ข นตอนการเข ยนว ทยาน พนธ ศร ปท ม ว ศวกรรมโยธา

ดร.ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา เกียรตินิยมอันดับ 1 จากมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี พ.ศ.2546 หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ Asian Institute of Technology (AIT) ในสาขาวิศวกรรมโครงสร้าง เมื่อจบการศึกษาเมื่อปี พ.ศ.2548 ได้เข้าทำงานในตำแหน่งวิศวกรออกแบบสะพานที่ บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด ซึ่งได้มีผลงานออกแบบสะพานซึ่งเป็นที่ประจักษ์มากมาย ต่อมาได้รับทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 10 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และศึกษาระดับปริญญาเอกที่สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งมีงานวิจัยมุ่งเน้นไปที่พฤติกรรมของโครงสร้างภายใต้การสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว โดยในปี พ.ศ.2553 ได้ไปศึกษาแลกเปลี่ยนที่ University of Canterbury ประเทศนิวซีแลนด์ เมื่อจบการศึกษาในปี พ.ศ.2555 ได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ต่อมาได้ย้ายเข้ามาทำงานที่ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจนถึงปัจจุบัน ส่วนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมทางวิศวกรรมระดับสามัญวิศวกรโยธา และยังเป็นผู้ชำนาญการในการสอบสัมภาษณ์เพื่อเลื่อนระดับภาคีวิศวกรเป็นสามัญวิศวกร ของสภาวิศวกร

1.2 การศึกษา

  • Doctor of Philosophy in Engineering (International Program), Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University, พ.ศ.2555
  • Visiting researcher, University of Canterbury, New Zealand, พ.ศ.2553
  • Master of Engineering (Structural Engineering), Asian Institute of Technology, พ.ศ.2548
  • ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) เกียรตินิยม อันดับ 1, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พ.ศ.2546

1.3 หัวข้อวิจัยที่ใช้จบการศึกษา

  • ระดับปริญญาตรี : การศึกษาหลักการทำงานของสเตรนเกจและการ์ดปรับภาวะสัญญาณจาก-สเตรนเกจ คณะกรรมการประกอบด้วย ผศ.สรัณกร เหมะวิบูลย์ (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์) และ อ.แสงชัย มังกรทอง (กรรมการ)
  • ระดับปริญญาโท : Development of Ferrocement Armored Panels คณะกรรมการประกอบด้วย รศ.ดร.พิชัย นิมิตยงสกุล (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์), น.ต.ดร.ธนากร พีระพันธุ์ (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ร่วม) และ รศ.ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย (กรรมการ)
  • ระดับปริญญาเอก : Cyclic Performance of Subassemblage Beam-Column Joint with Column Fixed at Base โดยมีคณะกรรมการประกอบด้วย รศ.ดร.อมร พิมานมาศ (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์), รศ. ดร.วิญญู รัตนปิติกรณ์ (กรรมการ), รศ.ดร.วิโรจน์ บุญญภิญโญ (กรรมการ), ผศ.ดร.มงกุฎ เพียรธนะกูลชัย (กรรมการ), และ ผศ.ดร.อาณัติ เรืองรัศมี (กรรมการ)

1.4 ตำแหน่งทางวิชาการ

  1. รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2564-ปัจจุบัน
  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-2564
  3. อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2557-2558
  4. อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, พ.ศ.2553-2556

1.5 วิชาที่สอน

ระดับปริญญาตรี

  1. วย.221 กลศาสตร์วิศวกรรมสำหรับวิศวกรโยธา 1 (CE 221 Engineering Mechanics for Civil Engineers 1), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2553-2555.
  2. วย.308 เทคโนโลยีคอนกรีต (CE 308 Concrete Technology), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2553-2556.
  3. วย.304 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (CE 304 Reinforced Concrete Design), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2553-2556.
  4. วย.411 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (CE 411 Prestressed Concrete Design), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, พ.ศ.ปีการศึกษา 2555.
  5. วย.112 แนะนำสู่วิศวกรรมโยธา (CE 112 Introduction to Civil Engineering), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2554.
  6. คณ.207 คณิตศาสตร์วิศวกรรมประยุกต์ (MA 207 Applied Engineering Mathematics), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2555-2556.
  7. วศย.427 วิศวกรรมแผ่นดินไหวเบื้องต้น (CVE 427 Introduction to Earthquake Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557.
  8. วศย.422 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (CVE422 Prestressed Concrete Design), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2556-2557 และ 2560-ปัจจุบัน.
  9. วศย.215 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 (CVE 215 Structural Analysis 1), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2558.
  10. วศย.316 การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 (CVE316 Structural Analysis 2), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2556 และ 2559.
  11. วศย.251 คอนกรีตเทคโนโลยี (CVE251 Concrete Technology), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557-ปัจจุบัน.
  12. วศย.408 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมโยธา/สิ่งแวดล้อม (CVE 408 Computer Applications for Civil Engineering/Environmental), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557, 2562-2563.
  13. วศย.321 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (CVE 321 Reinforced Concrete Design), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557-ปัจจุบัน.
  14. วศย.212 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรโยธา (CVE212 Advanced Mathematics for Civil Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557.
  15. วศย. 252 วัสดุวิศวกรรมโยธาและการทดสอบ (CVE252 Civil Engineering Materials and Testing), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2559-ปัจจุบัน.
  16. วศย.334 วิศวกรรมฐานราก (CVE334 Foundation Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2559.
  17. ทย.201 วัสดุวิศวกรรมโยธา (CET201 Civil Engineering Materials), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2560-2561.
  18. ทย.350 การบำรุงรักษางานระบบภายในอาคาร (CET350 Civil Engineering Materials Maintenance of Facility Systems in Building), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2560.
  19. ทย.101 สถิตยศาสตร์และกลศาสตร์วัสดุ (CET 101 Statics and Mechanic of Materials), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  20. ทย.205 เทคโนโลยีคอนกรีตและการประยุกต์ใช้ (CET205 Concrete Technology and Applications), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561-2562.
  21. ทย.304 การออกแบบโครงสร้างชั่วคราว (CET304 Design of Temporary Structures), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  22. ทย.305 ปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างชั่วคราว (CET305 Design of Temporary Structures Laboratory), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  23. ทย.300 เทคโนโลยีการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กและการประยุกต์ใช้ (CET300 Reinforced Concrete Design Technology and Applications), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561-ปัจจุบัน.
  24. ทย.302 ปฏิบัติการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กและการประยุกต์ใช้ (CET302 Reinforced Concrete Design and Applications Laboratory), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561-ปัจจุบัน.
  25. วย.214 วัสดุวิศวกรรมโยธา (CE 214 Civil Engineering Materials), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2561-2563.
  26. ทย.402 เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ในงานวิศวกรรมโยธา (CET.402 Technology and Software for Civil Engineering), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  27. วย.327 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (CE 327 Reinforced Concrete Design), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2562-ปัจจุบัน.
  28. วย.313/314 กำลังของวัสดุ 2 (CE 313/314 Strength of Materials II), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2562-2563 และปัจจุบัน
  29. วย.303 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 (CE 303 Structural Analysis 1), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2563.
  30. ทย.402 เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ในงานวิศวกรรมโยธา (CET.402 Technology and Software for Civil Engineering), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  31. ทย.308 เทคโนโลยีการฟื้นฟูและบำรุงรักษาอาคาร (CET.308 Building Rehabilitation and Maintenance), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2563.
  32. วย.320 สัมมนาและรายงาน (CE 320 Seminar and Report), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2564.
  33. วย.326 เทคโนโลยีคอนกรีต (CE 326 Concrete Technology), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2564.

