา

- ระบบตรวจสอบกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

- สถานศึกษา ตรวจสอบคำขอกู้ยืม

- สถานศึกษา ส่งเอกสารคำขอกู้ยืม

4. การอนุมัติคำขอกู้ยืม

- ระบบตรวจสอบและประมวลผลคุณสมบัติต่างๆ

- กองทุนวิเคราะห์อนุมัติคำขอกู้ยืม

5. การจัดทำสัญญากู้ยืมเงิน

- ผู้กู้ยืมเงิน บันทึกข้อมูลเพิ่มเติม ...คลิก

- ผู้กู้ยืมเงิน ผู้แทนโดยชอบธรรม (ถ้ามี) ลงนามสัญญากู้ยืมเงิน

- สถานศึกษา ส่งสัญญากู้ยืมเงินและเอกสารประกอบ

6. การเบิกเงินกู้ยืมและลงนามแบบยืนยัน

- สถานศึกษา บันทึกค่าใช้จ่ายตามที่ลงทะเบียนจริงของผู้กู้ยืมเงิน

- ผู้กู้ยืมเงิน ยื่นแบบยืนยันเบิกเงินกู้ยืม

- ผู้กู้ยืมเงิน ผู้แทนโดยชอบธรรม (ถ้ามี) ลงนามแบบยืนยันการเบิกเงินกู้ยืม

- สถานศึกษา ส่งแบบเบิกเงินกู้ยืมและเอกสารประกอบ

- ระบบ ส่งข้อมูลดำเนินการโอนเงิน

7. การคืนเงิน

- สถานศึกษา รายงานการคืนเงิน ประจำภาคเรียนที่ 1

ก กยศ สามารถขอเง นค นย อยหล งได ม ย

การดำเนินการตามขั้นตอนการให้กู้ยืม ภาคเรียนที่ 2

สำหรับผู้กู้ยืมเงินรายใหม่ ผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเปลี่ยนระดับ ย้ายสถานศึกษา เปลี่ยนหลักสูตรหรือสาขาวิชา และผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเลื่อนชั้นปี

1. การรายงานสถานภาพการศึกษา

- สถานศึกษารายงาน สถานภาพการศึกษาของผู้กู้ยืมเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี

- ผู้กู้ยืมเงิน ผู้กู้ยืมเงินที่อยู่ระหว่างศึกษา ในกรณีที่ไม่ได้กู้ยืมเงินต่อ ไม่ได้ศึกษาต่อ สำเร็จการศึกษาไม่ถึง 2 ปี หรือกำลังศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่เข้าร่วมดำเนินงานกับกองทุน ต้องรายงานสถานภาพการศึกษาทุกปีจนกว่าจะจบการศึกษา *

- การรายงานสถานภาพการศึกษาโดยผู้กู้ยืม ... คลิก

2. การเบิกเงินกู้ยืมและลงนามแบบยืนยัน

- สถานศึกษา บันทึกค่าใช้จ่ายตามที่ลงทะเบียนจริงของผู้กู้ยืมเงิน

- ผู้กู้ยืมเงิน ยื่นแบบยืนยันเบิกเงินกู้ยืม

- ผู้กู้ยืมเงิน ผู้แทนโดยชอบธรรม (ถ้ามี) ลงนามแบบยืนยันการเบิกเงินกู้ยืม

- สถานศึกษา ส่งแบบเบิกเงินกู้ยืมและเอกสารประกอบ

- ระบบ ส่งข้อมูลดำเนินการโอนเงิน

3. การคืนเงิน

- สถานศึกษา รายงานการคืนเงิน ประจำภาคเรียนที่ 2

ก กยศ สามารถขอเง นค นย อยหล งได ม ย

การดำเนินการตามขั้นตอนการให้กู้ยืม ภาคเรียนที่ 3

สำหรับผู้กู้ยืมเงินรายใหม่ ผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเปลี่ยนระดับ ย้ายสถานศึกษา เปลี่ยนหลักสูตรหรือสาขาวิชา และผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเลื่อนชั้นปี

1. การรายงานสถานภาพการศึกษา

- สถานศึกษารายงาน สถานภาพการศึกษาของผู้กู้ยืมเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี

- ผู้กู้ยืมเงิน ผู้กู้ยืมเงินที่อยู่ระหว่างศึกษา ในกรณีที่ไม่ได้กู้ยืมเงินต่อ ไม่ได้ศึกษาต่อ สำเร็จการศึกษาไม่ถึง 2 ปี หรือกำลังศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่เข้าร่วมดำเนินงานกับกองทุน ต้องรายงานสถานภาพการศึกษาทุกปีจนกว่าจะจบการศึกษา *

- การรายงานสถานภาพการศึกษาโดยผู้กู้ยืม ... คลิก

2. การเบิกเงินกู้ยืมและลงนามแบบยืนยัน

- สถานศึกษา บันทึกค่าใช้จ่ายตามที่ลงทะเบียนจริงของผู้กู้ยืมเงิน

- ผู้กู้ยืมเงิน ยื่นแบบยืนยันเบิกเงินกู้ยืม

- ผู้กู้ยืมเงิน ผู้แทนโดยชอบธรรม (ถ้ามี) ลงนามแบบยืนยันการเบิกเงินกู้ยืม

- สถานศึกษา ส่งแบบเบิกเงินกู้ยืมและเอกสารประกอบ

- ระบบ ส่งข้อมูลดำเนินการโอนเงิน

3. การคืนเงิน

- สถานศึกษา รายงานการคืนเงิน ประจำภาคเรียนที่ 3

*หมายเหตุ

- หากไม่มีการรายงานสถานภาพการศึกษาเข้ามาครบ 1 ปี (365 วัน) นับจากวันที่รายงานครั้งล่าสุด ระบบ DSL จะแจ้งเตือนผ่าน E-mail และ Notification ให้ผู้กู้ยืมเข้าระบบเพื่อรายงานสถานศึกษา โดยจะมีปุ่มให้ผู้กู้ยืมดาวน์โหลดแบบฟอร์ม (กยศ. 204) เพื่อให้สถานศึกษาปัจจุบันลงนามรับรอง (กรณี สำเร็จการศึกษาไม่ถึง 2 ปี ให้ใช้ Transcript แทนได้) และแนบเอกสารเข้ามาในระบบ ระบบจะไม่ปรากฏเมนู "รายงานสถานภาพศึกษา" หากยังไม่ถึงระยะเวลา 365 วัน ผู้กู้ยืมยังไม่ต้องดำเนินการใดๆ

- ทั้งนี้หากผู้กู้ยืมไม่รายงานสถานภาพการศึกษาภายในระยะเวลา 2 ปี กองทุนจะดำเนินการแจ้งสถานะการเป็นผู้ครบกำหนดชำระหนี้ ต่อไป

กู้กยศต้องทำจิตอาสาไหม

☰ กองทุนได้กำหนดคุณสมบัติให้ผู้กู้ต้องทำกิจกรรมจิตสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมในระหว่างปีการศึกษา เพื่อขอกู้ยืมเงินในปีการศึกษาถัดไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขัดเกลาจิตใจให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละและมีจิตสาธารณะ โดยกำหนดชั่วโมงสำหรับผู้ขอกู้ยืมเงินแต่ละกลุ่ม ดังนี้

กยศ ลักษณะที่ 1 ได้กี่บาท

ผู้กู้ยืมลักษณะที่ 1 ผู้กู้ยืมมีรายได้ครอบครัวไม่เกิน 360,000 บาท/ปี สามารถกู้ยืมได้ทั้งค่าเล่าเรียนและค่าครองชีพ (รายได้เกิน 360,000 บาท/ปี ไม่สามารถกู้ยืมได้)

กยศ ลักษณะที่2 ได้กี่บาท

2. กู้เป็น ค่าครองชีพ กู้ได้เดือนละ 3,000 บาท หรือ ปีละ 36,000 บาท (รายได้ครอบครัวต้องไม่เกิน 360,000 บาท/ปี)

กยศ ได้เทอมละกี่บาท มัธยม

ทุนการศึกษาที่ได้รับ : ค่าเทอม , ค่าใช้จ่าย 2,400 บาทต่อเดือน (หากอยู่ในระดับชั้น ม.ปลายจะได้รับ 1,200 บาทต่อเดือน) การชำระหนี้ : หลังเรียนจบ 2 ปี และต้องชำระให้หมดภายใน 15 ปี ดอกเบี้ย : ร้อยละ 1 บาทต่อปี