ความก าวหน าทางเทคโนโลย ว ทยาศาสตร ม มาต งแต

ความก าวหน าทางเทคโนโลย ว ทยาศาสตร ม มาต งแต

suriyamcdonald3 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์

เครือ่ งมือที่ใหน้ กั เรยี น นิสิต นักศึกษาสมัยใหม่ เชอื่ มโยงติดตอ่ กันทางอนิ เทอรเ์ นต็ สามารถเรยี กค้นข้อมูลข่าวสาร

ผา่ นทางเครือข่าย สามารถเรยี นร้กู ารใช้คอมพิวเตอร์หรือเรียนจากท่ีห่างไกลได้ คอมพวิ เตอรจ์ ึงมีบทบาททีท่ าให้

มนษุ ย์ไดร้ บั ข่าวสารมากข้นึ กว่าเดิม และเป็นหนทางที่ทาใหเ้ กดิ สติปัญญาอยา่ งแท้จริง

  1. เทคโนโลยีสารสนเทศชว่ ยให้เศรษฐกิจเจริญร่งุ เรือง การใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เร่ืองท่จี าเปน็ ตอ่ อตุ สาหกรรม

กิจการค้าขาย ธุรกจิ ต่างๆ กจิ การทางด้านธนาคาร ชว่ ยส่งเสริมงานทางดา้ นเศรษฐกจิ ทาใหก้ ระแสเงนิ หมนุ เวยี นได้ อยา่ งกว้างขวาง ผู้ผลิตในสายอตุ สาหกรรมจะผลิตสินคา้ ไดม้ าก ลดต้นทุน ธุรกจิ อาศัยการแลกเปลยี่ นข้อมลู ทาง อเิ ล็กทรอนกิ ส์ระหว่างกัน เกิดระบบการแลกเปล่ยี นข้อมลู ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ทเี่ รยี กว่า อดี ไี อ (Electronic Data

Interchang : EDI)

  1. ช่วยให้เกิดความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งกัน การส่อื สารโทรคมนาคมสมัยใหมช่ ว่ ยยอ่ โลกให้เล็กลง สังคมโลกมี สภาพไรพ้ รมแดน มีการเรียนรู้วัฒนธรรมซงึ่ กันและกันมากข้นึ เกิดความเขา้ ใจซ่งึ กนั และกนั ได้ดี ทาใหล้ ดปญั หาใน เรือ่ งความขดั แยง้
  1. ชว่ ยส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ในการเลอื กตั้งสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรทกุ คร้งั มีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

เพ่อื กระจายขา่ วสาร เพื่อให้ประชาชนไดเ้ ห็นความสาคัญของระบบประชาธปิ ไตย แม้แตก่ ารเลือกตั้งก็มกี ารใช้ คอมพวิ เตอร์รวมผลคะแนน ใช้สือ่ โทรทัศน์ วิทยแุ จง้ ผลการนบั คะแนนท่ีทาให้ทราบผลได้อยา่ งรวดเร็ว ผลกระทบทางลบ

  1. ทาให้เกดิ อาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ หนทางในการก่ออาชญากรรมได้ โจรผรู้ ้ายอาจใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนปล้น วางแผนโจรกรรม มีการลักลอบใชข้ ้อมูลขา่ วสาร มีการโจรกรรมหรอื

แกไ้ ขตวั เลขบัญชดี ว้ ยคอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปแก้ไขขอ้ มูลอาจทาใหเ้ กิดปญั หาหลายอย่าง เชน่ การแกไ้ ขระดับ

คะแนนของนักศึกษา การแก้ไขขอ้ มลู ในโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผดิ ซึ่งเปน็ การทาร้ายหรือ

ฆาตกรรมดังทเี่ ห็นในภาพยนตร์

  1. ทาใหค้ วามสมั พันธข์ องมนุษย์เสอื่ มถอย การใชค้ อมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ทาใหส้ ามารถ

ติดตอ่ สอื่ สารกันได้โดยไม่ต้องเห็นตัว การใช้งานคอมพิวเตอร์หรือแม้แต่การเล่นเกมมลี กั ษณะการใช้งานเพียงคน

เดยี ว ทาให้ความสมั พันธก์ ับผู้อน่ื ลดลง ผลกระทบนี้ทาใหม้ ีความเช่อื วา่ มนุษยสัมพนั ธข์ องบุคคลจะน้อยลง สงั คม

ใหมจ่ ะเป็นสังคมที่ไม่ต้องพ่งึ พากนั มาก อย่างไรกด็ ีไดม้ ีงานวจิ ัยคัดคา้ นและแสดงความคดิ เห็นท่ีวา่ เทคโนโลยีไดช้ ่วย

ให้มนุษย์มีการติดต่อส่อื สารถึงกนั มากข้ึนและความสัมพนั ธ์ดขี ้ึน

  1. ทาให้เกิดความวติ กกังวล ผลกระทบน้เี ป็นผลกระทบทางดา้ นจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลุ่มท่ีมีความวิตก

กงั วลว่า คอมพิวเตอร์อาจทาใหเ้ กดิ การวา่ จา้ งงานน้อยลง มีการนาเอาหนุ่ ยนต์มาใชใ้ นงานมากขึน้ มรี ะบบการผลิต

