ข อความ ม ท ตา จ ต เกษ ยณอาย ราชการ

ข้้าราชการผู้ใดออกจากราชการด้วยเหตุ 4 เหตข้างต้น หากมีเวลาสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 1 ปี บริบูรณ์ มีสิทธิได้รับบำเหน็จ และหากมีเวลาสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญ ครบ 10 ปีับริบูรณ์ขึ้นไป ู มีสิทธิได้รับบำนาญ (ผู้มีสิทธิได้รับบำนาญ จะยื่นขอรับบำเหน็จแทนก็ได้) บำนาญดปข้้าราชการผูู้้ใดออกจากราชการโดยไม่ใช่ด้วยเหตุ 4 เหตข้างต้น หากมีเวลาสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 10 ปี บริบูรณ์ มีสิทธิได้รับบำเหน็จ (มาตรา 17)

การนับเวลาราชการ

- การนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญ ให้นับแต่วันที่รับราชการรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือน ม.23 - เวลาป่วยหรือลา หรือต้องพักราชการ ซึ่ึี่งได้รับอนุญาตให้รับเงินเดือนเต็มนั้น ให้นับเต็มเวลาราชการก่อนอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ ให้เริ่มนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตั้งแต่วันที่อายุครบ 18 ปีบริบูรณ - ผู้ซึ่งได้ขึ้นทะเบียนทหารกองประจำการให้มีสิทธินับเวลาราชการได้ตั้งแต่วันที่ขึ้นทะเบียนกองประจำการตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร - ข้าราชการผู้โอนมาจากข้าราชการส่วนจังหวัด หรือข้าราชการที่โอนมาจากพนักงานเทศบาล ม.23 ทวิ ให้่นับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่ใช้อยู่ในวันโอนเป็นเวลาสำหรับ คำนาณด้วย - ข้าราชการผู้ใดประจำู้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเขตที่ได้มีประกาศใช้กฎอัยการศึก ให้นับเวลาราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ในระหว่างนั้นเป็นทวีคูณ ม.24 - เวลาป่วยหรือลา หรือต้องพักราชการ ซึ่ึี่งได้รับอนุญาตให้รับเงินเดือนเต็มนั้น ให้นับเต็มเวลาราชการ ม.25 - เวลาป่วยหรือลา หรือต้องพักราชการ ซึ่ึี่งได้รับอนุญาตให้รับเงินเดือนไม่เต็มนั้น ให้นับตามส่วนแห่งเงินที่ได้รับ - เวลาป่วยหรือลาหรือต้องพักราชการซึ่ึี่งมิได้รับอนุญาตให้รับเงินเดือนไม่นับเป็นเวาสำหรับคำนาณฯ - ข้าราชการซึ่งทางราชการสั่งให้ไปทำการใดๆ ตามหลักเกณฑ์กำหนดโดยพระราชกฤษฏีกา ผู้นั้นยังไม่มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ และให้นับเวลาสำหรับคำนวณฯในระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการ ม.28 - เวลาราชการสำหรับคำนวณฯ ให้นับแต่จำนวนปี เศษของปีถ้าถึงครึ่งปี ให้นับเป็นหนึ่งปี ม.29

เหตุออกจากราชการ

อายุราชการ(รวมเวลาทวีคูณ)

