ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง

ทวีปอเมริกาเหนือตะวันออก, ทะเลแคริบเบียน อนุทวีปอินเดีย อเมริกากลาง ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย

ผล

สนธิสัญญาสันติภาพกรุงปารีส (ค.ศ. 1783)

  • บริเตนใหญ่รับรองเอกราชของสหรัฐอเมริกา
  • การสิ้นสุดของจักรวรรดิบริติชที่หนึ่ง
  • สมาพันธ์อิระควอยแตก ดินแดน เปลี่ยนแปลง
  • บริเตนใหญ่ยกพื้นที่ทางตะวันออกของแม่น้ำมิสซิสซิปปี และทางใต้ของเกรตเลกส์และแม่น้ำเซนต์ลอเรนซ์ให้สหรัฐ
  • บริเตนใหญ่ยกอีสต์ฟลอริดา เวสต์ฟลอริดาและมินอร์กาให้สเปน
  • บริเตนใหญ่ยกโตเบโกและเซเนกัลให้ฝรั่งเศส
  • สาธารณรัฐดัตช์ยกนาคปัตตินัม (Negapatnam) ให้บริเตนใหญ่ คู่สงคราม
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    สหอาณานิคม (ก่อนปี 1776)
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    สหรัฐ (หลังปี 1776)
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    เวอร์มอนต์ (หลังปี 1777)
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (หลังปี 1778)

ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
สเปน (หลังปี 1779)
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เนเธอร์แลนด์
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
ไมซอ

อเมริกันพื้นเมือง

ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
บริเตนใหญ่

  • ควิเบก
  • ลอยัลลิสต์

ทหารสนับสนุนเยอรมัน

  • ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    เฮสเซอ-คัสเซิล
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    เฮสเซอ-ฮาเนา
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    ฮาโนเวอร์
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    วัลเดค
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    เบราน์ชไวก์
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    อันสบาค
    ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    อันฮัลท์

อเมริกันพื้นเมือง

  • ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
    สมาพันธ์อิระควอย ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
จอร์จ วอชิงตัน
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เนธาเนียล กรีน
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
โฮเรชิโอ เกตส์
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
อีเซก ฮอปคินส์
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เคานต์รอช็องโบ
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เคานต์เดอกราส
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง

เป็นต้น

ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เซอร์วิลเลียม ฮาว
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
ทอมัส เกจ
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เซอร์กาย คาร์ลทัน
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
เซอร์เฮนรี คลินตัน
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
ลอร์ดคอร์นอวลลิส
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
จอห์น เบอร์กอยน์
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
ริชาร์ด ฮาว
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
วิลเฮล์ม คนึพเฮาเซิน
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง
บารอนรีเดเซิล
ก ปต นอเมร กา ม จจ ราชอห งการเต มเร อง

เป็นต้นกำลัง

สหรัฐ: 40,000 (เฉลี่ย) กะลาสีกองทัพเรือภาคพื้นทวีป 5,000 คน (ณ จุดสูงสุดในปี 1779) ไม่มี ships of the line เรืออื่น 53 ลำ (ปฏิบัติหน้าที่ช่วงใดช่วงหนึ่งในสงคราม)

พันธมิตร: ฝรั่งเศส 36,000 นาย (ในทวีปอเมริกา) ฝรั่งเศสและสเปน 63,000 นาย (ที่ยิบรอลตาร์)

ships of the line 146 ลำ (ปฏิบัติหน้าที่ในปี 1782)

บริเตนใหญ่: กองทัพบก: 48,000 (เฉลี่ย, เฉพาะในทวีปอเมริกาเหนือ) 7,500 (ที่ยิบรอลตาร์) กองทัพเรือ: ships of the line 94 ลำ (ปฏิบัติหน้าที่ในปี 1782) กะลาสี 171,000 นาย

กำลังลอยัลลิสต์: 19,000 (จำนวนทั้งหมดที่รับราชการ)

ทหารสนับสนุนเยอรมัน: 30,000 (จำนวนทั้งหมดที่รับราชการ)

พันธมิตรชนพื้นเมือง: 13,000ความสูญเสีย

สหรัฐ: เสียชีวิตในการยุทธ์ 6,824 นาย เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ 25,000–70,000 คน กำลังพลสูญเสียรวมมากถึง 50,000 คน ฝรั่งเศส: เสียชีวิตในการยุทธ์ 10,000 นาย (75% ในทะเล) สเปน: เสียชีวิต 5,000 นาย

เนเธอร์แลนด์: เสียชีวิต 500 นาย

บริเตนใหญ่: ทหารบกเสียชีวิตในการยุทธ์ 4,000 นาย (เฉพาะทวีปอเมริกาเหนือ) ทหารบกเสียชีวิตจากโรค 27,000 นาย (ทวีปอเมริกาเหนือ) ทหารเรือเสียชีวิตในการยุทธ์ 1,243 นาย, หนีทัพ 42,000 นาย, เสียชีวิตจากโรค 18,500 นาย (1776–1780) เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ 51,000 นาย

เยอรมัน: เสียชีวิตในการยุทธ์ 1,800 นาย หนีทัพ 4,888 นาย เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ 7,774 นาย

สงครามปฏิวัติอเมริกา (อังกฤษ: American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (อังกฤษ: American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา

สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของกลุ่มผู้รักชาติ (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด

ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1776 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม

เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777

ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780

ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน

วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริติช

อ้างอิง[แก้]

  • (1780–83)
  • (1780–84)
  • Oneida, Tuscarora, Catawba, Lenape, Chickasaw, Choctaw, Mahican, Mi'kmaq (until 1779), Abenaki, Cheraw, Seminole, Pee Dee, Lumbee, Watauga Association
  • Onondaga, Mohawk, Cayuga, Seneca, Mi'kmaq (from 1779), Cherokee, Odawa, Muscogee, Susquehannock, Shawnee
  • ↑ Duncan, Louis C. MEDICAL MEN IN THE AMERICAN REVOLUTION เก็บถาวร 2019-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (1931).
  • ↑ Jack P. Greene and J. R. Pole. A Companion to the American Revolution (Wiley-Blackwell, 2003), p. 328.
  • ↑ Jonathan Dull, A Diplomatic History of the American Revolution (Yale University Press, 1985), p. 110.
  • "Red Coats Facts – British Soldiers in the American Revolution". totallyhistory.com.
  • Mackesy (1964), pp. 6, 176 (British seamen).
  • Jasanoff, Maya, Liberty's Exiles: American Loyalists in the Revolutionary World (2011).
  • A. J. Berry, A Time of Terror (2006) p. 252
  • Greene and Pole (1999), p. 393; Boatner (1974), p. 545.
  • Howard H. Peckham, ed., The Toll of Independence: Engagements and Battle Casualties of the American Revolution (Chicago: University of Chicago Press, 1974). American dead and wounded: Shy, pp. 249–50. The lower figure for number of wounded comes from Chambers, p. 849.