ความก าวหน าทางเทคโนโลย ว ทยาศาสตร ม มาต งแต

Arunee Chaipicit Download

  • Publications :0
  • Followers :0

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-12090938-609-1079

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-12090938-609-1079

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-12090938-609-1079

ความกา้ วหน้าของวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยกี ับคุณภาพชีวติ

สุขภาพกับการพัฒนาคุณภาพชวี ติ

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ปัจจบุ นั เป็นท่ีตระหนกั และยอมรบั กนั ท่วั ไปวา่ ในประเทศท่ีพฒั นาแลว้ นนั้ ปัจจยั หน่งึ ซง่ึ เป็นส่ิงท่ีจา เป็นอยา่ งย่งิ ตอ่ การพฒั นาประเทศ และพฒั นา คณุ ภาพชีวติ ไปสกู่ ารกินดี อยดู่ ี ของประชากรโดยสว่ นรวมนนั้ คือ การมีฐาน ทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเขม้ แขง็ มีการพฒั นา และนาเทคโนโลยี ไป ใชใ้ นการดาเนินชีวติ อยา่ งจรงิ จงั เพ่ือเปา้ หมายสงู สดุ คอื ประโยชนท์ าง เศรษฐกิจ และสงั คม ดงั คากลา่ วท่ีวา่ “ผใู้ ดครองเทคโนโลยี ผนู้ นั้ ครอง เศรษฐกิจ ผใู้ ดครองเทคโนโลยี ผนู้ นั้ ครองอานาจ” ดงั นนั้ เปา้ หมายสงู สดุ ของ การใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือ คณุ ภาพชีวิต ก็คอื เพ่ือความย่งั ยืนทางเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม สรุปดงั ภาพ

อทิ ธิพลของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต และเศรษฐกิจท่ีย่งั ยืน จะตอ้ งอาศยั พืน้ ฐาน ทาง วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ท่ีแข็งแกรง่ ของประเทศ เพ่ือทาใหค้ นในประเทศ มี คณุ ภาพชีวติ ท่ีดี คือ มีความสขุ มีครอบครวั ท่ีอบอนุ่ มีชมุ ชนท่ีเขม้ แขง็ มีสนั ตสิ ขุ ในสงั คม และมีส่ิงแวดลอ้ ม ท่ีย่งั ยืน ดงั นนั้ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ จงึ มไิ ด้ หมายความเพียง การใชเ้ ทคโนโลยี ท่ีทนั สมยั เทา่ นนั้ แตย่ งั หมายรวมถงึ การรูจ้ กั ปรบั ปรุง และพฒั นาเทคโนโลยีใหเ้ หมาะสม กบั สถานภาพ ทงั้ ในดา้ น เศรษฐกิจ การศกึ ษา ขีดความสามารถ และความพรอ้ มของ แตล่ ะคน แตเ่ น่ืองจากการ เปล่ียนแปลง และความกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เกิดขนึ้ ตลอดเวลา และสง่ ผลกระทบอยา่ งมาก ตอ่ การดาเนินชีวิตประจาวนั และ คณุ ภาพชีวติ ของคนเรา ทงั้ ทางสรา้ งสรรค์ และคกุ คามตอ่ ชีวิต ความเป็นอยู่ และวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ของชมุ ชน จงึ สามารถสรุปอทิ ธิพลของ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ตอ่ คณุ ภาพชีวติ ใน 2 ลกั ษณะ

ด้านการสร้างสรรคแ์ ละพัฒนาคุณภาพชีวิต การสรา้ งสรรค์ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิต หมายถงึ การใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เพ่ือทาให้ คณุ ภาพชีวติ ของบคุ คล สงั คม และประเทศชาตดิ ีขนึ้ พฒั นา ย่งิ ขนึ้ ดงั นี้