ระดับปริญญาโท

  1. วศย 534 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง (CVE534 Advanced Foundation Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2557.
  2. วศย 632 การออกแบบโครงสร้างต้านทานแผ่นดินไหว (CVE 632 Seismic Design of Structures), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2558.
  3. วศย 531 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง (CVE531 Advanced Structural Analysis), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2558.
  4. วศย 502 การออกแบบงานวิจัยทางวิศวกรรมโยธา (CVE502 Research Design in Civil Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2557.
  5. วศย 533 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง (CVE533 Advanced Reinforced Concrete Design), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2557 และ 2559-2560.
  6. วศย 636 เทคนิคและวัสดุที่ใช้ซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตที่เสื่อมสภาพ (CVE636 Repair Techniques and Materials for Deteriorated Concrete Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2561.
  7. วศย 537 การออกแบบโครงสร้างขั้นสูง (CVE537 Advanced Structural Design), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2557, ปีการศึกษา 2561.
  8. วศม 532 พฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีต (CVE532 Behaviors of Concrete Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2557, ปีการศึกษา 2563.
  9. วศม 533 พฤติกรรมของโครงสร้างเหล็ก (CVE533 Behaviors of Steel Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2557, ปีการศึกษา 2563.
  10. วศย 531 ทฤษฎีและกลไกของโครงสร้างคอนกรีต (CVE531 Theory and Mechanism of Concrete Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2564.
  11. วศย 534 การออกแบบขั้นสูงสำหรับโครงสร้างวิศวกรรม (CVE534 Advanced Design for Engineering Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2564.
  12. วศย 535 วิทยาการออกแบบอาคารสูง (CVE535 Tall Building Design Technology), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2564.
  13. วศย 537 การออกแบบโครงสร้างกักกัน (CVE537 Design of Retaining Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2565.

1.6 การให้คำปรึกษาปริญญานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา

  1. ธรรมการ ภัคพิตรพิบูล ภายใต้หัวข้อ “การปรับปรุงเอลิเมนต์โครงข้อแข็งสำหรับการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์แบบไร้เชิงเส้นของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยพิจารณาการเสียรูปจากแรงเฉือน,” ปีการศึกษา 2559.
  2. ปกรณ์ภัทร บุดชา ภายใต้หัวข้อ “ผลกระทบของมาตรการออกแบบสะพานเพื่อต้านทานแผ่นดินไหวของไทย ที่มีต่ออัตราส่วนความต้องการต่อวิสัยสามารถของเสาเดี่ยวคอนกรีตเสริมเหล็ก,” ปีการศึกษา 2562.