สิทธิรับเงินบำเหน็จบำนาญ

เกษียณ สูงอาย ุ(อายุ 50 0ี) ทุพพลภาพ ทดแทน

ไม่ถึง 1 ปี

1 ปีแต่ไม่ถึง 10 ปี

10 ปีขึ้นไป

-

บำเหน็จ

บำนาญ หรือเลือกรับบำเหน็จ

รับราชการนาน

25 ปีขึ้นไป

บำนาญ หรือเลือกรับบำเหน็จ

ลาออก ปลดออก

ไม่ถึง 10 ปี

10 ปี ขึ้นไปแต่ไม่ถึง 25 ปี

25 ปี ขึ้นไป

-

บำเหน็จ

บำนาญ หรือเลือกรับบำเหน็จ

การคำนาณบำเหน็จบำนาญ

- การคำนวณให้ตั้งเงินเดือนเดือนสุดท้ายเป็นเกณฑ์คำนวณ ข้าราชการซึ่งพ้นเพราะเกษียณอายุ เงินเดือนเดือนสุดท้ายให้หมายความรวมถึงเงินเดือนที่ได้เลื่อนในวันสุดท้ายของปีงบประมาณ (การเลื่อนเงินเดือนในวันสุดท้ายของปีงบประมาณนั้นไม่ก่อให้เกิดสิทธิรับเงินเดือนที่ได้เลื่อน แต่เงินเดือนที่ได้เลื่อนนั้นให้ถือเสมือนเป็นเงินเดือนเดิม) - วิธีคำนวณบำเหน็จ ให้ตั้งเงินเดือนเดือนสุดท้าย คูณด้วย จำนวนปีเวลาราชการ เดือนสุดท้าย คูณด้วย จำารเเเเงินเดือนเดือนสุดท้าย X อายุราชการ

- วิธีคำนวณบำนาญ ให้ตั้งเงินเดือนเดือนสุดท้าย คูณด้วย จำนวนปีเวลาราชการ หารด้วย 50 ดือนสุดท้าย คูณด้วย จำนการเงิินเดือนเดือนสุดท้าย X จำนวนปีเวลาุราชการ ดือนสุดท้าย คูณด้วย จำนวนปีเวล าราชล ารก า 50

การเสียสิทธิรับบำนาญปกติ

- กระทำความผิดต้องโทษจำคุก โดยคำพิพากษาของศาล เว้นแต่ความผิดในฐานลหุโทษ หรือความผิดอันกระทำโดยประมาม - เป็นบุคคลล้มละลาย ตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย ------ ยกเลิกแล้ว เมื่อ 14 ก.พ. 2551----

การขอรับบำเหน็จบำนาญ (ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2527)

- เอกสารประกอบคำขอ จำนวน 2 ชุด กสารประกอบคำขอ- แบบคำขอรับบำเหน็จ บำนาญ 5300 กสารประกอบคำขอ- ใบรับรองสมุดประวัิติและเวลาทวีคูณระหว่างประจำปฏิบัติหน้าที่ในเขตที่ได้มีการประกาศกฎอัยการศึก กสารประกอบคำขอ- หนังสือรับรองและขอเบิกบำเหน็จดำรงชีพ แบบ สบง. 10 กสารประกอบคำขอ- แบบแจ้งรายการเพื่อการจ่ายบำเหน็จบำนาญปกติ สำหรับข้าราชการตามโครงการจ่ายตรงและการหักค่าลดหย่อน แบบ สบง.1 กสารประกอบคำขอ- รายการบัตรตรวจจ่ายเงินเดือน ( (ผอ.กองคลังลงนาม) กสารประกอบคำขอ- แบบบัญชีวันลา แบบ 2 (จนท.หน่วยงาน ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- สำเนาทะเบียนบ้านหรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (จนท.หน่วยงาน ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- สำเนาสมุดบัญชีธนาคาร (จนท.หน่วยงาน ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- สำเนาคำสั่งพ้นจากราชการ (จนท.หน่วยงาน ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- ก.พ. 7 (ผอ.กอง จ. ลงนาม) พร้อมสำเนา (จนท.หน่วยงาน ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- สำเนาคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือค่าตอบแทน (คลังเขต) กสารประกอบคำขอ- หลักฐานการชดใช้ทุน (ไม่ใช้หรือใช้ไม่ครบตามสัญญา) กรณีลาศึกษา อบรม (ถ้ามี) กสารประกอบคำขอ- กรณีต้องหาว่ากระทำความผิดวินัยหรืออาญา คดีไม่ถึงที่สุด ต้องจัดทำสัญญาประกัน (ที่่ กค 0526.5/ ว4 ลว 11 ม.ค. 42) กสารประกอบคำขอ- หนังสือรับรองการปฏิบัติราชการในเขตท้องที่ประกาศกฎอัยการศึก (ทวีคูณ) (ผอ.ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- ใบแสดงความเห็นของแพทยที่ท างราชการรับรองซึ่งตรวจและให้ความเห็นว่าไม่สามารถรับราชการในหน้าที่ต่อไปได้ กรณีผู้ที่ลาออกจากราชการเพราะเหตุทุพพลภาพ (ผอ.ลงนาม) กสารประกอบคำขอ- กรณีเปลี่ยนชื่อ-สกุล หรืออื่นๆ ส่งหลักฐานด้วย กสารประกอบคำขอ- กรณีขาดราชการ ส่งเอกสารการตัดเงินเดือนด้วย