  1. การสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของบคุ คลโดยรวม ใหก้ า้ วหนา้ กา้ วไกล และกา้ วทนั โลก ย่งิ ๆ ขนึ้ ตอ่ ไป แมจ้ ะอยใู่ นโลกไรพ้ รมแดน ก็มีคณุ ภาพท่ีดีขนึ้
  2. การสรา้ งสรรค์ และพฒั นาประเทศในทกุ ดา้ น ทงั้ เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และ องคค์ วามรู้ ใหม่ ๆ ท่ีจะชว่ ยใหเ้ กิดการเรียนรู้ พง่ึ ตนเองได้ และแกป้ ัหหาประเทศได้
  3. การสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมใหแ้ ก่ผผู้ ลิต โดยใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาชว่ ยใน การดดั แปลง การสรา้ ง การออกแบบ และพฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารแบบใหม่ ๆ ขนึ้ มาได้ เพ่ือสรา้ งรายได้ และยกระดบั ความเป็นอยู่ ของคนในประเทศ ใหม้ ี คณุ ภาพชีวิตท่ีดีขนึ้
  4. การศกึ ษา ตลอดชีวิตมีบทบาทสาคหั มากขนึ้ เน่ืองจากการเปล่ียนแปลง อยา่ ง รวดเรว็ ทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทาใหก้ ารศกึ ษา ทวีความสาคหั มากย่งิ ขนึ้ โดยจะเปล่ียนจาก การศกึ ษา ท่ีเกิดขนึ้ เฉพาะวยั เดก็ และวยั หนมุ่ สาว ช่วงกอ่ นการ ทางาน เป็นการศกึ ษา ตลอดชีวติ ท่ีมีความจาเป็น เพ่ือใหส้ ามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สงั คมท่ีเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยี ทาใหเ้ กิด การเรยี นรู้ ไดด้ ว้ ยตนเอง เชน่ อินเตอรเ์ นต็ ดาวเทียม
  1. ดา้ นอตุ สาหกรรมการบรกิ าร ซ่งึ เป็นอตุ สาหกรรมใหม่ ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และ เทคโนโลยีอ่ืน ๆ เขา้ ไปเช่ือมโยงกบั การบรกิ ารมากขนึ้ และมีบทบาทสงู ย่ิงขนึ้ ในการ สนอง ความตอ้ งการ ของสงั คม เชน่ ธนาคาร ส่ือสารมวลชน การรกั ษาพยาบาล การ ทอ่ งเท่ียว และโรงแรม ดา้ นการศกึ ษา ชว่ ยใหส้ ่ือการเรียนการสอน มีรูปแบบ และพลงั ดงึ ดดู มากขนึ้ 6.) ดา้ นการชว่ ยอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม และพฒั นาให้ ดีขนึ้ เชน่ การลด มลภาวะ ดว้ ยการผลติ ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีสะอาด การใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม และการใช้ พลงั งานทดแทน เป็นตน้
  2. ดา้ นการสาธารณสขุ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีบทบาทสาคหั ท่ีจะชว่ ยสนอง ความ ตอ้ งการ ของบคุ คล และชมุ ชน ทงั้ ดา้ นการปอ้ งกนั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั และวทิ ยาการ ดว้ ยเคร่อื งมือ และวิธีการท่ีทนั สมยั และมีประสทิ ธิภาพสูง
  3. ดา้ นการเกษตร วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชว่ ยใหล้ ดการพ่งึ สารเคมี และหนั มาพ่งึ สารชีวภาพ และวธิ ีการทางธรรมชาตมิ ากขนึ้ ดา้ นการเก็บเก่ียว ตอ้ งใชเ้ คร่ืองจกั ร และ เคร่อื งทนุ่ แรง เพ่ือชว่ ยลดความเสียหาย ระหวา่ งการเก็บเก่ียว และชว่ ยยืดระยะเวลา การเก็บรกั ษาใหน้ านขนึ้

ด้านการคุกคามและทาลายคุณภาพชีวติ การคกุ คาม และทาลายคณุ ภาพชีวิต ก็คอื การท่ีวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มี อิทธิพล ทาให้ คณุ ภาพชีวติ ถดถอย หรอื ถกู ทาลาย เป็นเหตทุ าให้ คณุ ภาพชีวติ ของ บคุ คล ชมุ ชน และสงั คม ลดลง หรือต่าลง ดงั นี้