1.7 งานบริการทางวิชาชีพวิศวกรรม

  1. วิศวกรโครงสร้าง (2564) การศึกษาผลกระทบและอันตรายที่เกิดจากฟ้าผ่าลงบนรางคอนกรีตของโครงการรถไฟฟ้า Monorail สายสีเหลือง (A Study of Effects and danger caused by Lightning on Guideway Beams of Yellow and Pink Line Monorail Projects) ทั้งขนาด 60 kA และ 200 kA โดยวิเคราะห์ทั้งผลที่เกิดจากอุณหภูมิและคลื่นกระแทก ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  2. วิศวกรโครงสร้าง (2563) การวิเคราะห์และออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร (Analysis and Design of Machine Foundation) ขนาด 35 ตัน โดยมีการวิเคราะห์ทั้งการสั่นสะเทือนแบบอิสระและการสั่งสะเทือนแบบบังคับ ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  3. วิศวกรโครงสร้าง (2562) การตรวจประเมินสะพานแผ่นพื้นอัดแรงรูปกล่อง (Adjacent Box-Beam Superstructure) ช่วงยาว 20 เมตร ด้วยวิธี ตัวคูณประเมิน (Rating Factors) ทั้งแบบ AASHTO LFR และ AASHTO LRFR ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  4. วิศวกรโครงสร้าง (2562) ออกแบบโครงสร้างส่วนล่างของสะพานท้ายเขื่อน (Down-Steam Bridge) ของโครงการโรงไฟฟ้าน้ำเทิน 2 (Nam Theun 2 Power Plant) ที่ประเทศลาว ตอม่อสูง 25 เมตร รองรับน้ำหนักรถส่งถ่านหินน้ำหนักสูงสุดขนาด 63 ตัน/คัน ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  5. วิศวกรโครงสร้าง (2562) ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตเสริมเหล็ก (Main Workshop Slab) สำหรับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง) ความยาวช่วงพื้นเท่ากับ 4 ม. รองรับน้ำหนักบรรทุกจร 1600 กก./ม.2 และรถขนของขนาด 29 ตัน ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  6. วิศวกรโครงสร้าง (2562) ตรวจสอบกำลังรับน้ำหนักของโครงสร้างส่วนล่างของสะพานที่เสาเข็มและตอม่อเกิดการเยื้องศูนย์ ในโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางปะอิน-นครราชสีมา (M6) ตอม่อสูง 27.5 ม. รองรับคานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องแบบชิ้นส่วนย่อยขนาดกว้าง 16.3 ม. ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  7. วิศวกรโครงสร้าง (2561) การคำนวณออกแบบโครงสร้างเหล็ก เพื่อรองรับหม้อต้มน้ำ (Boiler) และปล่อง (Chimney) ขนาดความจุ 240 ตัน ชุดโครงสร้างกว้าง 230 เมตร ยาว 700 เมตร สูง 40 ม. ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  8. วิศวกรโครงสร้าง (2561) การคำนวณเพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของคานติดตั้งชิ้นส่วนคอนกรีต ความยาวช่วงเสา 42.5 ม. และรับน้ำหนักคานสะพาน 1200 ตัน ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  9. ผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค (2561) โครงการการวางผังภาคกลาง ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท ออโรส คอนซัลแทนท์ แอนด์ บิวสิเนส โซลูชั่น.
  10. วิศวกรออกแบบสะพาน (2560) โครงการปรับปรุงสะพานกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ดำเนินการโดย ส่วนพัฒนากายภาพ สำนักงานอธิการบดี มูลค่าโครงการก่อสร้าง 9,000,000 บาท
  11. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2560) โครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี รับผิดชอบในการออกแบบสะพานทางร่วม (Interchange bridges) จุดต่อ 5, 7 และนครไชยศรี รับผิดชอบโครงการโดยบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  12. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2559) โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู หลักสี่-มีนบุรี โดยวิเคราะห์และออกแบบอาคารจอดรถส่วนบุคคล ขนาด 94,656 ตร.ม. และอาคารสำนักงานสูง 6 ชั้น ขนาด 6,160 ตร.ม. ทั้ง 2 อาคารต้องออกเป็นแผ่นพื้นเป็นแบบไร้คานอัดแรงทีหลังช่วงยาว 8 ม. รับผิดชอบโครงการโดยบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  13. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2559) โครงการประเมินสมรรถนะของโครงสร้างท่าเทียบเรือที่มีอยู่เดิม (Existing jetty structures) เจ้าของโครงการคือ บริษัท xxx จำกัด เป็นประเมินเพื่อหาแนวทางเสริมกำลัง และวิเคราะห์ความเสียหาย สำหรับที่จะวางแนวท่อเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มเส้นทางการผลิตใหม่
  14. วิศวกรผู้ตรวจสอบการออกแบบ (2558) โครงการรถไฟสายสีแดง สัญญา 1 บางซื่อ-ดอนเมือง รับผิดชอบโครงการโดยบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  15. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2558) การเสริมกำลังคานถ่ายแรงซึ่งรองรับน้ำหนักบรรทุก 3,000 ตัน ในอาคารที่พักอาศัยขนาดใหญ่ (คอนโดมิเนียม สูง 53 ชั้น)
  16. วิศวกรออกแบบสะพาน (2558) โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบระบบรถไฟทางคู่ ช่วงเด่นชัย-เชียงใหม่ รับผิดชอบโครงการโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด เสนอต่อ สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม
  17. วิศวกรออกแบบสะพาน (2557) โครงการรถไฟสายสีแดง สัญญา 1 บางซื่อ-ดอนเมือง และสัญญา 2 ดอนเมือง-รังสิต รับผิดชอบโครงการโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  18. หัวหน้าโครงการ (2555) การทดสอบกำลังรับน้ำหนักของสะพานข้ามคลอง 3 โครงการ เดอะพาลาซเซ็ตโต้ คลองหลวง เสนอต่อบริษัท วังทอง กรุ๊ป จำกัด
  19. หัวหน้าโครงการ (2555) โครงการประเมินสมรรถนะของโครงสร้างท่าเทียบเรือที่มีอยู่เดิม (Existing jetty structures) เจ้าของโครงการคือ บริษัท xxx จำกัด เป็นประเมินและหาทางเลือกสำหรับการวางแนวท่อขนส่งน้ำมันสำหรับโครงสร้างที่มีอยู่เดิมอายุ 50 ปี รวมความยาวประมาณ 2.0 กม.