  1. - ขั้นตอนการขอรับบำเหน็จบำนาญ สารประกอบคำขอ- หน่วยงานส่งหนังสือ/บันทึกพร้อมเอกสารข้่างต้น (ผอ.ลงนาม) สารประกอบคำขอ- กองการเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร / ส่งตรวจวินัย / ลาศึกษา (เป็น กบข.หรือไม่) สารประกอบคำขอ- กองการเจ้าหน้าที่จัดทำบันทึกเสนอผู้มีอำนาจลงนามในแบบ 5300 / แบบรับรองสมุดประวัติฯ และแบบ สบง. 10 (ผอ.กอง จ. ลงนามแทนอธิบดี) สารประกอบคำขอ- ส่งเอกสารต่างๆถึงกรมบัญชีกลาง สารประกอบคำขอ- กรมบัญชีกลางแจ้งสั่งจ่าย สารประกอบคำขอ- บันทึกส่งหนังสือสั่งจ่ายให้กองคลัง (ตัวจริง) ส่งสำเนาให้หน่วยงาน (ส่วนกลาง) ารประกอบคำข อ - บันทึกส่งหนังสือสั่งจ่ายให้หน่วยงาน (ตัวจริง) (ส่วนภูมิภาค)

สิทธิประโยชน์การเลือกรับบำเหน็จบำนาญ

สิทธิประโยชน์

กรณีเลือกรับบำเหน็จ

กรณีเลือกรับบำนาญ

การรับเงิน

ได้รับเงินก้อนครั้งเดียว

ได้รับเงินเป็นรายเดือน ทุกเดือน ได้ตลอดชีวิตหรือหมดสิทธิรับบำนาญ

การเบิกค่ารักษาพยาบาล

ไม่มีสิทธิ

ผู้รับบำนาญเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตลอดชีวิต *คู่สมรสเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตลอดชีวิต จนผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม *บิดา มารดา เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตลอดชีวิต จนผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม *บุตรเบิกค่ารักษาพยาบาลได้อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ยกเว้นบุตรที่ไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถเบิกได้ตลอดชีวิตจนผู้รับบำนาญ ถึงแก่กรรม

เงินช่วยพิเศษ(ค่าจัดการศพ)

ไม่มีสิทธิ

ผู้ซึ่งรับบำนาญแสดงเจตนา หรือทายาทตามกฎหมาย (คู่สมรส บุตร บิดามารดา ตามลำดับ) ได้รับเงินบำนาญ รวมกับ เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ(ถ้ามี)

ค่าเล่าเรียนบุตร

ไม่มีสิทธิ

เบิกค่าเล่าเรียนบุตรได้ถึงอายุ 25 ปี บริบูรณ์ ศึกษาไม่ต่ำกว่าอนุปริญญา

บำเหน็จตกทอด

ไม่มีสิทธิ

ทายาทตามกฎหมายหรือบุคคลซึ่ง ผู้รับบำนาญแสดงเจตนาได้รับเงิน 30 เท่า ของบำนาญเมื่อผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม

การได้รับพระราชทานเพลิงศพ

มีสิทธิ

มีสิทธ ิ(เจ้าภาพหรือทายาทยื่นเรื่องขอพระราชทานเพลิงศพมายังกรม)

ำคุกการคืนบำเหน็จบำนาญเมื่อกลับเข้ารับราชการใหม่ฃบำนาญข้าราชการผู้ใดได้รับบำเหน็จหรือบำนาญไปแล้วต่อมากลับเข้ารับราชการใหม่ประสงค์จะขอนับเวลาราชการต่อเนื่องจะต้องคืนบำเน็จบำนาญ ดังนี้ 1. กรณีรับบำเหน็จ ต้องคืนเงินบำเหน็จที่ได้รับพร้อมดอกเบี้ยตามอัตราเงินฝากประจำของธนาคารออมสิน ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการ (หลักเกณฑ์และวิธีการนับระยะเวลาการคืนบำเหน็จ / หลักเกณฑ์และวิธีการนับระยะเวลาการคืนบำเหน็จ กรณีเกิน 90 วัน)