  1. การพฒั นา ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยไมค่ านงึ ถงึ ส่ิงแวดลอ้ ม และ คณุ ภาพชีวิต และความไมม่ ีความย่งั ยืน ดงั พระราชดารสั ของ พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 พระราชทาน เพ่ืออหั เชิหไปอา่ น ในงานวนั อาหารโลก ณ สานกั งานองคก์ ารอาหาร และเกษตร แหง่ สหประชาชาติ เม่ือวนั จนั ทรท์ ่ี 16 ตลุ าคม 2538 ดงั นี้ "...........การนาหลกั วิชา และเทคโนโลยีใด ๆ มาใชใ้ นงานเกษตรกรรม จงึ ตอ้ งพยายาม ระมดั ระวงั ไมใ่ หเ้ ป็น การทาลายธรรมชาติ เพราะจะมีผลกระทบ เสียหาย แก่การดารงชีวติ ของ มนษุ ยโ์ ดยตรง ทงั้ ในปัจจบุ นั และอนาคต.........." และ อาจตอ้ งใชต้ น้ ทนุ ในแงข่ อง การทาลาย ส่งิ แวดลอ้ ม การใชพ้ ลงั งาน อยา่ งสิน้ เปลือง ฯลฯ ลว้ นสง่ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชีวิตของบคุ คล และสงั คม เชน่ การใชย้ าฆ่า ศตั รูพืช เป็นการทาลายระบบนเิ วศ ทาใหด้ นิ มีสารเคมี พืชไดร้ บั สารเคมี ท่ีเป็น อนั ตราย ตอ่ คนท่ีรบั ประทาน การเพ่ิมของขยะ และเผาขยะ เป็นตน้
  2. การสหู เสียวฒั นธรรม ประเพณีอนั ดงี าม ของคนไทย เน่ืองจาก การพฒั นาท่ี รวดเรว็ ของระบบ โทรคมนาคม และการตดิ ตอ่ เดนิ ทางโดยท่วั ไป ทาใหส้ งั คมต่าง ๆ ในโลกมีการผสมผสาน วถิ ีการ ดาเนินชีวติ กนั มากขนึ้ เชน่ การแตง่ กาย ความ ประพฤติ การบนั เทงิ เรงิ รมย์ ฯลฯ ทาใหม้ ีลกั ษณะ เป็นสากลมากขนึ้ แต่คกุ คาม ลกั ษณะดงั้ เดมิ ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ และวฒั นธรรมอนั ดงี าม ของสงั คม ไทย ท่ีควร อนรุ กั ษไ์ ว้ ดงั นนั้ การใชเ้ ทคโนโลยีควรคานงึ ถงึ ปัหหานี้ มากเป็นพิเศษ ไมค่ วรให้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาคกุ คาม หรือบอ่ นทาลายวฒั นธรรม ประเพณีท่ีดงี าม ของคนไทย
  1. การใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สรา้ งความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั ทงั้ ทางเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และอ่ืน ๆ ซง่ึ สง่ ผลใหค้ ณุ ภาพชีวติ ดา้ นจติ ใจลดต่าลง เพราะมงุ่ แต่ ผลประโยชน์ สว่ นตน มากกวา่ การมีคณุ ธรรม ในการดาเนนิ ชีวิต เชน่ การใชอ้ าวุธท่ี ทนั สมยั ทาลายลา้ งมนษุ ย์ ดว้ ยกนั เอง การโจรกรรมขอ้ มลู ในระบบอินเตอรเ์ น็ต เป็นตน้
  2. ความหมกมนุ่ กบั เทคโนโลยีเกินพอดี ทาใหค้ นเราเหนิ หา่ ง หรือถึงกบั แปลกแยก จาก ธรรมชาติ หรอื แมแ้ ต่ เพ่ือนมนษุ ยด์ ว้ ยกนั เอง เชน่ เดก็ ตดิ เลน่ เกม จนไมส่ นใจพอ่ แม่ และ เพ่ือน ๆ การทางาน ท่ีใหค้ วามสาคหั แก่เทคโนโลยี หรอื เคร่อื งผอ่ นแรง จนไมใ่ สใ่ จตอ่ ความรูส้ กึ ของผรู้ ว่ มงาน ทาให้ ความสมั พนั ธ์ และความผกู พนั ระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกนั นอ้ ยลง เป็นตน้
  3. การใชช้ ีวติ ท่ีพง่ึ พา หรือขนึ้ ตอ่ เทคโนโลยีมาก โดยมงุ่ หวงั แตส่ ่ิงท่ีอานวยความสะดวก สบาย ทาใหส้ หู เสียศกั ยภาพ ในการพ่งึ ตนเอง และเกิดความเคยชิน หลงใหลในความสขุ ความสะดวก สบายนนั้ ทาใหต้ กเป็นทาส ของเทคโนโลยี และตอ้ งการบรโิ ภคเพ่ิมปรมิ าณ ขนึ้ เร่อื ย ๆ เม่ือความ สขุ ของชีวิต ขนึ้ อยกู่ บั เทคโนโลยี และวตั ถบุ ารุงบาเรอ พอเบ่อื เทคโนโลยีก็พลอยเบ่อื หนา่ ยชีวติ ดว้ ย

เทคโนโลยที อ้ งถ่ิน หมายถึง เทคโนโลยดี ้งั เดิม ท่ีเกิดข้ึนจากประสบการณ์ ในการ ดาเนิน ชีวติ การทามาหากิน การตอ่ สู้กบั ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และการปรับตวั ให้

เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม ของคนในทอ้ งถ่ินน้นั เทคโนโลยที อ้ งถิ่น จะมีลกั ษณะ แตกต่างกนั ไป ข้ึนอยกู่ บั สภาพแวดลอ้ ม ของทอ้ งถิ่น และมีความสามารถ ในการ เปล่ียนแปลงพฒั นาไปได้ ไมห่ ยดุ อยกู่ บั ท่ี ท้งั น้ีเน่ืองจาก การท่ีมนุษยต์ อ้ งปรับตวั ให้ เขา้ กบั สภาพธรรมชาติ ที่เปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ เทคโนโลยที ี่เหมาะสม กบั ทอ้ งถ่ิน ควรมีพ้ืนฐานมาจาก การพฒั นาเทคโนโลยพี ้ืนบา้ น โดยการดดั แปลงแกไ้ ข ความรู้ พ้ืนฐาน หรือภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ใหเ้ ป็นประโยชน์ มีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน

  1. ภูมปิ ัญญาท้องถิน่

ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น (Local wisdom) หรือ ภูมิปัญญาไทย เป็นการสะสม องค์ ความรู้ข้ึนมาจาก ประสบการณ์ของชีวติ สังคม และในสภาพแวดลอ้ ม ท่ีแตกต่างกนั และมีการถ่ายทอดสืบ ตอ่ กนั มา เป็นวฒั นธรรม ภูมิปัญญาเหล่าน้ี เป็นท่ีมาของวถิ ีชีวติ ขนบธรรมเนียม ความเชื่อทางศาสนา วธิ ีการทามาหากิน ตลอดจน ศิลปะวทิ ยาการตา่ ง

ๆ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น อาจเรียกไดอ้ ีกอยา่ งหน่ึงวา่ ภูมิปัญญาชาวบา้ น คือ ความรู้ของ ชาวบา้ น ซ่ึงไดม้ าจาก ประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาด ของชาวบา้ น รวมท้งั ความรู้ ท่ีสงั่ สมมาแตบ่ รรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหน่ึง ไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึง ระหวา่ งการสืบ ทอด มีการปรับปรุง ประยกุ ต์ และเปล่ียนแปลง จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ตามสภาพ การณ์