  20. วิศวกรออกแบบสะพาน (2555) โครงการก่อสร้างทางยกระดับ สะพานลอยข้ามแยกและทางต่างระดับ (โครงการ ง.3) เจ้าของโครงการ คือ กรุงเทพมหานคร เป็นการออกแบบสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องต่อเนื่อง 5 ช่วง โดยมีช่องจราจรตั้งแต่ 2 – 6 ช่อง ทั้งรูปแบบที่เป็นคานต่อเนื่องวางบนเสาสะพานอย่างง่ายและคานต่อเนื่องแบบหล่อเป็นเนื้อเดียวกับเสาสะพาน
  21. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2554) โครงการขนย้ายเครื่องจักรกลขนาด 400 ตัน จากท่าเรือแหลมฉบังไปยังชายแดนประเทศลาว ในโครงการนี้เป็นการวิเคราะห์หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในสะพานเนื่องจากรถที่มีพิกัดน้ำหนักบรรทุกพิเศษ พร้อมทั้งหาแนวทางแก้ไขในกรณีที่หน่วยแรงมีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ เจ้าของงานคือ บริษัท ยิวชุน ประเทศไทย (จำกัด)
  22. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2554) โครงการทดสอบกำลังรับน้ำหนักของสะพานรถไฟลอยฟ้าสายสีแดง (ตลิ่งชัน-บางซื่อ) เจ้าของโครงการ คือ การรถไฟแห่งประเทศไทยเป็นการทดสอบสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องต่อเนื่อง 3 ช่วง (33.5-40.0-40.0 ม.) น้ำหนักที่ใช้ในการทอสอบรวมต่อช่วงคานเท่ากับ 660 ตัน โดยการทดสอบเป็นไปตามมาตรฐานอังกฤษ
  23. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2553) โครงการวิเคราะห์การเสริมกำลังไซโลเก็บซีเมนต์ผงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 22 ม. ความสูงรวม 70 เมตร โดยใช้โปรแกรม FEM ชนิด Shell element เพื่อวิเคราะห์หน่วยแรงสูงสุดจากการปล่อยซีเมนต์ในเงื่อนไขต่างๆเพื่อนำไปออกแบบรูปแบบการเสริมกำลัง มูลค่างาน 96 ล้านบาท
  24. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2553) โครงการศึกษาและออกแบบฐานรากรับแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องจักร ขนาด 30 ตัน จำนวน 3 ตัว โครงสร้างฐานรากถูกจำลองโดยโปรแกรมไฟไนต์อิลิเมนต์ GTSTRUDL ด้วย solid element เพื่อวิเคราะห์หารูปแบบการสั่น (Mode shapes) และใช้โปรแกรม SAP2000 เพื่อวิเคราะห์หน่วยแรงในฐานรากและเสาเข็ม มูลค่าก่อสร้าง 100 ล้านบาท
  25. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2552) โครงการเสริมกำลังอาคารจอดรถสูง 6 ชั้น คิดเป็นพื้นที่การเสริมกำลัง 21,235.50 ม.² ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กล้วยน้ำไท) ในโครงการนี้เป็นการเสริมกำลังสำหรับน้ำหนักบรรทุกปรกติ โดยใช้ (1) บ่าเหล็ก (Steel bracket) เพื่อรับแรงเฉือนทะลุ ร่วมกับ (2) คาร์บอนไฟเบอร์ (CFRP) เพื่อรับแรงดัด การออกแบบเป็นไปตามมาตรฐาน ACI440-2008 และมีการทำการทดสอบในสนามเมื่อเสร็จสิ้นโครงการด้วย รวมมูลค่าการเสริมกำลัง 20 ล้านบาท
  26. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2552) โครงการเสริมกำลังอาคารจอดรถชั้นใต้ดินของห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน ในโครงการนี้เป็นการเสริมกำลังแผ่นพื้นไร้คานท้องเรียบด้วย (1) บ่าเหล็ก (Steel bracket) เพื่อรับแรงเฉือนทะลุร่วมกับ (2) คาร์บอนไฟเบอร์ (CFRP) เพื่อรับแรงดัด โดยออกแบบเป็นไปตามมาตรฐาน ACI440-2008 เพื่อรับน้ำหนักบรรทุกเพิ่มจากเดิม 400 กก./ม.2 เป็น 800 กก./ม.2 ทั้งนี้ได้มีการออกแบบรูปแบบการทดสอบจริงในสนาม (Field load test) ในส่วนท้ายโครงการด้วย รวมมูลค่าการเสริมกำลัง 14 ล้านบาท
  27. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2551) โรงงานเก็บปุ๋ยที่จังหวัดชัยนาท โครงสร้างเป็นอาคารโล่งชั้นเดียวสูง 15 ม. พื้นที่รวม 1,800 ม.2 พื้นโรงงานวางบนเสาเข็ม หลังคาเป็นโครงข้อหมุนช่วงยาว 40 ม
  28. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2550) ของกลุ่มที่ปรึกษาเพื่อจัดทำ มยผ. 1312-51 มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างอาคารอพยพในเขตเสี่ยงภัยสึนามิระดับปานกลาง ให้กับกรมโยธาธิการและผังเมือง
  29. วิศวกรออกแบบสะพาน (2549) สะพานเหล็กรูปตัวไอโค้งในระนาบ (Horizontally I-curved Bridge) สามช่วงต่อเนื่อง ความยาวช่วงละ 50 เมตร และรวมความยาวทั้งหมด 220 ม. เพื่อใช้เป็นสะพานระบายรถออกจากศูนย์การค้าบนถนนรามอินทรา ในโครงการปรับปรุงสภาพการจราจรของศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์ มูลค่าก่อสร้างเฉพาะตัวสะพาน 84 ล้านบาท รับผิดชอบโดย Asdicon Cooperation Company Limited
  30. วิศวกรออกแบบสะพาน (2549) โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายแม่กลอง (ช่วงหัวลำโพง-มหาชัย) ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร(สนข) และการรถไฟฯ (รฟท) เป็นโครงการสำรวจและออกแบบรายละเอียดทางรถไฟฟ้ายกระดับจากหัวลำโพงสิ้นสุดที่สถานีมหาชัย ขนาดของรางรถไฟเป็นชนิด Standard Gauge (กว้าง 1.435 ม.) ความยาวรวม 37.035 กม. โครงสร้างหลักๆแบ่งเป็น 2 ช่วง คือช่วงในเขต กทม. และช่วง นอกเขตเมือง มูลค่างานตามสัญญาจ้างสำรวจและออกแบบ 163.5 ล้านบาท มูลค่าโครงการทั้งหมดประมาณ 40,000 ล้านบาท รับผิดชอบโดย Asdicon Cooperation Company Limited
  31. วิศวกรออกแบบสะพาน (2549) สะพานข้ามลำน้ำซึ่งเป็นส่วนต่อขยายจากโครงการก่อสร้างเขื่อนน้ำงึม 2 ที่ประเทศลาว สะพานช่วงเดี่ยวยาว 80 ม. ตัวตอม่อสูง 21 เมตร ตัวสะพานออกแบบให้สามารถต้านทานแรงดันน้ำที่ความเร็ว 8 ม./วินาที และออกแบบเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว รับผิดชอบโดย Asdicon Cooperation Company Limited
  32. วิศวกรที่ปรึกษา (2548) ควบคุมงานก่อสร้างอาคารหอพักนักศึกษาในสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย เป็นอาคาร คสล. คู่ สูง 3 ชั้น มูลค่าการก่อสร้าง 50 ล้านบาท รับผอดชอบโดย บริษัท Vanguard, Ltd.
  33. วิศวกรควบคุมงาน (2546) ควบคุมงานก่อสร้างอาคารหอพักนักศึกษาบริเวณมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นอาคาร คสล. คู่ สูง 4 ชั้น มูลค่าการก่อสร้าง 30 ล้านบาท รับผิดชอบโดย บริษัท Fai construction, Ltd.