2. กรณีรับบำนาญปกติ ต้องงดรับบำนาญ และกรณีเป็นสมาชิก กบข.ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าวภายใน 180 วัน นับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการใหม่ () ฃบำนาญ- ถ้าประสงค์จะรับบำนาญต่อ ให้มีหนังสือแจ้งความประสงค์ต่อส่วนราชการ ภายใน 30 วัน และจะไม่นับเวลาต่อเนื่อง บำน า ญ- หากไม่คืนเงินประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชน์ ให้ถือว่าประสงค์จะรับบำนาญต่อ3. กลับเข้ารับราชการใหม่้ต้่้องยื่นแบบแจ้งข้อมูลการกลับเข้ารับราชการใหม่ (กบข. จก 001/2551) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการใหม่ (หลักเกณฑ์และวิธีการคืนเงินเข้ากองทุน กบข.ของข้าราชการที่กลับเข้ารับราชการใหม่ พ.ศ. 2551) ง

ฃบำนาญป - บำเหน็จบำนาญพิเศษ ข้าราชการผู้ใดประสพเหตุ ม. 37 -38 ให้จ่ายบำเหน็จบำนาญพิเศษให้ (สิทธิเฉพาะตัวโอนไม่ได้) บำนาญพิเศษ หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการ พลทหารกองประจำการ หรือ บุคคลที่ทำหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ซึ่งได้รับอันตรายจนพิการหรือป่วยเจ็บถึงทุพพลภาพจนไม่สามารถรับราชการต่อไปได้ หรือจ่ายให้แก่ทายาทของบุคคลดังกล่าวกรณีถึงแก่ความตายเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ จ่ายให้เป็นรายเดือน ฃบำนาญปฃบำนาญปมาตรา 37 ข้าราชการ พลทหารกองประจำการ หรือบุคคลที่ทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ผู้ใดได้รับอันตรายจนพิการ เสียแขนหรือขา หูหนวกทั้ง 2 ข้าง ตาบอด หรือได้รับการป่วยเจ็บซึ่งแพทย์ที่ทางราชการรับรองได้ตรวจแล้ว และแสดงว่าถึงทุพพลภาพไม่สามารถจะรับราชการต่อไปได้อีกเลย ทั้งนี้ เพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่ ให้ผู้นั้นได้รับบำนาญปกติกับทั้งได้รับบำนาญพิเศษด้วย เว้นแต่การได้รับอันตราย ได้รับการป่วยเจ็บ หรือการถูกประทุษร้ายนั้นเกิดขึ้นจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือจากความผิดของตนเอง ฃบำนาญปฃบำนาญปมาตรา 38 ข้าราชการผู้ใดได้รับบำเหน็จหรือบำนาญไปแล้วตามพระราชบัญญัตินี้ พลทหารกองประจำการ หรือบุคคลที่ทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ผู้ใดซึ่งออกจากราชการหรือหรือพ้นจากหน้าที่ทหารไปแล้ว ถ้าภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันออกจากราชการ หรือพ้นจากหน้าที่ทหารปรากฏหลักฐานชัดเจนว่า ผู้นั้นเกิดป่วยเจ็บทุพพลภาพอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการระหว่างที่ผู้นั้นรับราชการหรือทำหน้าที่ทหารอยู่ ก็ให้จ่ายบำนาญตามมาตรา 37 ถ้าถึงตายก็ให้จ่ายบำนาญตามมาตรา 41 ทั้งนี้ ให้จ่ายนับแต่วันขอและในกรณีที่ได้รับบำเหน็จไปแล้ว ก็ให้จ่ายแต่เฉพาะบำนาญพิเศษอย่างเดียว

ฃบำนาญบำนาญพิเศษแบ่งเป็น ๒ กรณี - กรณีทุพพลภาพเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ ( ผู้ทุพพลภาพเป็นผู้ได้รับบำนาญพิเศษ) - กรณีถึงแก่ความตาย เพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าท ี่(ทายาทได้รับบำนาญพิเศษ)