ทางสงั คม วฒั นธรรม และส่ิงแวดลอ้ ม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินไดก้ ่อเกิด และสืบทอดกนั มา ในชุมชน เม่ือชุมชน เปลี่ยนแปลงไป พร้อมกบั สงั คมสมยั ใหม่ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ก็มี การปรับตวั เช่นเดียวกนั ความรู้ตา่ ง ๆ ที่ไมม่ ีการปฏิบตั ิสืบทอด เริ่มสูญหายไป เช่น งาน หตั ถกรรมทอผา้ เครื่องเงิน เคร่ืองเขียน และถึงแมจ้ ะยงั เหลืออยู่ ก็ไดถ้ ูกพฒั นาไปเป็น

การคา้ ไม่สามารถรักษา คุณภาพ และฝีมือแบบด้งั เดิมไวไ้ ด้ ในการทามาหากิน มีการใช้ เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั ใชร้ ถไถ แทนควาย รถอีแต๋นแทนเกวยี น เปล่ียนจากการทา เพอื่ ยงั

ชีพไปเป็นการผลิต เพอื่ การขาย ผคู้ นตอ้ งการ เงิน เพ่ือซ้ือเคร่ืองบริโภคต่าง ๆ ทาให้ สิ่งแวดลอ้ มเปล่ียนไป สถานการณ์เช่นน้ี ทาใหผ้ นู้ า การพฒั นาชุมชนหลายคน เริ่มเห็น ความสาคญั ของภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนใหก้ ารสนบั สนุน และ ส่งเสริมใหม้ ีการอนุรักษ์ ฟ้ื นฟู และคน้ คิดสิ่งใหม่ ความรู้ใหม่ เพื่อประโยชน์สุขของ สังคม

ระดับของเทคโนโลยที ้องถิ่น เทคโนโลยที ่ีเกิดข้ึนในทอ้ งถิ่นสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ระดบั คือ

2.1) เทคโนโลยรี ะดบั ต่า (Low technology) ส่วนมากเป็น เทคโนโลยที ่ีมี อยแู่ ต่เดิม ต้งั แตย่ คุ โบราณ ตลอดจนใชแ้ รงงาน ในทอ้ งถ่ิน มีการสืบทอด เทคโนโลยตี ่อ ๆ กนั มาพร้อมกบั ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรมของ ทอ้ งถิ่นน้นั ดงั น้นั จึงอาจเรียก เทคโนโลยอี ยา่ งง่าย ๆ ซ่ึงผทู้ ่ีมีความ สามารถใน ระดบั ต่า จาเป็นตอ้ งมีความรู้ทว่ั ไป เก่ียวกบั เทคโนโลยนี ้นั ๆ อยา่ งถูกตอ้ ง เนื่องจาก มีความจาเป็นตอ้ งใช้ เพอื่ การดารงชีวติ เราจึงจาเป็น ตอ้ งรู้หลกั และ วธิ ีการใชเ้ ทคโนโลยเี หล่าน้นั ตวั อยา่ งเช่น ยาสมุนไพรพ้ืนบา้ น ครกตาขา้ ว ลอบ ดกั ปลา และกระตา่ ยขดู มะพร้าว เป็นตน้

2.2) เทคโนโลยรี ะดบั กลาง (Intermediate technology) เกิดจาก การปรับปรุงพฒั นา เทคโนโลยี ระดบั ต่า หรือเทคโนโลยพี ้นื บา้ นข้ึนมา เพอื่ ให้ ไดร้ ับประโยชนจ์ ากเทคโนโลยนี ้นั มากข้ึน มีบทบาทในการเสริมความรู้ และ ประสบการณ์ ใหก้ บั ผคู้ นในทอ้ งถ่ิน ตวั อยา่ งเช่น การผลิตอาหาร โดยใช้ ผลิตผลเหลือใช้ จากการเกษตร การปลูกพืชหมุนเวยี น เพอื่ แกป้ ัญหา ดินเสื่อม การถนอมอาหาร การสร้างอา่ งเกบ็ น้า และเคร่ืองขดู มะพร้าว เป็นตน้ 2.3) เทคโนโลยรี ะดบั สูง (High technology) เป็นเทคโนโลยที ่ีไดจ้ าก ประสบการณ์อนั ยาวนาน มีความสลบั ซบั ซอ้ น ผใู้ ชต้ อ้ งรู้จกั ดดั แปลงเทคโนโลยี เดิม ใหม้ ีคุณภาพดีข้ึน จนก่อใหเ้ กิด ประโยชน์สูงสุด เทคโนโลยรี ะดบั สูงน้นั อาจจาเป็นตอ้ งอาศยั การศึกษา เรียนรู้ ในสถาบนั การศึกษาช้นั สูง มีการวจิ ยั ทดลอง อยา่ งสม่าเสมอ และมีการประดิษฐค์ ิดคน้ เคร่ืองมือ เครื่องจกั รกลตา่ ง ๆ ท่ีมีประสิทธิภาพสูง ตวั อยา่ งเช่น การผลิตอาหารกระป๋ อง การคดั เลือก พนั ธุ์สตั ว์

โดยใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพ กะทิสาเร็จรูป ยู เอช ที และกะทิผง เป็นตน้