1.8 ประเภทใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

  1. วิศวกรโยธา รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จากสภาวิศวกร (COE) ระดับสามัญวิศวกร, พ.ศ.2558-ปัจจุบัน
  2. วิศวกรโยธา รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จากสภาวิศวกร (COE) ระดับภาคีวิศวกร, พ.ศ.2546-2557

1.9 บรรณาธิการในวารสารทางวิชาการ

  1. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, วารสารคอนกรีต (TCA Magazine), สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2565-2566.
  2. กองบรรณาธิการ, สารวิศวกรรม (COE Newsletters), สภาวิศวกร, ประจำปี พ.ศ.2559-2562.
  3. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา (EIT Journal : Research and Development), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2556-2559.
  4. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, วิศวกรรมสาร (Thailand Engineering Journal), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2556-2559.
  5. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, โยธาสาร (Civil Engineering Magazine), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2554-2556.

1.10 กิจกรรมเพื่อสังคมทางวิศวกรรม

  1. ประธาน, คณะอนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2566-2567.
  2. กรรมการ, คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2566-2568.
  3. หัวหน้าคณะทำงาน, (2566) คณะทำงานเพื่อเรียบเรียง “ผลงานเด่นทางวิศวกรรมโครงสร้าง,” คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน ประจำปี 2564 – 2565, คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา ประจำปี 2563-2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
  4. กรรมการและเลขานุการ, คณะกรรมการผู้จัดทำมาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง (วสท.1008), คณะอนุกรรมการสาขาคอนกรีตและวัสดุ ประจำปี พ.ศ.2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  5. กรรมการและเลขานุการ, คณะกรรมการผู้จัดทำมาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตอัดแรง (วสท.1009), คณะอนุกรรมการสาขาคอนกรีตและวัสดุ ประจำปี พ.ศ.2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  6. กรรมการ, อนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2564-2565.
  7. ที่ปรึกษา, คณะกรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ภาคเหนือ, ประจำปี พ.ศ.2563-2564.
  8. คณะกรรมการอำนวยการ, สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ประจำปี พ.ศ.2562 – ปัจจุบัน
  9. ประธาน, อนุกรรมการสาขาคอนกรีต วัสดุและการก่อสร้าง, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2561-ปัจจุบัน.
  10. ประธาน, อนุกรรมการสาขาโครงสร้าง, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2565-ปัจจุบัน.
  11. กรรมการ, คณะทำงานตรวจสอบปัญหาอาคารและสิ่งปลูกสร้าง, สภาวิศวกร, ประจำปี พ.ศ.2560-2562.
  12. เลขานุการ/คณะกรรมการวิชาการและกรรมการสมทบ, อนุกรรมการสาขาคอนกรีต วัสดุและการก่อสร้าง, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2557-2560.
  13. กรรมการ, อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ และ อนุกรรมการบริหารสำนักงานสภาวิศวกร, สภาวิศวกร, พ.ศ.2559-2562.
  14. ผู้ชำนาญการ, ในการเป็นสอบสัมภาษณ์และตรวจผลงาน เพื่อการเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกรโยธา, สภาวิศวกร, 2558-ปัจจุบัน.
  15. กรรมการ/รองประธาน, คณะกรรมการโครงการ, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ. 2554-2559.
  16. กรรมการและเลขานุการ, อนุกรรมการโครงสร้างและสะพาน, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2554-2558.
  17. ประธานคณะอนุกรรมการ, อนุกรรมการคอนกรีตและวัสดุ, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2556-2558.
  18. เลขานุการและคณะทำงาน, คู่มือเลื่อนระดับสามัญวิศวกร 7 สาขา , สภาวิศวกร, พ.ศ.2555.
  19. เลขานุการและคณะทำงาน, คู่มือเลื่อนระดับสามัญวิศวกร สาขาโยธา แขนงวิชาโครงสร้าง, สภาวิศวกร, พ.ศ.2555.

1.11 ภาระงานที่มีต่อภาควิชา

  1. หัวหน้าหน่วยวิจัยและพัฒนานวัตกรรมโครงสร้างพื้นฐานและระบบโครงสร้างการขนส่งทางราง, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2565-ปัจจุบัน
  2. ประธานโครงการบริการวิชาชีพทางวิศวกรรมโยธา, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2564-2565.
  3. ประธานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2559-2561.
  4. หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, พ.ศ.2556.

1.12 ภาระงานที่มีต่อคณะ

  1. คณะกรรมการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, พ.ศ.2565-2566
  2. คณะกรรมการบริหารศูนย์แห่งความยอดเยี่ยมทางวิศวกรรมเพื่อความยั่งยืน, คณะวิศวกรรมศาสตร์, พ.ศ. 2565-2566
  3. คณะกรรมการกลั่นกรองภาระงานภาระงานสาขาขาดแคลน สายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2559-2561.