ฃบำนาญการคำนวณบำนาญพิเศษ

ข อความ ม ท ตา จ ต เกษ ยณอาย ราชการ
กรณีทุพพลภาพ (ได้รับทั้งบำนาญปกติและบำนาญพิเศษ) - ยามปกติ ได้รับบำนาญพิเศษอัตราตั้งแต่ห้าจนถึงยี่สิบในห้าสิบส่วนของเงินเดือนเดือนสุดท้าย - ผู้มีี่ทำหน้าที่ต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยอากาศยานในอากาศ หรือต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยเรือดำน้ำ หรือมีหน้าที่ต้องทำการดำน้ำ หรือมีหน้าที่กวาดทุ่นระเบิด หรือมีหน้าที่ขุด ทำลาย ทำ ประกอบวัตถุระเบิด หรือมีหน้าที่เกี่ยวกับไอพิษ ถ้า ได้รับบำนาญพิเศษเป็นจำนวนกึ่งเงินเดือนเดือนสุดท้าย ิ - เวลาทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนดในระหว่างเวลาที่มีการรบ การสงคราม หรือการปราบปรามการจลาจล หรือในระหว่างเวลาที่มีพระบรมราชโองการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ถ้าได้รับอันตรายด้วยหน้าที่ที่กระทำนั้น ได้รับบำนาญพิเศษอัตราตั้งแต่สามสิบจนถึงสามสิบห้าในห้าสิบส่วนของเงินเดือนเดือนสุดท้าย **** ผู้ได้รับอันตรายถึงทุพพลภาพดังกล่าว แม้จะยังไมมีสิทธิได้รับบำนาญปกติก็ให้ได้รับบำนาญปกติ บวกกับบำนาญพิเศษด้วย
ข อความ ม ท ตา จ ต เกษ ยณอาย ราชการ
กรณีถึงแก่ความตาย - ยามปกติ ทายาทได้รับบำนาญพิเศษเป็นจำนวนกึ่งเงินเดือนเดือนสุดท้ายของผู้ตาย

- ผู้มีหน้าที่ต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยอากาศยานในอากาศ หรือมีหน้าที่ต้องทำการโดดร่ม หรือต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยเรือดำน้ำ หรือมีหน้าที่ต้องทำการดำน้ำ หรือมีหน้าที่กวาดทุ่นระเบิด หรือมีหน้าที่ขุด ทำลาย ทำ ประกอบวัตถุระเบิด หรือมีหน้าที่เกี่ยวกับไอพิษ หรือเวลาทำหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ในระหว่างเวลาที่มีการรบ การสงคราม หรือการปราบปรามการจลาจล หรือในระหว่างเวลาที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ถ้าได้รับอันตรายด้วยหน้าที่ที่กระทำนั้น ได้รับบำนาญพิเศษอัตราตั้งแต่สี่สิบในห้าสิบส่วนของเงินเดือนเดือนสุดท้าย

ฃบำนาญทายาทผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพิเศษ - บุตร ได้รับ 2 ส่วน ถ้ามีบุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน (ได้รับจนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ยกเว้นกำลังศึกษาฯ แต่ไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์) - สามีหรือภรรยา ได้รับ 1 ส่วน (รับได้ตลอดชีวิต เว้นแต่ทำการสมรสใหม่) - บิดามารดา หรือบิดา หรือมารดา ที่มีชีวิตอยู่ ได้รับ 1 ส่วน (รับได้ตลอดชีวิต) **** ผู้ได้รับบำนาญพิเศษรายใด มียอดรวมไม่ถึงเดือนละ 300 บาท ผู้มีสิทธฺจะได้รับจะยื่นคำขอเปลี่ยนเป็นบำเหน็จพิเศษแทนได้เป็นจำนวนเท่ากับ บำนาญพิเศษ 60 เดือนแต่ต้องไม่น้อยกว่า 3,000 บาท

บำนาญป - บำเหน็จดำรงชีพ - เงินที่จ่ายให้แก่ผู้ั้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือการดำรงชีพโดยจ่ายครั้งเดียว โดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีเงินได้ - กรณีเป็นผู้ได้รับบำนาญปกติหรือรับบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับบำำเหน็จดำรงชีพ ไม่เกิน 15 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน (แต่ต้องไม่เกิน 200,000 บาท) ฃบำนาญฃบำนาญบำนาญปกติ X 15 (ไม่เกิน 200,000 บาท) - กรณีเป็นผู้ได้รับบำนาญปกติและรับบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับบำเหน็จดำรงชีพ ไม่เกิน 15 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน (บำนาญ ปกติรวมกัับบำนาญพิเศษ) (แต่ต้องไม่เกิน 200,000 บาท) ฃบำนาญฃบำนาญบำนาญปกติ + บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ X 15 (ไม่เกิน 200,000 บาท) - เมื่อรับบำเหน็จดำรงชีพไปแล้ว ไม่มีสิทธิบำเหน็จดำรงชีพอีก หากภายหลังกลับเข้ารับราชการใหม่และออกจากราชการครั้งหลังโดยเลือกรับบำนาญ แต่หากเลือกรับบำเหน็จ (มีสิทธินับระยะเวลาตอนก่อนออกจากราชการต่อเนื่องกับการรับราชการตอนหลัง)ให้หักเงินบำเหน็จดำรงชีพออกจากเงินบำเหน็จเสียก่อน - เมื่อได้แสดงเจตนาขอรับบำเหน็จดำรงชีพไว้แล้ว แต่ได้ตายก่อนรับเงินให้การจ่ายเงินบำเหน็จดำรงชีพเป็นอันระงับ - กรณีได้มีการรับบำเหน็จดำรงชีพไปแล้ว ผู้รับถึงแก่ความตาย การจ่ายบำเหน็จตกทอด ให้หักเงินบำเหน็จดำรงชีพออกจากบำเหน็จตดทอดเสียก่อน ฃบำนาญฃบำนาญ- (บำนาญปกติ X 30) - บำเหน็จดำรงชีพ หรืือ --- (บำนาญปกติ + บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ X 30) - บำเหน็จดำรงชีพ

*** สามารถขอรับบำเหน็จดำรงชีพพร้อมกับขอรับบำนาญปกติ หรือ จะขอรับภายหลังก็ได้ (ช่วง 1 ต.ค. - 31 ธ.ค.) *** กรณีไม่ได้ขอรับครั้งแรก จะขอรับรวมกับครั้งที่ 2 ได้ในอัตรา 15 เท่า แต่ไม่เกิน 400,000 บาท โดยไม่ต้องรอช่วง 1 ต.ค. - 31 ธ.ค. *** กรณีอยู่ระหว่างถูกกล่่าวหาว่ากระทำผิดวินัยหรือคดีอาญาตอนก่อนออกจากราชการ (แม้จะทำสัญญาค้ำประกันแล้วก็ตาม) ไม่สามารถขอรับบำเหน็จดำรงชีพได้

ข อความ ม ท ตา จ ต เกษ ยณอาย ราชการ
กรณีเป็นสมาชิก กบข. : พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (

ความหมาย

- บำเหน็จ หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่สมาชิกโดยจ่ายให้ครั้งเดียวเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง (ออกจากราชการ เว้นแต่การสั่งให้ออกไว้ก่อน หรือออกไปทำงานซึ่งให้นับเวลาระหว่างลาออกเหมือนเต็มเวลาราชการ) - บำนาญ หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่สมาชิกเป็็นรายเดือนเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง

สิทธิการรับบำเหน็จบำนาญและเงิน กบข. อรับเงินบำเเหน็จบำนาญ บำนาญป- - ข้าราชการที่เป็นสมาชิกมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ และเงิน กบข. ดังนี้

  1. สมาชิกมีเวลารับราชการตั้งแต่ 10 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่ถึง 25 ปีบริบูรณ์ ให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จ (มาตรา 47) กรณีเป็นสมาชิกประเภทสะสม จะได้รับ เงินสะสม เงินสมทบ และเงินผลประโยชน์ตอบแทนเงินสะสม *************ไม่ถึง 10 ปี ไม่ได้รับ บำเหน็จ แต่ได้รับเงินสะสม เงินสมทบ และเงินผลประโยชน์ตอบแทนเงินสะสมและสมทบ

  1. สมาชิกมีเวลารับราชการตั้งแต่ 25 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป ให้มีสิทธิได้รับบำนาญ และ -----***กรณีเป็นสมาชิกประเภทสะสม จะได้รับ เงินสะสม (?) เงินสมทบ (3%) เิงินประเดิม (2%) (กรณีสมาชิกตามมาตรา 36) เงินชดเชย (2%) และเงินผลประโยชน์ตอบแทนเงินดังกล่าวเ้ เว้้นแต่จะเลืือกรับบำเหน็จแทน (มาตรา 48)

-----***กรณีเป็นสมาชิกประเภทไม่สะสม จะได้รับ เิงินประเดิม (2%) (กรณีสมาชิกตามมาตรา 36) เงินชดเชย (2%) และเงินผลประโยชน์ตอบแทนเงินดังกล่าว

  1. เหตุอื่นๆ ำนาญป- เหตุทุพพลภาพ สมาชิกซึ่งออกจากราชการเพราะป่วยเจ็บทุพพลภาพ ซึ่งแพทย์ที่ทางราชการรับรองได้ตรวจและแสดงความเห็นว่าไม่สามารถที่จะรับราชการในตำแหน่งหน้าที่ซึ่งปฏิบัติอยู่นั้นต่อไปได้ ำนาญป- เหตุทดแทน สมาชิกซึ่งออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตำแหน่งหรือมีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิดหรือทหารออกจากกองหนุนเบี้ยหวัด ำนาญป- เหตสูงอายุ สมาชิกซึ่งออกจากราชการเมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ หรือลาออกเมื่ออายุครบ 50 ปรบริบูรณ์

กรณีมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญตามข้อ 3) ให้ได้รับเงิน ดังนี้ (1) มีเวลาราชการตั้งแต่ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปีบริบรูณ์ ได้รับบำเหน็จ และเงิน กบข. ตาม 1) (2) มีเวลาราชการตั้งแต่ 10 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ได้รับบำบาญ และเงิน กบข. ตาม 2) *************ไม่ถึง 1 ปี ไม่ได้รับบำเหน็จ แต่ได้รับเงินสะสม เงินสมทบ และเงินผลประโยชน์ตอบแทนเงินสะสมและสมทบ

ประเภท - บำเหน็จบำนาญปกติ - บำเหน็จบำนาญพิเศษ

บำนาญป- - ข้าราชการที่เป็นสมาชิกซึ่งถูกไล่ออกจากราชการ หรือถึงแก่ความตาย เนื่องจากประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเอง ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ เงินประเดิิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทนเงินดังกล่าว

รับราชการ 10 ปี ได้อะไรบ้าง

สมาชิกมีเวลารับราชการตั้งแต่ 10 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่ถึง 25 ปีบริบูรณ์ ให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จ (มาตรา 47) กรณีเป็นสมาชิกประเภทสะสม จะได้รับ เงินสะสม เงินสมทบ และเงินผลประโยชน์ตอบแทนเงินสะสม ... .

สมาชิกมีเวลารับราชการตั้งแต่ 25 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป ให้มีสิทธิได้รับบำนาญ และ ... .

เหตุอื่นๆ.

กบข.คิดอายุราชการกี่ปี

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) 󱢏 เกณฑ์การนับเวลาราชการในการคำนวณบำ นาญที่กฎหมายกำหนด คือ 25 ปีขึ้นไปค่ะ

ครูเกษียณ อายุกี่ปี

เดือน มี.ค. 2559 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) เคยเสนอ ครม. ขออนุมัติให้แก้ไข พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 โดยเสนอให้เพิ่มอายุการเกษียณราชการจาก 60 ปี เป็น 65 ปี เนื่องจากไทยกำลังเข้าสู่สังคมสูงอายุ ขณะที่อัตราการเกิดใหม่ของคนน้อย ทำให้คนในวัยทำงานไม่เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศ แต่ไม่ผ่านมติ ครม.

การเกษีนณอายุราชการนับแบบไหน

* วันเกษียณอายุ คือวันที่มีอายุครบ 60 ปีจึงให้บันทึกวันที่เจ้าของบัตรประวัติมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ คือ วัน ก่อนวันเกิด 1 วัน และปีเกิดบวก 60 เช่น เกิดวันที่ 12 มกราคม 2509 จะเกษียณอายุวันที่ 11 มกราคม 2569.