เทคโนโลยที นี่ าเข้า แมว้ า่ เทคโนโลยที างการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย จะมีอยใู่ นระดบั สูง แต่

เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม รวมท้งั เทคโนโลยดี า้ นอ่ืน ๆ ที่จาเป็นในการพฒั นาประเทศ ยงั กล่าว ไดว้ า่ อยู่ ในระดบั ต่า เช่น เทคโนโลยที างการแพทย์ การสื่อสาร โทรคมนาคม การขนส่ง คอมพวิ เตอร์ เป็ นตน้ เทคโนโลยเี หล่าน้ี จาเป็นตอ้ งรับเอามาจากต่างประเทศ และนามาพฒั นา ปรับปรุง ใหเ้ หมาะสม กบั สภาพสิ่งแวดลอ้ ม การดาเนินชีวติ และวฒั นธรรม ของสงั คมไทย ดงั น้ี

  1. เทคโนโลยกี ารเกษตร ที่จาเป็นตอ้ งนาเขา้ จาก ตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ สารเคมีป้องกนั กาจดั ศตั รูพืช การปลูกพืชโดยไมใ่ ชด้ ิน ซ่ึงเป็นการปลูกพืชในน้ายา ท่ีมีธาตุอาหารครบ ทาใหส้ ามารถ ควบคุมผลผลิต และคุณภาพของพืชได้ นอกจากน้ีอาจจะตอ้ ง นาเขา้ เทคโนโลยี ในการเก็บรักษา คุณภาพ ผลิตผลทางการเกษตร เพ่ือการส่งออก เครื่องจกั รกล ท่ีทนั สมยั มาช่วยทุน่ แรงในการ ทาไร่นา
  2. เทคโนโลยชี ีวภาพ มีการนาเขา้ เทคโนโลยชี ีวภาพ จากตา่ งประเทศมากข้ึนทุกปี โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ทางดา้ นการแพทย์ เช่น การผลิตวคั ซีน ป้องกนั โรคต่าง ๆ การผลิตยาบางชนิด
  3. เทคโนโลยที างอุตสาหกรรม มีการนาเขา้ เทคโนโลยี เกี่ยวกบั อุตสาหกรรมเหลก็ อุตสาหกรรม เคมี เช่น อุตสาหกรรมกรดกามะถนั ตอ้ งใชว้ ตั ถุดิบ จากต่างประเทศ
  4. เทคโนโลยที างการแพทย์ เช่น เทคโนโลยกี ารผลิต และการพฒั นายาใหม่ เทคโนโลยกี าร

วนิ ิจฉยั โรค เทคโนโลยขี องอวยั วะเทียม เป็นตน้

  1. เทคโนโลยกี ารส่ือสาร โทรคมนาคม นบั เป็นสิ่งท่ีสาคญั ยงิ่ สาหรับสงั คมยคุ โลกาภิวตั น์ ในปัจจุบนั และอนาคต ระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่ใชก้ นั ในชีวติ ประจาวนั เช่น โทรเลข โทรศพั ท์ วทิ ยุ โทรทศั น์ โทรสาร อินเตอร์เน็ต เป็นตน้ ลว้ นแตเ่ ป็นเทคโนโลยี ที่นาเขา้ จาก ตา่ งประเทศแทบท้งั สิ้น
  2. เทคโนโลยกี ารขนส่ง ไดแ้ ก่ การเดินรถ เช่น รถยนต์ รถไฟ รถไฟฟ้าการเดินเรือ เคร่ืองบิน การ ขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ เป็นตน้
  3. เทคโนโลยรี ะดบั สูง (ไฮเทค) ไดแ้ ก่ อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์การส่ือสาร ระบบ เลเซอร์ หุ่นยนต์ เป็นตน้
  4. เทคโนโลยวี สั ดุศาสตร์ นบั เป็นกาลงั สาคญั ในการผลกั ดนั ความกา้ วหนา้ ดา้ นอุตสาหกรรม เป็น อยา่ งมาก

อทิ ธิพลของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพฒั นาคุณภาพชีวติ และเศรษฐกิจที่ยง่ั ยนื จะตอ้ งอาศยั พ้ืนฐาน ทางวทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี ท่ีแขง็ แกร่งของประเทศ เพอื่ ทาใหค้ นในประเทศ มีคุณภาพชีวติ ที่ ดี คือ มีความสุข มีครอบครัวท่ีอบอุ่น มีชุมชนท่ีเขม้ แขง็ มีสนั ติสุขในสงั คม และมี

สิ่งแวดลอ้ ม ที่ยง่ั ยนื ดงั น้นั การพฒั นาคุณภาพชีวติ จึงมิไดห้ มายความเพียง การใช้ เทคโนโลยี ที่ทนั สมยั เทา่ น้นั แต่ยงั หมายรวมถึง การรู้จกั ปรับปรุง และพฒั นาเทคโนโลยี ใหเ้ หมาะสม กบั สถานภาพ ท้งั ในดา้ น เศรษฐกิจ การศึกษา ขีดความสามารถ และความ พร้อมของ แต่ละคน แต่เน่ืองจากการ เปลี่ยนแปลง และความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เกิดข้ึนตลอดเวลา และส่ง ผลกระทบอยา่ งมาก ตอ่ การดาเนิน ชีวติ ประจาวนั และคุณภาพชีวติ ของคนเรา ท้งั ทางสร้างสรรค์ และคุกคามต่อชีวติ ความ เป็นอยู่ และวฒั นธรรมด้งั เดิม ของชุมชน จึงสามารถสรุปอิทธิพลของ วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ตอ่ คุณภาพชีวติ ใน 2 ลกั ษณะ

ด้านการสร้างสรรค์และพฒั นาคุณภาพชีวติ

การสร้างสรรค์ และพฒั นาคุณภาพชีวติ หมายถึง การใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่อื

ทาให้ คุณภาพชีวติ ของบุคคล สงั คม และประเทศชาติดีข้ึน พฒั นายงิ่ ข้ึน ดงั น้ี

  1. การส่งเสริม และพฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคลโดยรวม ใหก้ า้ วหนา้ กา้ วไกล และ

กา้ วทนั โลก ยง่ิ ๆ ข้ึนต่อไป แมจ้ ะอยใู่ นโลกไร้พรมแดน กม็ ีคุณภาพที่ดีข้ึน

  1. การสร้างสรรค์ และพฒั นาประเทศในทุกดา้ น ท้งั เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และองค์ ความรู้ ใหม่ ๆ ท่ีจะช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้ พ่งึ ตนเองได้ และแกป้ ัญหาประเทศได้
  1. การสร้างมูลคา่ เพมิ่ ใหแ้ ก่ผผู้ ลิต โดยใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาช่วยในการ ดดั แปลง การสร้าง การออกแบบ และพฒั นาสินคา้ และบริการแบบใหม่ ๆ ข้ึนมาได้ เพอ่ื สร้างรายได้ และยกระดบั ความเป็นอยู่ ของคนในประเทศ ใหม้ ีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ึน
  2. การศึกษา ตลอดชีวติ มีบทบาทสาคญั มากข้ึน เน่ืองจากการเปล่ียนแปลง อยา่ งรวดเร็ว ทาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาใหก้ ารศึกษา ทวคี วามสาคญั มากยง่ิ ข้ึน โดยจะเปล่ียน จาก การศึกษา ที่เกิดข้ึนเฉพาะวยั เด็ก และวยั หนุ่มสาว ช่วงก่อนการทางาน เป็นการศึกษา ตลอดชีวติ ที่มีความจาเป็น เพื่อใหส้ ามารถปรับตวั เขา้ กบั สังคมที่เปลี่ยนแปลง ของ

เทคโนโลยี ทาใหเ้ กิด การเรียนรู้ ไดด้ ว้ ยตนเอง เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม

  1. ดา้ นอุตสาหกรรมการบริการ ซ่ึงเป็นอุตสาหกรรมใหม่ ที่ใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศ และเทคโนโลยอี ื่น ๆ เขา้ ไปเช่ือมโยงกบั การบริการมากข้ึน และมี บทบาทสูงยง่ิ ข้ึน ในการสนอง ความตอ้ งการ ของสงั คม เช่น ธนาคาร สื่อสารมวลชน การรักษาพยาบาล การทอ่ งเที่ยว และโรงแรม ดา้ นการศึกษา

ช่วยใหส้ ื่อการเรียนการสอน มีรูปแบบ และพลงั ดึงดูดมากข้ึน 6.) ดา้ นการช่วยอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม และพฒั นาให้ ดี ข้ึน เช่น การลด มลภาวะ ดว้ ยการผลิต ที่ใชเ้ ทคโนโลยสี ะอาด การใชพ้ ลงั งาน แสงอาทิตย์ พลงั งานลม และการใช้ พลงั งานทดแทน เป็นตน้

  1. ดา้ นการสาธารณสุข วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีบทบาทสาคญั ท่ีจะ

ช่วยสนองความ ตอ้ งการ ของบุคคล และชุมชน ท้งั ดา้ นการป้องกนั การ ส่งเสริมสุขภาพอนามยั และวทิ ยาการ ดว้ ยเคร่ืองมือ และวธิ ีการท่ีทนั สมยั และ

มีประสิทธิภาพสูง

  1. ดา้ นการเกษตร วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ช่วยใหล้ ดการพ่ึงสารเคมี และ

หนั มาพ่ึง สารชีวภาพ และวธิ ีการทางธรรมชาติมากข้ึน ดา้ นการเกบ็ เกี่ยว ตอ้ ง ใชเ้ ครื่องจกั ร และเครื่องทุน่ แรง เพ่ือช่วยลดความเสียหาย ระหวา่ งการเก็บเก่ียว

และช่วยยดื ระยะเวลา การเก็บรักษาใหน้ านข้ึน

การยืดความเป็ นหนุ่มสาว มนุษยเ์ ราน้ีจดั เป็นสัตวโ์ ลกชนิดหน่ึงท่ีนบั วา่ มีอายยุ นื ยาวเช่นเดียวกบั ชา้ ง ปลาวาฬ และ

เตา่ บางชนิด หากแตม่ นุษยน์ ้ีเป็นสัตวป์ ระเสริฐ และฉลาดกวา่ สตั วอ์ ื่นกจ็ ริง แตอ่ บายมุขตา่ ง ๆ บนความฉลาดน้ีกลบั ทาใหช้ ีวติ ของมนุษยส์ ้นั กวา่ ท่ีควรจะเป็น นนั่ ก็เพราะความไมร่ ู้ ความไมส่ นใจ ตนเองและความหลงผดิ อยใู่ นอบายมุขตา่ ง ๆ ต่างหากท่ีทาใหอ้ ายขุ ยั ไมย่ นื

ยาว และความ แขง็ แกร่งของกายและจิตไม่ดีเท่าที่ควรการท่ีจะต่ออายุ หรือยดื อายขุ องมนุษย์

ใหย้ นื ยาว เทา่ ท่ีควรจะเป็นน้นั คือ การยดื ความเป็นหนุ่มสาว หรือยดื ความกระชุ่มกระชวย ใหย้ าวออกไป ตา่ งหาก มิใช่ยดื ความเฒ่าชแรแก่ชราใหแ้ ก่คนเราก็หาไม่ กล่าวอีกนยั หน่ึง ก็ เพอื่ ใหร้ ่างกายแขง็ แรง ตลอดไปตามควรแก่วยั โดยสร้างภาระแก่คนใกลเ้ คียง ใหน้ อ้ ยท่ีสุด

เทา่ น้นั เอง

สุดยอดความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ปี 2020

สร้างตัวนายงิ่ ยวดทอ่ี ณุ หภูมหิ ้องได้สาเร็จ หลงั จากท่ีเพียรพยายามมาเป็นเวลาหลายสิบปี ในที่สุดทีมนกั วทิ ยาศาสตร์จากมหาวิทยาลยั รอเช สเตอร์และมหาวทิ ยาลยั เนวาดาวทิ ยาเขตลาสเวกสั ของสหรัฐฯ ก็สามารถสร้างตวั นายงิ่ ยวด (Superconductor) ซ่ึงนาไฟฟ้าไดโ้ ดยไร้ความตา้ นทานอยา่ งสิ้นเชิงท่ีอุณหภูมิหอ้ ง ท้งั ท่ี ก่อนหนา้ น้ีสภาพดงั กล่าวจะเกิดข้ึนก็ตอ่ เมื่อตวั นามีความเยน็ ยะเยอื กใกลก้ บั อุณหภูมิศูนยส์ มั บูรณ์ เท่าน้นั

กองทพั หุ่นยนต์จ๋ิวรักษาโรคจากภายในร่างกายมนุษย์ ทีมนกั วทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรของมหาวทิ ยาลยั คอร์เนลลใ์ นสหรัฐฯ ประสบความสาเร็จในการ สร้างกองทพั หุ่นยนตข์ นาดจิ๋วที่มองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ ห็น หรือกองทพั ไมโครบอต (Microrobot / Microbot) โดยใชแ้ ผน่ ซิลิคอนเวเฟอร์ขนาดเพียง 4 นิ้ว ประดิษฐ์ เป็นหุ่นยนตข์ นาดเลก็ กวา่ 0.1 มิลลิเมตรได้ 1 ลา้ นตวั

พบก๊าซทเี่ ป็ นร่องรอยของสิ่งมชี ีวติ ในช้ันบรรยากาศดาวศุกร์ วงการชีวดาราศาสตร์คน้ พบเรื่องท่ีน่าตื่นเตน้ เมื่อทีมนกั วจิ ยั นานาชาติตรวจพบร่องรอยของกา๊ ซ ฟอสฟี น (Phosphine) ซ่ึงอาจเป็นเครื่องหมายบ่งบอกวา่ มีสิ่งมีชีวติ อยใู่ นช้นั บรรยากาศของ ดาวศุกร์ โดยพบที่ความสูง 50 กิโลเมตรเหนือพ้นื ผวิ ดาว ในอตั ราความเขม้ ขน้ ราว 10-20 ส่วนใน พนั ลา้ นส่วนของบรรยากาศ

นาซาพบโมเลกุลนา้ แทรกในพืน้ ผวิ ดวงจันทร์ เคร่ืองบินสงั เกตการณ์ดาราศาสตร์ในบรรยากาศโลกช้นั สตราโตสเฟี ยร์หรือ "โซเฟี ย" (SOFIA) ขององคก์ ารนาซา ซ่ึงมีกลอ้ งโทรทรรศนร์ ังสีอินฟราเรดติดต้งั อยู่ ตรวจพบโมเลกุลน้าแทรกอยใู่ น พ้ืนผวิ ดวงจนั ทร์ดา้ นท่ีแสงอาทิตยส์ ่องถึง

ภาพขยายผวิ หน้าดวงอาทติ ย์แบบละเอยี ดทสี่ ุดเท่าทเี่ คยมีมา กลอ้ งโทรทรรศนส์ ังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ แดเนียล เค. อิโนะอุเอะ (DKIST) บนเกาะฮาวาย ของสหรัฐฯ สามารถบนั ทึกภาพขยายบริเวณผวิ หนา้ ของดวงอาทิตย์ ซ่ึงมีความละเอียดคมชดั ที่สุด

เทา่ ที่เคยมีมาไดส้ าเร็จ โดยภาพที่ปรากฏเป็นกลุ่มของกระแสความร้อนและพลาสมาท่ีไหลวน

ปั่นป่ วนอยจู่ านวนนบั ไม่ถว้ น