1.13 ภาระงานที่มีต่อมหาวิทยาลัย

  1. กรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ประจำมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ตำแหน่งสายวิชาการ), พ.ศ.2565-ปัจจุบัน
  2. ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายพัฒนากายภาพและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-2563
  3. ผู้อำนวยการส่วนพัฒนากายภาพ (ปฏิบัติหน้าที่), สำนักงานอธิการบดี, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-2560
  4. ประธานคณะกรรมการ, คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานและทรัพยากรน้ำประจำหน่วยงาน ประจำปีการศึกษา 2559
  5. อนุกรรมการ,คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) ในการพัฒนามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1.14 ภาระงานที่มีต่อองค์กรในภาครัฐ

  1. ผู้เชี่ยวชาญในคณะทำงาน, โครงการปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบและก่อสร้าง ถนนและสะพานเพื่อรองรับแรงเนื่องจากแผ่นดินไหว, กรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, พ.ศ.2558-2559.
  2. ผู้เชี่ยวชาญในคณะทำงาน, คณะทำงานศึกษาคุณสมบัติของเหล็กเส้นที่ผลิตโดยผ่านกรรมวิธีทางความร้อน (Hot Treatment), กรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, พ.ศ.2561-2562.
  3. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2564) งานจ้างก่อสร้างงานสาธารณูปโภคสาธารณูปการ และงานระบบประกอบอาคารและภายนอกอาคาร (ระยะที่ 2), สภาผู้แทนราษฎร, มูลค่าโครงการ 600,572,000 บาท
  4. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  5. คณะทำงานเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของคณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีกำแพงอาคาร service hall ท่าอากาศยานดอนเมืองพังถล่ม เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2564, กระทรวงคมนาคม
  6. คณะอนุกรรมการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีเกิดอุบัติเหตุคานสะพานกลับรถ โครงการบูรณะและปรับปรุงสะพาน ทางหลวงหมายเลข 35 ตอนสะพานข้ามแม่น้ำท่าจีนตะวันตก-นาโคก ตอน 2 จังหวัดสมุทรสาคร พังถล่ม เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2565, กระทรวงคมนาคม
  7. คณะกรรมตรวจการจ้าง, (พ.ศ.2565) โครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ พร้อมอาคารประกอบ, สภาผู้แทนราษฎร, มูลค่าโครงการ 12,280,000,000 บาท
  8. คณะอนุกรรมการด้านมาตรฐานความปลอดภัยในการซ่อมบำรุง (ผู้แทนสภาวิศวกร), คณะกรรมการจัดระเบียบมาตรการควบคุมงานก่อสร้างของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม, กระทรวงคมนาคม, 2565-2566.
  9. คณะกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบและก่อสร้าง ถนน สะพาน ทางลอด และอุโมงค์ เพื่อรองรับแรงเนื่องจากแผ่นดินไหว, กรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, 2566-2567
  10. กรรมการจัดทำมาตรฐานและคู่มือการออกแบบและก่อสร้าง ถนน สะพาน ทางลอดและอุโมงค์ สำหรับการใช้งานคอนกรีตสมรรถนะสูงกรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, 2566-2567

1.15 คณะกรรมการในโครงการทางวิศวกรรมของมหาวิทยาลัย (ที่สำคัญ)

  1. คณะกรรมการควบคุมงาน, (พ.ศ.2559 – 2561) โครงการงานก่อสร้างและปรับปรุงกลุ่มอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 686 ล้านบาท
  2. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2559 – 2560) โครงการก่อสร้างอาคารโรงเรียนสาธิต มศว องครักษ์ (ฝ่ายประถม) พร้อมปรับปรุงบริเวณโดยรอบ ระยะที่ 2, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 69 ล้านบาท
  3. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561) โครงการจ้างก่อสร้างปรับปรุงอาคารกิจกรรมนิสิตและพื้นที่ด้านหน้าอาคาร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 12.25 ล้านบาท
  4. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561) โครงการจ้างปรับปรุงระบบไฟฟ้าและสาธารณูปโภคอาคารเรียนรวม (อาคาร 14), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 36,400,400 บาท
  5. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561 – 2562) โครงการซื้อพร้อมติดตั้งวัสดุและครุภัณฑ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐ – มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จังหวัดกรุงเทพมหานคร , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 13,646,303.85 บาท
  6. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561 – 2562) โครงการจ้างซ่อมแซมโครงสร้างฐานรากอาคารประสานมิตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 3.4 ล้านบาท
  7. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2562) โครงการงานปรับปรุงอาคารและกายภาพของคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ภายหลังบอกเลิกสัญญาในส่วนงานที่เหลือ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 18,141,000 บาท
  8. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2562 – 2563) โครงการปรับปรุงอาคารเรียน 6, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 10.91 ล้านบาท
  9. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2562 – 2563) โครงการก่อสร้างงานกลุ่มอาคารเรียนพร้อมระบบสาธารณูปโภคภายใน-ภายนอก โรงเรียนสาธิตชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แม่แจ่ม, มูลค่าโครงการ 20 ล้านบาท
  10. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2564) โครงการก่อสร้างอาคารนวัตกรรมสุขภาวะ อาหารและนิติกรรม 1 หลัง (ส่วนที่เหลือ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 327.5 ล้านบาท
  11. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2564) งานควบคุมงานก่อสร้างอาคารนวัตกรรมสุขภาวะ อาหารและนิติกรรม 1 หลัง (ส่วนที่เหลือ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 13 ล้านบาท
  12. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563) โครงการจ้างก่อสร้างปรับปรุงอาคาร 6 ชั้น 1, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 6,120,000 บาท
  13. ประธานคณะกรรมการจัดทำแบบรูปรายการงานก่อสร้าง (พ.ศ.2563), รายการ จ้างก่อสร้างอาคารหอพักนิสิต มศว องครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 450,000,000 บาท
  14. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2566 – 2565) โครงการจ้างปรับปรุงและตกแต่งหอประชุมใหญ่โรงเรียนสาธิต มศว องครักษ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, มูลค่าโครงการ 41.5 ล้านบาท
  15. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2565) อาคารผู้ป่วยนอก (OPD), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 500 ล้านบาท
  16. หัวหน้าคณะกรรมการควบคุมงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2564 – 2565) โครงการจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ระยะที่ 3), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 40,960,000บาท
  17. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2564-2565) โครงการก่อสร้างหอพักนิสิต มศว องครักษ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 450,000,000บาท
  18. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2564-2565) โครงการปรับปรุงถนนและระบบระบายน้ำโดยรอบมหาวิทยาลัย, มูลค่าโครงการ 28.67 ล้านบาท
  19. หัวหน้าคณะกรรมการควบคุมงานจ้างก่อสร้าง, (พ.ศ.2565-2566) ศูนย์เทคโนโลยีเกษตร วิจัยและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 41,990,000 บาท
  20. หัวหน้าคณะกรรมการควบคุมงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2565 – 2566) โครงการจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ระยะที่ 4), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 44,590,000 บาท
  21. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ, (พ.ศ.2565-2566) โครงการจ้างปรับปรุงอาคาร 2 ชั้น 1 คณะมนุษยศาสตร์ (ครั้งที่ 2), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 10,887,000 บาท
  22. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2565-2567) โครงการจ้างปรับปรุงอาคารหอประชุม มศว ประสานมิตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 125,000,000 บาท
  23. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างออกแบบ, (พ.ศ.2565-2566) โครงการจ้างออกแบบอาคารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 34,895,000 บาท

1.16 งานบริการวิชาการทางวิศวกรรม

  1. ประธานโครงการ, (2561) โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคโนโลยีการเสริมความแข็งแรงอาคารต้านแผ่นดินไหวและการตรวจสอบงานก่อสร้างเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสำนักพัฒนาและบำรุงรักษาอาคารราชพัสดุ,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง, มูลค่างาน 4.55 ล้านบาท.
  2. ประธานโครงการ, (2561) โครงการศึกษา “การทดสอบน้ำหนักบรรทุกของคานคอนกรีตอัดแรงขนาดเท่าจริง (Full-Scale Load tests of Prestressed Concrete Girders),” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 6.05 ล้านบาท.
  3. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “การทดสอบน้ำหนักบรรทุกของสะพานข้ามแยกบางกะปิ,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 22 ล้านบาท.
  4. ประธานโครงการ, (2562) โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพย์สินภาครัฐ,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง, มูลค่างาน 1.20 ล้านบาท.
  5. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “ผลกระทบระยะสั้นเนื่องจากการอัดแรงของคานคอนกรีตหล่อสำเร็จสำหรับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพูและเหลือง,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 658,770 บาท.
  6. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “ผลของการบีบรัดของล้อรถไฟแบบรางเดี่ยวที่มีต่อคานคอนกรีตอัดแรง,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 434,000 บาท.
  7. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “ผลกระทบระยะยาวเนื่องจากการอัดแรงของคานคอนกรีตหล่อสำเร็จสำหรับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพูและเหลือง,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 710,580 บาท.
  8. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “การศึกษาความร้อนของคอนกรีตกำลังสูงซึ่งมีผลต่อ Delayed Ettringite Formation (DEF),” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 888,250 บาท.
  9. ประธานโครงการ, (2563) โครงการศึกษา “การเฝ้าสังเกตพฤติกรรมสะพานเพื่อรองรับการขนส่งที่พิกัดสูงเกินขนาด,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 7.3 ล้านบาท.
  10. ประธานโครงการ, (2563) โครงการศึกษา “ศึกษาความสามารถในการต้านทานแรงระเบิดของประตู” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 1,170,000 บาท
  11. ประธานโครงการ, (2565) โครงการศึกษา “การประเมินความเสียหายเนื่องจากไฟไหม้, การทดสอบกำลังรับน้ำหนัก, และการสังเกตการณ์สุขภาพโครงสร้างของสะพานคอนกรีตอัดแรง” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 5,650,133.33 บาท
  12. กรรมการโครงการ, (2565) โครงการศึกษา “การทดสอบและประเมินการบดอัดด้วยวิธี Rapid Impact Compaction (RIC) ในสนาม เพื่อการปรับปรุงคุณภาพดิน” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 2,333,333.33 บาท
  13. ประธานโครงการ, (2565) โครงการ “ทดสอบโครงสร้างคานรองรับทางวิ่ง โดยวิธี PUSHOVER” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 2,988,888.89 บาท

1.17 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินบทความทางวิชาการ

  • ระดับนานาชาติ
  • Case Studies in Construction Materials has been indexed by SCOPUS and published by lsevier BV with editor-in-Chief is Professor Michael Grantham, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.784 and SCImago Journal Rank (SJR): 0.828 with Q1.
  • Construction and Building Materials has been indexed by SCOPUS and published by Elsevier Ltd. and editor-in-Chief is Michael C. Forde, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 217, SCImago Journal Rank (SJR): 1.491 with Q1.
  • Journal of Engineering Science and Technology has been indexed by SCOPUS and published by Taylor’s University with editor-in-Chief is Ir Dr Siva Kumar Sivanesan. Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 584, SCImago Journal Rank (SJR): 0.238 with Q2.
  • Engineering Journal has been indexed by SCOPUS and published by Chulalongkorn University and editor-in-Chief is Prof.Piyasan Praserthdam, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.496, SCImago Journal Rank (SJR): 0.228 with Q2.
  • Steel and Composite Structures, An International Journal has been indexed by SCOPUS and published by Techno Press and editor-in-Chief is Prof. Chang-Koon Choi, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 127, SCImago Journal Rank (SJR): 1.05 with Q1.
  • Current Applied Science and Technology has been indexed by SCOPUS and published by King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang and editor-in-Chief is Assoc. Prof.Dusanee Thanaboripat, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.132, SCImago Journal Rank (SJR): 0.14 with Q4.
  • Buildings has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. David Arditi, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 312, SCImago Journal Rank (SJR): 0.581 with Q1.
  • Materials has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Maryam Tabrizia, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 261, SCImago Journal Rank (SJR): 0.682 with Q1.
  • Polymers has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Alexander Böker, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 20, SCImago Journal Rank (SJR): 0.77 with Q1.
  • Heliyon has been indexed by SCOPUS and published by Elsevier and section editors is Prof. Andrea Francesco Morabito, PhD & Prof. Mohammad Mehdi Rashidi, PhD, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.079, SCImago Journal Rank (SJR): 0.455 with Q1.
  • Results in Engineering has been indexed by SCOPUS and published by Elsevier and Co-editor-in-Chief are Dr.Antonio García Martinez, Professor Suresh C. Pillai, and Dr. Norman Toy, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.096, SCImago Journal Rank (SJR): 0.383 with Q1.
  • Journal of Reinforced Plastics and Composites has been indexed by SCOPUS and published by SAGE Publications with editor-in-Chief is Prof.Dr.Narongrit Sombatsompop, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.328, SCImago Journal Rank (SJR): 0.675 with Q1.
  • Applied Sciences has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Takayoshi Kobayashi, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 026, SCImago Journal Rank (SJR): 0.51 with Q2.
  • Structural Engineering and Mechanics: An International Journal has been indexed by SCOPUS and published by Techno-Press and editor-in-Chief are Prof.Chang-Koon Choi and Prof.Phill-Seung Lee, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.841, SCImago Journal Rank (SJR): 0.55 with Q2.
  • European Journal of Environmental and Civil Engineering has been indexed by SCOPUS and published by Taylor & Francis and editor-in-Chief are Günther Meschke and François Nicot, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.123, SCImago Journal Rank (SJR): 0.547 with Q2.
  • Computers and Concrete, An International Journal has been indexed by SCOPUS and published by Techno-Press and editor-in-Chief is Prof.Chang-Koon Choi (Ph.D.), Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.944, SCImago Journal Rank (SJR): 0.66 with Q1.
  • ระดับชาติ
  • Engineering Journal of Research and Development has been indexed by TCI and published by Engineering Institute of Thailand and editor-in-chief is Assoc. Prof. Tavorn Amornkitti. TCI Tier 2.
  • Kasem Bundit Engineering Journal has been indexed by TCI and published by Kasem Bundit and editor-in-chief is Assoc. Prof. Dr. Chairit Sattayaprasert. TCI Tier 1.
  • Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST) has been indexed by TCI and published by Naresuan University and editor-in-chief is Assoc. Professor Dr.Sutisa Thanoi. TCI Tier 1.
  • KKU Research Journal (Graduate Studies) has been indexed by TCI and published by Khon Kaen University and editor-in-chief is Prof.Dr.Wittaya Ngeontae. TCI Tier 1.
  • CRMA Journal has been indexed by TCI and published by Chulachomklao Royal Military Academy and editor-in-chief is Col.Assoc.Prof.Dr.Phaderm Nangsue. TCI Tier 2.
  • KKU Research Journal (Graduate Studies) has been indexed by TCI and published by Khon Kaen University and editor-in-chief is Dr.Wittaya Ngeontae. TCI Tier 1.
  • Thailand Concrete Association Journal (TCA Journal) has been indexed by TCI and published by Thailand Concrete Association and editor-in-chief is Dr. Somnuk Tangtermsirikul. TCI Tier 2.
  • Journal of Science and Technology Kasetsart University has been indexed by TCI and published by Kasetsart University Kamphaeng Saen campus and editor-in-chief is Assist.Dr.Sukanya Rattanatabtimtong. TCI Tier 2.
  • RMUTSB Academic Journal has been indexed by TCI and published by Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi and editor-in-chief is Asst. Prof. Dr.Natthapong Wongdamnern. TCI Tier 1.

2.1 สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  1. วิศวกรรมโครงสร้าง

2.2 สาขาวิชาที่ชำนาญ

  1. วิศวกรรมแผ่นดินไหว
  2. วิศวกรรมสะพาน
  3. วิศวกรรมฟื้นฟูและเสริมกำลังโครงสร้าง
  4. วิศวกรรมอิฐประสาน
  5. คอนกรีตเวียนใช้ใหม่และวัสดุวิศวกรรมเพื่อความยั่งยืน

2.3 หัวข้อวิจัยที่สนใจ

การศึกษาแบบจำลองน้ำหนักบรรทุกจรของรถบรรทุกสำหรับประเทศไทย การประเมินกำลังรับน้ำหนักของสะพานภายใต้ภาวะน้ำหนักบรรทุกเกินพิกัด พฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตภายใต้แรงแผ่นดินไหว และน้ำหนักบรรทุกรูปแบบต่าง วิธีในการเสริมกำลังโครงสร้าง และกลสมบัติของอิฐบล็อกแบบเข้าเขี้ยวที่ทำจากดินซีเมนต์ในท้องถิ่น

2.4 แนวคิดในการดำเนินงานวิจัย

ดร.ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด สนใจงานวิจัยออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มวิศวกรรมสะพาน ซึ่งงานวิจัยโดยมากมุ่งเน้นการสังเคราะห์แบบจำลองน้ำหนักบรรทุกของรถบรรทุกในประเทศไทย ซึ่งจะนำไปสู่มาตรฐานการออกแบบสะพานในประเทศไทยที่มีความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น ต่อมาคือกลุ่มพฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตภายใต้รูปแบบการกระตุ้นแบบต่างๆ เช่น แผ่นดินไหว แรงลม อัคคีภัย สึนามิ ระเบิด รวมถึงการสั่นสะเทือนจากเครื่องจักร ซึ่งงานวิจัยในกลุ่มนี้เน้นตอบสนองต่อวิศวกรนักปฏิบัติที่จะนำทฤษฎีที่ได้ไปใช้ประโยชน์ต่อยอดทางวิชาชีพวิศวกรรม โดยสุดท้ายคือกลุ่มการพัฒนาเทคนิคการก่อสร้างสำหรับชุมชนที่กำลังพัฒนา รวมถึงการส่งเสริมให้มีการใช้วัสดุก่อสร้างเพื่อความยั่งยืน ซึ่งต้องการลงพื้นที่เพื่อนำความรู้จากการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน