คณบด คณะศ กษาศาสตร ม.ภาคตะว นออกเฉ ยงเหน อ

รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาสาธารณสขุ ชุมชน คณะสาธารณสขุ ศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ประจำปก ารศกึ ษา 2563 วันทร่ี ายงาน 17 กรกฎาคม 2564

คำนำ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ไดจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร ประจำปการศึกษา 2563 โดยใช หลักเกณฑการประกันคุณภาพการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เปนไปตามคูมือการ ประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 ซึ่งมีจำนวนองคประกอบ ตัวบงช้ีที่ประเมิน รวมทั้งสิ้น 6 องคประกอบ 14 ตัวบงชี้ เพ่ือประเมินตัวบงชี้ท้ังปจจัยนำเขา กระบวนการ และผลผลิต/ผลลัพธ โดย สาระสำคัญในรายงานฉบับน้ี คือ ประวัติความเปนมา ผลการปรบั ปรุงตามขอเสนอแนะของผลการประเมินปท่ี ผานมา ผลการประเมินตนเองในหมวดตางๆ สรุปผลการประเมินตนเอง และผลการวิเคราะหจุดเดนและจุดที่ ควรพัฒนา ผลของการประเมินตนเองในรายงานฉบับน้ี เปนเครื่องชี้ความสำเร็จในภาพรวมของหลักสูตร ซึ่ง หลักสูตรตระหนักในความสำคัญและพรอมท่ีจะนำผลการประเมินมาเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพการจัดการศกึ ษาใหม ปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลแกน กั ศกึ ษา สงั คม และชมุ ชนตอ ไป การประกันคุณภาพการศึกษาครั้งน้ีสำเร็จลุลวงไปดวยดี เกิดจากความรวมมือรวมใจจากหลายฝาย หลักสูตรขอขอบคุณคณะกรรมการผูประเมิน คณาจารย บุคลากร นักศึกษา และผูเกี่ยวของทุกฝายเปนอยาง สูง จึงเรียนขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี (นางสาวฐิติมา โพธชิ์ ัย) ประธานกรรมการบริหารหลักสตู รสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน

สารบญั หนา 1 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองระดบั หลกั สูตร 2 ผลการวิเคราะหคุณภาพการศกึ ษาภายในระดับหลกั สูตร 3 ผลการวิเคราะหจดุ เดนและโอกาสในการพัฒนาองคป ระกอบท่ี 2 - องคป ระกอบท่ี 6 6 หมวดที่ 1 ขอมูลทว่ั ไป 9 หมวดที่ 2 อาจารย 23 หมวดท่ี 3 นักศึกษาและบัณฑติ 40 หมวดที่ 4 ขอมลู ผลการเรยี นรายวชิ าของหลักสูตรและคณุ ภาพการสอนในหลกั สตู ร 49 หมวดท่ี 5 การบรหิ ารหลกั สตู ร 84 หมวดท่ี 6 ขอ คดิ เห็นและขอเสนอแนะเกยี่ วกบั คณุ ภาพหลักสตู รจากผูประเมนิ 86 หมวดที่ 7 การเปลย่ี นแปลงท่มี ผี ลกระทบตอหลกั สตู ร 86 หมวดที่ 8 แผนการดำเนินการเพอื่ พัฒนาหลักสูตร 94 ภาคผนวก

1 สรปุ ผลการประเมินตนเองระดับหลกั สตู ร หลักสูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาขาสาธารณสุขชมุ ชน ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 องคป์ ระกอบใน ตัวบง่ ช้ี ผลการ คะแนนการ ผลการประเมิน ดำเนินงาน ประเมนิ การประกนั (ระบจุ ำนวนข้อ/ 0.01 - 2.00 ระดบั คุณภาพนอ้ ย ตัวเลข) 2.01 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง คณุ ภาพ 3.01 - 4.00 ระดบั คุณภาพดี หลักสตู ร  ผา่ น 4.01 - 5.00 ระดบั คุณภาพดีมาก 1. การกำกบั 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณ ฑ์ มาตรฐาน มาตรฐานหลักสูตรทก่ี ำหนดโดย สกอ.  ไมผ่ า่ น ดำเนนิ การได้ 5 ขอ้ ไดแ้ ก่ ขอ้ 1, 2, 3, 4 และ 10) 2. บัณฑิต 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 4.73 ระดับคณุ ภาพดีมาก ระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ 2.2 รอ้ ยละของบณั ฑติ ปริญญาตรีทไี่ ด้งานทำหรือ ร้อยละ 4.60 ระดบั คุณภาพดมี าก ประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี 3. นักศกึ ษา 3.1 การรับนกั ศึกษา 2 ขอ้ 4.00 ระดับคณุ ภาพดี 3.2 การส่งเสรมิ และพัฒนานักศึกษา 2 ขอ้ 4.00 ระดบั คุณภาพดี 4. อาจารย์ 3.3. ผลทเ่ี กิดกบั นักศึกษา 3 ขอ้ 3.00 ระดบั คุณภาพปานกลาง 3 ขอ้ 4.00 ระดบั คุณภาพดี 5. หลกั สูตร 4.1. การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.44 ระดับคุณภาพดี การเรยี นการ 40.00 สอน การ 4.2 คุณภาพอาจารย์ (คดิ คะแนนเฉลีย่ ทกุ ตวั บง่ ช้ี 60.00 5.00 ทด่ี ำเนินการ) 16.00 2 ขอ้ 5.00 - ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มี 2 ขอ้ คุณวุฒปิ ริญญาเอก 4 ขอ้ 4.00 - ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรท่ีดำรง 4.00 ระดบั คุณภาพดี ตำแหนง่ ทางวชิ าการ 4.00 ระดบั คุณภาพดี 3.00 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง - ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ หลักสตู ร 4.3 ผลท่ีเกดิ กบั อาจารย์ 5.1 สาระของรายวชิ าในหลกั สูตร 5.2 การวางระบบผ้สู อนและกระบวนการเรยี นการ สอน

2 องคป์ ระกอบใน ตัวบ่งชี้ ผลการ คะแนนการ ผลการประเมิน การประกนั ดำเนินงาน ประเมนิ คุณภาพ (ระบุจำนวนข้อ/ 0.01 - 2.00 ระดบั คุณภาพน้อย ตวั เลข) 3.00 2.01 - 3.00 ระดบั คุณภาพปานกลาง หลักสูตร 3.01 - 4.00 ระดับคุณภาพดี 3 ขอ้ 4.01 - 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก ประเมนิ ผู้เรยี น 5.3 การประเมินผเู้ รียน ระดบั คณุ ภาพปานกลาง 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ 12 ตวั บ่งชี้ 5.00 ระดบั คณุ ภาพดีมาก มาตรฐานคณุ วุฒิ ระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ (ร้อยละ 100) 4.00 ระดบั คณุ ภาพดี 6. สงิ่ สนบั สนุน 6.1 สิง่ สนับสนุนการเรยี นรู้ การเรียนรู้ 3 ขอ้ ระดบั คณุ ภาพดี คะแนนรวมตัวบ่งชอ้ี งคป์ ระกอบท่ี 2-6 51.77 คะแนนเฉล่ยี 3.70 ผลการวิเคราะหค์ ุณภาพการศกึ ษาภายในระดบั หลกั สูตร องค์ประกอบ คะแนน จำนวน I PO คะแนน ผลการประเมนิ เฉล่ยี ท่ี ผา่ น ตวั บง่ ช้ี ระดับคุณภาพดีมาก 4.67 ระดบั คุณภาพดี 1  ผ่าน  ไม่ผ่าน 3.67 ระดบั คณุ ภาพดี 4.15 ระดบั คณุ ภาพดี 2 คะแนนเฉล่ียของ ุทก ัตวบ่งชี้ใน 2- - 2.1, 2.2 3.75 ระดบั คุณภาพดี องค์ประกอบ ีท่ 2-6 4.00 ระดบั คณุ ภาพดี 3 3 3.1,3.2,3.3 - - 4 3 4.1,4.2,4.3 - - 5 4 5.1 5.2,5.3,5.4 - 6 1 - 6.1 - 13 7 42 ผลการประเมนิ 3.92 3.75 4.67 ระดบั ระดบั ระดบั คุณภาพดี คณุ ภาพดี คุณภาพดี มาก

3 ผลการวิเคราะหจ์ ุดเด่นและโอกาสในการพัฒนาองค์ประกอบท่ี 2 - องค์ประกอบท่ี 6 จุดเด่น 1. หลกั สตู รมีการบริหารจัดการตามเกณฑม์ าตรฐานท่ี สกอ. มีความทนั สมัยและยงั เป็นทต่ี อ้ งการของผู้เรยี น 2. หลักสูตรมีการบริการวิชาการอย่างตอ่ เน่อื ง ส่งผลตอ่ การพัฒนาอาจารย์และนักศึกษาในการบริการวิชาการ และฝึกทักษะด้านสาธารณสขุ ในชุมชน โอกาสในการพัฒนา 1. ส่งเสริมใหอ้ าจารย์และบุคลากรได้รับการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง 2. ส่งเสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษามโี อกาสแขง่ ขันทักษะด้านต่างๆ ผา่ นเวทรี ะดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 3. เพม่ิ ชอ่ งทางในการประชาสัมพนั ธ์หลกั สตู ร เพื่อเพิ่มการเขา้ ถงึ กล่มุ เป้าหมายเชิงรุก

4 การรายงานผลการดำเนินงานของหลักสตู ร (มคอ.7) ทุกสิ้นปีการศึกษา หลักสูตรทุกหลักสูตรต้องดำเนินการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน ของหลักสูตร (มคอ.7) ซ่ึงเอกสารรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) หมายถึง การรายงานผล ประจำปีการศึกษาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เช่น ข้อมูลทางสถิติของนักศึกษาที่เรียน ในหลักสูตร สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถาบันที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร สรุปภาพรวมของรายงาน ผลของการ ดำเนินงานในหลักสูตร ประสิทธิภาพของการสอนในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน สรุปผลการประเมิน หลักสูตรจากความเห็นของผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ใชบ้ ัณฑิต ตลอดจนข้อเสนอในการวางแผนและพัฒนา รวมทั้ง แผนปฏบิ ัตกิ ารในการพัฒนาคณาจารย์และบคุ ลากรที่เก่ียวข้อง การรายงานผลดังกล่าวจะสง่ ไปยังคณบดี และ ใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาตนเอง เพอ่ื ปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู รเป็นระยะ ๆ รวมท้ังเป็นข้อมูลประกอบการ ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรจากผู้ประเมินภายนอก โดย มคอ.7 มีส่วนประกอบท่ีสำคัญ 7 หมวด ดังน้ี หมวดท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป หมวดท่ี 2 อาจารย์ หมวดท่ี 3 นกั ศึกษาและบณั ฑติ หมวดที่ 4 ขอ้ มูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคณุ ภาพการสอนในหลักสูตร หมวดที่ 5 การบรหิ ารหลกั สตู ร หมวดที่ 6 ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับคุณภาพหลกั สูตรจากผ้ปู ระเมนิ หมวดท่ี 7 การเปลย่ี นแปลงท่ีมผี ลกระทบต่อหลกั สตู ร หมวดท่ี 8 แผนการดำเนินการเพือ่ พฒั นาหลักสูตร การรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร เป็นการรายงานท่สี อดคล้องกบั เกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษา ซ่ึงมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพหลักสูตร(รายละเอียดศึกษาจากคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน) ทง้ั หมด 13 ตวั บง่ ช้ี และมี 7 ตวั บ่งชี้ เป็นตัวบง่ ช้ีเชงิ คณุ ภาพ มีเกณฑก์ ารประเมนิ ดงั น้ี เกณฑ์ คำอธิบายเกณฑ์ ปรบั ปรุงอย่างยิ่ง (0 คะแนน) - ไมม่ ีระบบ ไมม่ ีกลไก ไมม่ แี นวคดิ ในการกำกบั ติดตามและปรบั ปรงุ - ไมม่ ขี ้อมลู หลักฐาน ปรบั ปรุง (1 คะแนน) - มรี ะบบ มกี ลไก ไม่มกี ารนำกลไกไปสู่การปฏบิ ตั ิ/ดำเนินงาน พอใช้ (2 คะแนน) - มรี ะบบ มีกลไก มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัต/ิ ดำเนนิ งาน - มีการประเมนิ กระบวนการ - ไมม่ ีการปรับปรุง/พฒั นากระบวนการ ปานกลาง (3 คะแนน) - มรี ะบบ มกี ลไก มกี ารนำระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ/ดำเนนิ งาน - มกี ารประเมนิ กระบวนการ

5 เกณฑ์ คำอธิบายเกณฑ์ ดี (4 คะแนน) - มีการปรับปรงุ /พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ - มีระบบ มีกลไก มกี ารนำระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏบิ ัติ/ดำเนินงาน ดีมาก (5 คะแนน) - มีการประเมินกระบวนการ - มีการปรบั ปรงุ /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ - มผี ลจากการปรับปรุงเหน็ ชดั เจนเปน็ รูปธรรม - มีระบบ มกี ลไก มกี ารนำระบบกลไกไปสู่การปฏบิ ัต/ิ ดำเนินงาน - มกี ารประเมินกระบวนการ - มกี ารปรบั ปรงุ /พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ - มผี ลจากการปรบั ปรงุ เห็นชดั เจนเปน็ รูปธรรม - มแี นวทางปฏิบตั ิทด่ี ี โดยมีหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ยืนยัน และกรรมการ ผตู้ รวจประเมินสามารถใหเ้ หตอุ ธิบายการเปน็ แนวปฏิบัติที่ดีไดช้ ดั เจน โดยรายงาน ตามแม่แบบ ที่ มห าวิท ยาลัยกำห นดไว้ ตามเอกสารเผยแพ ร่ท างเว็บ ไซต์ http://www.nrru.ac.th เลอื กเมนู กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และรายงานตามทป่ี ฏบิ ัตจิ ริง โดยระบรุ ายละเอยี ด ตามหัวข้อที่ปรากฏในแม่แบบ มคอ.7 ให้สอดคล้องกับหัวข้อและสะท้อนการดำเนินงานหลักสูตรพร้อมแนบ เอกสารหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งมวี ิธีและหลกั การ ดังน้ี

6 หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไป 1. รหสั และชอ่ื หลกั สูตร 25521481104568 รหสั หลกั สตู ร สาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน ชอ่ื ภาษาไทย Bachelor of Public Health ชื่อภาษาอังกฤษ Program in Community Public Health 2. ระดบั คณุ วฒุ ิ ระดับปริญญาตรี 3. อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร คุณวุฒิ (สาขาวิชา) ตรงสาขา/ ผลงานทางวิชาการ/ อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรปจั จุบัน สถาบันการศึกษา สัมพนั ธ์ ตำรา/ งานวิจยั /ปที ่ี (ปีทส่ี ำเร็จการศึกษา) ท่ี ชอ่ื –สกุล ตพี มิ พเ์ ผยแพร่ ตำแหนง่ ทางวิชาการ 1. นางสาวฐิตมิ า โพธ์ชิ ยั วท.ม. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2550) ตรงสาขา ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก อาจารย์ วท.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา (2545) ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก ตารางที่ 2 ในภาคผนวก 2. นายธวัชชยั เอกสันติ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)์ มหาวิทยาลยั มหิดล ตรงสาขา ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (2554) วท.บ. (สุขศึกษา) มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ (2547) 3. นางสาวนฤมล เวชจกั รเวร วท.ม. (สาธารณสขุ ศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั มหิดล ตรงสาขา (2552) พย.บ. (พยาบาลศาสตร)์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล (2547) 4. นางสาวจารวุ รรณ ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร)์ สมั พนั ธ์ ไตรทพิ ยส์ มบัติ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (2555) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วท.ม. (วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแกน่ (2550) วท.บ. (เทคนิคการแพทย)์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น (2548) 5. นางสาวปาริฉตั ร ปร.ด. (การบรบิ าลทางเภสัชกรรม) สมั พนั ธ์ เกิดจนั ทกึ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น (2552) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภ.บ. (บริบาลเภสชั กรรม)มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (2545) ภ.บ. มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (2541)

7 อาจารย์ประจำหลกั สูตร อาจารย์ประจำหลักสตู ร ปีการศึกษา 2563 มีจำนวน 17 คน อาจารย์ผ้สู อน (รวมอาจารยพ์ ิเศษ) อาจารย์ผ้สู อนในภาคการศึกษาที่ 1 มีจำนวน 15 คน และในภาคการศึกษาท่ี 2 มีจำนวน 17 คน รายละเอียดดังแสดงในตาราง ภาคการศกึ ษาที่ 1 ชือ่ –สกลุ คุณวุฒสิ งู สุด (สาขาวิชา) ที่ ตำแหนง่ ทางวชิ าการ สถาบันการศึกษา (ปีทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษา) 1. นางสาวฐิติมา โพธชิ์ ัย อาจารย์ วท.ม. (โภชนศาสตร)์ 2. ดร.จารวุ รรณ ไตรทิพย์สมบตั ิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปร.ด. (ชวี เวชศาสตร)์ 3. นายธวัชชยั เอกสันติ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) 4. ดร.ปารฉิ ตั ร เกดิ จันทกึ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ปร.ด. (การบริบาลทางเภสชั กรรม) 5. นางสาวภิษณี วจิ ันทึก อาจารย์ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)์ 6. นางสาววราภรณ์ ชาตพิ หล อาจารย์ ส.ม. (การพฒั นาสุขภาพชุมชน) 7. ดร.พฒุ พิ งศ์ สตั ยวงศ์ทิพย์ รองศาสตราจารย์ ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) 8. ดร.ธนิดา ผาติเสนะ รองศาสตราจารย์ ส.ด. (สขุ ศึกษา) 9. ดร.อรรถวทิ ย์ สิงห์ศาลาแสง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ส.ด. 10. ดร.รชานนท์ ง่วนใจรักษ์ อาจารย์ Ph.D. (Public Health) 11. ดร.พัชรี ศรีกตุ า อาจารย์ ส.ด. 12. นายนรา ระวาดชยั อาจารย์ ส.ม. (อนามัยสง่ิ แวดล้อม) 13. นางสาวปัณรดา ฐานะปัตโต อาจารย์ วท.ม. (โภชนศาสตร)์ 14. ดร.ทิวากรณ์ ราชธู ร อาจารย์ ส.ด. 15. ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์ ปร.ด. (จุลชีววิทยาทางการแพทย)์ ภาคการศึกษาท่ี 2 ชื่อ–สกลุ คณุ วุฒิสงู สดุ (สาขาวชิ า) ที่ ตำแหนง่ ทางวชิ าการ สถาบนั การศึกษา (ปีท่สี ำเร็จการศึกษา) 1. นางสาวฐิตมิ า โพธ์ชิ ัย อาจารย์ วท.ม. (โภชนศาสตร)์ 2. ดร.จารวุ รรณ ไตรทพิ ย์สมบัติ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร)์ 3. นายธวชั ชัย เอกสนั ติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)์ 4. ดร.ปารฉิ ัตร เกิดจันทกึ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปร.ด. (การบริบาลทางเภสชั กรรม)

8 ที่ ช่อื –สกุล คณุ วุฒสิ งู สุด (สาขาวิชา) ตำแหนง่ ทางวชิ าการ สถาบันการศกึ ษา (ปีทสี่ ำเรจ็ การศกึ ษา) 5. นางสาวภษิ ณี วิจนั ทึก อาจารย์ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)์ 6. นางสาววราภรณ์ ชาตพิ หล อาจารย์ ส.ม. (การพัฒนาสขุ ภาพชุมชน) 7. ดร.พฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศ์ทพิ ย์ รองศาสตราจารย์ ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) 8. ดร.ธนดิ า ผาติเสนะ รองศาสตราจารย์ ส.ด. (สขุ ศึกษา) 9. ดร.อรรถวิทย์ สงิ ห์ศาลาแสง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ส.ด. 10. ดร.รชานนท์ ง่วนใจรักษ์ อาจารย์ Ph.D. (Public Health) 11. ดร.พชั รี ศรีกตุ า อาจารย์ ส.ด. 12. นายนรา ระวาดชัย อาจารย์ ส.ม. (อนามัยสง่ิ แวดล้อม) 13. ดร.ทวิ ากรณ์ ราชูธร อาจารย์ ส.ด. 14. ดร.พฤมล น้อยนรนิ ทร์ อาจารย์ ปร.ด. (จลุ ชีววทิ ยาทางการแพทย์) 15. อ.นพเก้า บวั งาม อาจารย์ ส.ม. (อนามัยสงิ่ แวดลอ้ ม) 16. อ.อษุ าวดี ไพราม อาจารย์ วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) อาจารย์พิเศษ ไมม่ ี 4. สถานทจี่ ัดการเรยี นการสอน อาคารปฏบิ ตั กิ ารรวม (อาคาร 38) คณะสาธารณสุขศาสตร์ และอาคารเรยี นภายในมหาวิทยาลัย ราชภฏั นครราชสีมา อำเภอเมืองนครราชสมี า จงั หวัดนครราชสมี า 5. การกำกบั ใหเ้ ปน็ มาตรฐาน (ตวั บง่ ชี้ 1.1) ผลการดำเนินงาน ท่ี เกณฑ์การประเมิน เป็นไป ไม่เปน็ ไป เอกสารหลกั ฐาน 1 จำนวนอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ 2 คณุ สมบัติอาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลักสตู ร 3 คณุ สมบัตอิ าจารยป์ ระจำหลักสตู ร ✓ ตารางท่ี 1 ในภาคผนวก 4 คณุ สมบตั ิของอาจารยผ์ ูส้ อน 10 การปรบั ปรงุ หลักสตู รตามรอบระยะเวลาท่ีกำหนด ✓ ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก ✓ ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก ✓ ตารางที่ 3 ในภาคผนวก ✓ ตารางที่ 7 ในภาคผนวก

9 หมวดท่ี 2 อาจารย์ 1. อาจารย์ ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตได้มีการดำเนินงานตามระบบและกลไกในการ บรหิ ารและพัฒนาอาจารย์เพื่อให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรและนกั ศกึ ษา รายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ตัวบง่ ชี้ ผลการดำเนินงาน การบริหาร มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 4 คะแนน และพัฒนา1) 1. การรับและแตง่ ตัง้ อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร อาจารย์ 2) เปา้ หมาย: 1. มอี าจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รครบ 5 คน ตลอดปกี ารศึกษา 2563 (ตัวบง่ ชี้ 4.1) 2. มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 3. มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของอาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสตู รท่ีชัดเจน Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรจัดประชุมเพื่อร่วมกนั วเิ คราะห์อตั รากำลังของอาจารย์ ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร เพื่อจัดทำแผนดา้ นอัตรากำลังของอาจารยใ์ หเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2558 โดยพิจารณาจากคณุ วฒุ ิทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษาตรงตามสาขาและสาขาทส่ี ัมพันธ์ ตำแหน่งทางวิชาการ คณุ สมบตั ขิ องอาจารย์ รวมไปถงึ การมีผลงานวชิ าการยอ้ นหลงั 5 ปี หากมกี าร ปรับเปลย่ี นศกั ยภาพอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรจดั ประชมุ เพอ่ื ร่วมกนั เสนอ ขออัตรากำลังและกำหนดบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตรตอ่ คณะฯ Do: ผลการดำเนินงาน 1.1 ระบบและกลไกการคดั เลอื กอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร หลักสูตรจึงได้ดำเนินการกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพ่ือให้เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 จากนั้นเสนอขออัตรากำลังต่อคณะกรรมการบริหารคณะ สาธารณสขุ ศาสตร์ที่มีคณุ สมบตั เิ ป็นไปตามเกณฑ์ จากน้ันจัดทำ สมอ.08 เสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณา เสนอต่อสภา วชิ าการเพอื่ พจิ ารณา เสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั เพ่ือพิจารณา และเสนอตอ่ สกอ. เพื่อรบั ทราบ 1.2 ขน้ั ตอนการเสนอแตง่ ตง้ั อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร ในรอบปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้มีการปรับเปล่ียนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในภาค การศึกษาท่ี 1/2563 ในคราวประชุมครั้งท่ี 7 (7/2563) เมอ่ื วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยทปี่ ระชุม มีมติให้ อาจารย์นฤมล เวชจักรเวร ซึ่งรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติราชการจากการลาศึกษาต่อ ในวันที่ 20 กรกฏาคม พ.ศ. 2563 เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทดแทน รศ.ดร.ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ ซ่ึงจะ เกษียณอายุราชการ มีผลวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563 หลักสูตรเสนอรายงานการปรับปรุงหลักสูตร เล็กน้อย ระดับปรญิ ญาตรี หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน (สมอ.08) โดย ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารคณะ ผ่านความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจำคณะ เมอ่ื คราวประชุมคร้ังที่ 4/2563 วันท่ี 21 สิงหาคม 2563 ผ่านการเห็นชอบจากสภาวิชาการ และผ่านการ เห็นชอบจากท่ีประชุมสภามหาวทิ ยาลยั ครัง้ ท่ี 8/2563 เมื่อวันท่ี 18 กันยายน 2563 1.3 การกำหนดหน้าทีข่ องอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ในรอบปีการศกึ ษา 2563 คณะได้ออกคำสั่งคณะสาธารณสุขศาสตร์ ท่ี 214/2563 เร่อื ง

10 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน โดยกำหนด หน้าที่คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร ดังนี้ 1) ดำเนินการด้านประเมินคุณภาพของหลักสูตรตามตัวบ่งช้ีผลการดำเนินงานท่ีระบุไว้ใน รายละเอยี ดของหลกั สตู ร (มคอ.2) 2) วางแผนและดำเนินงาน การเตรียมความพร้อมทางการศึกษาแก่นักศึกษา จัดกิจกรรมการ พัฒนาความรู้ความสามารถในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบ ของทุกรายวิชาและในระหว่างการศึกษาต้องส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา และเสริมสร้าง ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 3) ตรวจสอบความพร้อมส่ิงสนับสนุนการเรียนการสอน หากพบว่ายังไม่เพยี งพอ ไม่ทันสมัย ใหแ้ จ้งมหาวิทยาลยั โดยผ่านคณะเพ่อื จดั หาใหเ้ หมาะสม 4) วางแผนและดำเนินงาน การเปิดสอนรายวิชาที่เป็นรายวิชาบังคับและวิชาเลือกตลอด ระยะเวลาการศึกษา และพิจารณากำหนดอาจารย์ผู้สอน โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถและความ เช่ียวชาญในวิชาท่ีสอน สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องกำหนด อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระที่เหมาะสมกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ และลักษณะของนกั ศกึ ษา 5) ในแต่ละภาคการศึกษาต้องติดตามการจัดทำเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ทกุ รายวชิ าอย่างเป็นระบบ 6) ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของ ประสบการณภ์ าคสนาม (มคอ.4) ทกุ รายวิชา พรอ้ มทั้งลงนามก่อนส่งไปคณะ 7) กำกับและตดิ ตามการสอน การดำเนนิ การประสบการณ์ภาคสนามและวดั ผลการเรยี นรู้ตาม เอกสารรายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ.3) รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ทุกรายวิชา 8) ดำเนินการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาให้ครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ในทุก ๆ ด้านตามที่กำหนดไว้ในแผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบหลกั ของทุกวชิ า 9) ดำเนินการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรทู้ ่ีกำหนด ในเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) อย่าง น้อยร้อยละยี่สิบห้าของรายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา และดำเนินการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธ์ขิ องนกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรูท้ ีก่ ำหนดในหลักสูตร (มคอ.2) 10) ติดตามการส่งผลการเรียนทุกรายวิชา ให้เป็นไปตามประกาศปฏิทินการศึกษาของ มหาวิทยาลัย ในแต่ละภาคการศึกษา และจัดให้มีการประชุมเพ่ือพิจารณาผลการเรียน ทุกรายวิชา ของภาคการศกึ ษานน้ั ๆ กอ่ นสง่ ผลการเรยี นไปยังคณะ 11) ดำเนินการและติดตามการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) รายงานผลการดำเนนิ การของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ทุกรายวิชาอย่างเป็นระบบ 12) ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารเอกสารรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ทุกรายวิชา พร้อมทั้งลงนามก่อน ส่งไปยงั คณะ 13) เมื่อสิ้นปีการศึกษาต้องดำเนินการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) และสง่ ไปยังคณะเพอ่ื คณะรายงานตอ่ สภามหาวิทยาลัย

11 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน 14) ตดิ ตามการได้งานทำของบณั ฑติ ภายในระยะเวลาหนึง่ ปีนับจากวันท่ีสำเรจ็ การศึกษา 15) ดำเนนิ การ การประเมินคณุ ภาพบัณฑติ โดยผู้ใชบ้ ณั ฑิตทุกปกี ารศึกษา 16) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการของตนเองและผู้สอนในสัดส่วนที่เหมาะสม อัน เป็นจุดเน้นของหลักสูตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ และส่งเสริมและพัฒนา ศกั ยภาพบุคลากรสายสนบั สนนุ (ถา้ ม)ี 17) ดำเนินการประเมินหลักสูตรเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเป็นระยะ ๆ อยา่ งน้อยทุก ๆ 5 ปี 18) ปฏิบตั ิงานตามท่ีคณะและมหาวทิ ยาลัยมอบหมาย นอกจากน้ี คณะได้ออกคำสั่งคณะสาธารณสุขศาสตร์ ที่ 233/2563 เร่ือง แต่งต้ังผู้รับผิดชอบ งานประจำฝ่ายภายในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ซึง่ เป็นการกำหนด หน้าท่ีของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีความชัดเจน สอดคล้องกับพันธกิจของคณะ รายละเอียด ดงั น้ี ท่ี รายชอ่ื ฝา่ ยท่ีรับผิดชอบ 1 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปาริฉัตร เกดิ จันทกึ ฝ่ายวิชาการ 2 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.จารุวรรณ ไตรทิพยส์ มบัติ ฝา่ ยวจิ ัยและนวัตกรรม 3 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ธวัชชัย เอกสันติ ฝา่ ยบริการวิชาการ 4 อาจารย์ฐิติมา โพธิ์ชัย ฝ่ายบริหาร 5 อาจารย์นฤมล เวชจกั รเวร ฝ่ า ย กิ จ ก า ร นั ก ศึ ก ษ า ท ำ นุ บ ำ รุ ง ศลิ ปวฒั นธรรม Check: การประเมินกระบวนการ จากการประเมินผลการแต่งต้ังอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พบว่ามีการแต่งตั้งอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ 5 คนอย่างต่อเนื่องและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 แต่คุณวุฒิในระดับปริญญาเอกและการดำรงตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสตู รยงั ไมค่ รบทั้ง 5 คน ในส่วนของการกำหนดหน้าที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในปีการศึกษา 2563 พบว่าหลักสูตรมี ระบบในการกำหนดหน้าที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ชัดเจนและสอดคล้องตามพันธกิจคณะ ซ่ึงทำให้ การบรหิ ารงานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ Act: การปรบั ปรุงพัฒนา ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงในปีการศึกษา 2564 คือ หลักสูตรควรมีระบบและกลไกท่ีชัดเจนใน การสนับสนุน/ติดตามการสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกและการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการให้เป็นไป ตามเกณฑ์ต่อไป เพ่ือเตรียมการสำหรับอนาคตที่อาจมีอาจารย์ลาออกหรือปรับย้ายตำแหน่ง เพ่ือให้ได้มาซ่ึง อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรทีเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานหลักสตู รต่อไป

12 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนนิ งาน 2. การบริหารอาจารย์ หลักสูตรมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ เปา้ หมาย: 1. หลกั สตู รมีอาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลกั สตู รเปน็ ไปตามเกณฑ์ ครบท้งั 5 คน 2. อาจารย์ใหม่ต้องไดร้ ับการปฐมนเิ ทศและมีระบบอาจารย์พีเ่ ลี้ยงสำหรบั อาจารย์ใหม่ 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพ โดยเฉพาะการเตรียมตัว เพ่อื เขา้ ส่ตู ำแหนง่ ทางวิชาการ 4. อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รผ่านการประเมนิ การปฏบิ ัตงิ าน 5. อาจารยป์ ระจำหลกั สตู รได้รับการสร้างแรงจูงใจและสวัสดิการ Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน หลักสูตรมีการประชุมเพ่ือพิจารณาวางแผนอัตรากำลังทดแทนอาจารย์ท่ีเกษียณอายุราชการ หรือลา คลอด Do: ผลการดำเนินงาน 2.1 การวางแผนกำลงั คน ในปีการศกึ ษา 2563 อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตรมีการจดั ทำแผนพฒั นาตนเองรายบุคคลเสนอต่อ คณะ และคณะได้ร่วมกันวิเคราะห์แผนบริหารอัตรากำลังของอาจารย์และความจำเป็นของหลักสูตรในระยะ ยาว 5 ปี เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษา ซึ่งพบว่าอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีแผนจะ เกษียณอายุราชการหลักสูตร จำนวน 1 คน คือ รศ.ดร.ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ โดยหลักสูตรได้จัดทำ สมอ.08 เพ่ือแต่งตั้ง อ.นฤมล เวชจักรเวร เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทดแทน อีกทั้งอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีแผนจะลาคลอด จำนวน 1 คน คือ อาจารย์ฐิติมา โพธ์ิชัย มติท่ีประชุมครั้งที่ 8/2563 ได้มีมติให้ ผศ.ธวัชชัย เอกสันติ เป็นรักษาราชการแทน ประธานหลักสูตรฯ ตั้งแต่วันท่ี 12 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ถงึ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2564 2.2 การปฐมนิเทศและระบบอาจารยพ์ เ่ี ล้ยี งสำหรับอาจารย์ใหม่ .2 ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีอาจารย์ใหม่ จำนวน 1 คน คือ อาจารย์นฤมล เวชจักรเวร ท่ี กลับจากการลาศึกษาต่อเข้าปฏิบัติงานในวันท่ี 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยได้รับการปฐมนิเทศจาก คณะสาธารณสุขศาสตร์และหลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต เม่ือวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้อง ประชมุ 3 โดยมีสาระสำคัญในการปฐมนเิ ทศ 6 ด้าน ดังน้ี 1) วสิ ยั ทัศน์ นโยบาย ทิศทางการบริหารงานและวฒั นธรรมองคก์ รของคณะสาธารณสุขศาสตร์ 2) คุณสมบตั แิ ละคณุ ลกั ษณะของอาจารย์มอื อาชพี 3) โครงสร้างองค์กร หน้าท่ีความรับผิดชอบของบุคลากร และหลักเกณฑก์ ารพิจารณาเล่ือนข้ัน เงินเดือน 4) บทบาทของบุคลากรต่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา 5) ระบบการใหบ้ ริการของสำนกั งานคณบดี 6) การบรหิ ารและจดั การเรยี นการสอนในหลักสูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต 2.3 การเขา้ สู่ตำแหน่งทางวิชาการ การดำเนนิ งานในระดบั คณะ คณะไดม้ ีการจัดทำแผนพฒั นาบุคลากร การตดิ ตามความกา้ วหน้าการเขา้ สู่ตำแหนง่ ทาง วิชาการของคณาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ การสนับสนุนงบประมาณในการผลิตผลงานทางวิชาการ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

13 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนนิ งาน การดำเนินงานในระดบั หลกั สตู ร หลกั สูตรมีการสง่ เสริมและพฒั นาความรูแ้ ละทักษะใหแ้ ก่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู รและ อาจารย์ผู้สอน ท้ังด้านการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล การจัดการความรู้ การวิจัย การ บริการวิชาการ และยงั กระตุ้นให้อาจารย์เขียนขอทุนวิจัยจากหน่วยงานต่างๆ รวมไปถึงผลิตผลงานทาง วชิ าการอยา่ งตอ่ เน่ือง เพือ่ พัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน รวมไปจนถึงส่งเสริมให้เข้าร่วมโครงการการ เตรียมความพร้อมเพื่อเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางวิชาการท่มี หาวิทยาลยั จดั ขนึ้ ในปกี ารศกึ ษา 2563 อาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รทกุ คนได้เขา้ ร่วมโครงการส่งเสรมิ บุคลากรเข้าสู่ ตำแหนง่ ทางวิชาการและตำแหนง่ ท่ีสงู ขึน้ เมอ่ื วนั ท่ี 28 มกราคม 2564 วตั ถุประสงค์เพ่ือเสรมิ สร้างศักยภาพ และสง่ เสริมความกา้ วหนา้ ของบคุ ลากร นอกจากน้ันอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรไดแ้ ก่ ผศ.ธวชั ชยั เอกสันติ และ อ.ฐิติมา โพธิ์ชัยไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยให้เผยแพร่ผลงานวจิ ยั ในฐาน TCI 1 หรือ ระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ เมอื่ วันที่ 5 สิงหาคม 2563 และผศ.ดร.จารวุ รรณ ไตรทพิ ย์สมบัติ และผศ.ธวชั ชัย เอกสันติ เข้ารว่ มโครงการส่งเสรมิ การตพี มิ พ์เผยแพร่ผลงานวชิ าการในวารสารฐาน TCI 1 เม่อื วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564 ซง่ึ จัดโดยคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เพอื่ เปน็ การเตรยี มความ พรอ้ มในการเข้าสู่ตำแหนง่ ทางวชิ าการ นอกจากน้ี หลกั สูตรได้มอบหมายให้อาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู รจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล และนำเสนอตอ่ ประธานหลกั สตู ร และได้กำหนดอาจารยผ์ สู้ อนในรายวิชาที่อาจารยว์ างแผนเตรยี มตวั ทำ ผลงานตามสาขาทเี่ ชย่ี วชาญ 2.4 การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน หลักสูตรดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานท้ังอาจารย์ใหม่และอาจารย์เดิม ตามหลักเกณฑ์การ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัย โดยทำการประเมินผลทุก 6 เดือน ในเดือนเมษายนและ ตุลาคมของทุกปี ซ่ึงประเมินโดยคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการท่ีมหาวิทยาลัยแต่งตั้ง โดย คณะกรรมการจะพิจารณาผลงานตามประกาศของคณะสาธารณสุขศาสตร์ เรื่อง เกณฑ์การพิจารณาเลื่อน เงินเดือนบุคลากรสายวิชาการ คณะสาธารณสุขศาสตร์ หลังจากน้ันคณะจะส่งรายงานผลประเมินการ ปฏิบัติงานต่อมหาวิทยาลัยในลำดับถัดไป ในปีการศึกษา 2563 พบว่าอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนมี ภาระงานเปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยกำหนดผา่ นการประเมิน 2.5 การสรา้ งแรงจูงใจและสวัสดิการ หลักสูตรมีการสร้างแรงจงู ใจและสวัสดิการใหก้ ับอาจารย์ประจำหลกั สตู ร ดังนี้ 2.5.1 กองทุนสวสั ดกิ ารช่วยเหลือบคุ ลากรของคณะสาธารณสุขศาสตร์ตามประกาศคณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่องเงินช่วยเหลือบุคลากรที่เจ็บป่วย หรือประสบ อบุ ตั เิ หตุ หรอื อบุ ตั ภิ ัยจากเงนิ บรจิ าคของผู้มจี ิตศรัทธา 2.5.2 ประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร์เรื่องการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการเข้าสู่ ตำแหน่งทางวิชาการและตำแหนง่ ทส่ี งู ขึน้ 2.5.3 โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยให้เผยแพร่ผลงานวิจัยในฐาน TCI 1 หรือระดับชาติ หรือนานาชาติ ซ่งึ มีวตั ถปุ ระสงคใ์ นการส่งเสริมการตพี มิ พ์เผยแพร่ผลงานวิจยั 2.5.4 โครงการส่งเสริมการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารฐาน TCI 1 ซึ่งมี วัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยและเชิดชูเกียรติบุคลากรท่ีมีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ใน รูปแบบต่างๆ ซ่ึงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับประกาศนียบัตรและรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรติที่มี

14 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนนิ งาน ผลงานตพี มิ พ์เผยแพร่ จำนวน 1 คน ได้แก่ ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ 2.5.5 โครงการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการวิจัยจากคณะสาธารณสุขศาสตร์ เพ่ือ สนับสนุนให้บุคลากรได้ดำเนินงานวิจัย ซ่งึ อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ได้รับการจัดสรรทุนวิจัย ได้แก่ ผศ.ดร.จารวุ รรณ ไตรทิพย์สมบัติ, ผศ.ธวัชชยั เอกสนั ติ และ อ.ฐติ มิ า โพธ์ิชยั 2.5.6 การขอสนับสนุนงบประมาณในการสอบและขอขึ้นรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ วิชาชีพการสาธารณสขุ ชมุ ชนจากคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ทั้งนี้พบว่า ผลการประเมินภาพรวมความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อการ บริหารหลักสูตรอยูใ่ นระดับมากท่ีสุด (4.51  0.56) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ สวัสดิการ สวัสดิการ และ ขวัญกำลงั ใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก (4.16  0.87) Check: การประเมินกระบวนการ จากการทบทวนการดำเนนิ งานตามระบบและกลไก พบว่า หลักสตู รสามารถดำเนนิ การบรรลุ ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ ทง้ั 5 ข้อดังตอ่ ไปนี้ 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มกี ารวางแผนและวเิ คราะหอ์ ัตราอัตรากำลงั เพือ่ ทดแทน อาจารยท์ เี่ กษียณอายุ ทำใหม้ ีอาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลกั สูตรทีม่ คี ุณสมบตั เิ ปน็ ไปตามเกณฑค์ รบท้ัง 5 คน อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู รทีก่ ลบั มาจากการลาศึกษาตอ่ ได้รบั การชีแ้ จงนโยบายของ คณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละแนวทางการจัดการเรียนการสอนของหลกั สูตร โดยมีอาจารยพ์ เี่ ลย้ี งคอยให้ คำแนะนำอยา่ งใกลช้ ดิ 3. อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู รไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพเพอ่ื เตรียมเข้าสตู่ ำแหนง่ วิชาการ โดย ทกุ คนไดร้ ายงานแผนการเตรียมตัวเข้าสตู่ ำแหน่งทางวิชาการ อย่างไรกต็ าม ปีการศกึ ษา 2563 ยงั ไม่มี อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรคนใดย่ืนเอกสารขอพิจารณาตำแหน่งทางวชิ าการ ทง้ั นี้ อย่รู ะหวา่ งการ เตรียมผลงาน 4. อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลักสูตรผา่ นการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการทัง้ 5 คน 5. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู รได้รับการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน Act: การปรับปรงุ พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 แม้ว่าหลักสูตรจะดำเนินการได้บรรลุเป้าหมาย แต่หลักสูตรยังต้องการให้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพ่ิมขึ้น เพื่อ รองรับการหมดวาระของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 1 คนในเดือน กันยายน 2563 ดังน้ัน ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรควรสนับสนุนรวมไปถึงกำกับติดตามให้อาจารย์ ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรมกี ารย่ืนขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการตอ่ ไป การสง่ เสริมและพัฒนาอาจารย์ หลกั สูตรมผี ลการดำเนินงาน ดังน้ี เป้าหมาย: อาจารย์ได้พัฒนาตนเองให้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง อยา่ งน้อย 1 ครั้งต่อ ปี การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาจารยใ์ ห้อาจารยไ์ ด้พัฒนา ตนเองให้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง การจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพ อาจารย์ให้เป็นไปตามมาตรฐานและศักยภาพท่ีสูงข้ึน รวมถึงการกำกับ ส่งเสริมให้อาจารย์ได้พัฒนา

15 ตวั บง่ ชี้ ผลการดำเนินงาน ตนเองดา้ นวิชาการอยา่ งตอ่ เน่ือง Plan: การวางแผนการดำเนินงาน หลักสูตรมีการสำรวจความต้องการพัฒนาศักยภาพตนเองของอาจารย์ในหลักสูตร ผ่านแบบสำรวจ ของคณะสาธารณสุขศาสตร์ นอกจากนั้นหลักสูตรมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการส่งเสริมและพัฒนา อาจารยผ์ า่ นไลนห์ ลกั สตู ร และแฟม้ เอกสารประชาสัมพนั ธ์ของหลกั สตู ร Do: ผลการดำเนินงาน หลักสูตรสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตนเองทัง้ ทางดา้ นวิชาการและวิชาชีพตามสมรรถนะ และความตอ้ งการของตนเอง 3.1 การฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดงู าน ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับการพัฒนาศักยภาพโดยการเข้าร่วม การฝึกอบรม/ สัมมนา/ ศึกษาดูงานภายในประเทศท้ัง 5 คน (ร้อยละ 100) ทั้งนี้ คณะได้มีการจัดสรร งบประมาณเพอ่ื สนับสนุนใหอ้ าจารย์สามารถเขา้ ร่วมฝกึ อบรม / สัมมนากับหน่วยงานภายนอก ผลการเข้าร่วมฝกึ อบรม/ สมั มนา / ศึกษาดงู านของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตร ชอื่ -สกุล กจิ กรรม ระยะเวลา / สถานที่ หน่วยงานที่จัด อาจารย์ฐิตมิ า กิจกรรมประชมุ วิชาการ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2564 ฝ่ายวิจยั และ โพธิช์ ยั สาธารณสุขไทย-ลาว ณ ห้องประชุม ชั้น 3 บรกิ ารวิชาการ ครั้งท่ี 6 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา การเสวนาวิชาการเพอื่ วันท่ี 5, 12, 19 พฤษภาคม ฝา่ ยจดั ส่งเสรมิ การเผยแพร่ และ 2 มถิ นุ ายน 2564 การศกึ ษาและ งานวิจยั ในระดับนานาชาติ จัดการความรู้ (Journal club) ผศ.ธวัชชัย การศกึ ษาดูงานรปู แบบของ วนั ที่ 25 มีนาคม 2564 หลกั สตู ร ส.บ. เอกสนั ติ บริการให้คำปรึกษาทาง สขุ ภาพในสถานบริการ สขุ ภาพปฐมภูมิ กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนา วันท่ี 31 มนี าคม พ.ศ. 2564 ฝ่ายวิจยั และ บทความวจิ ัยเพ่อื เผยแพร่ ณ ห้องประชุม 1 ชนั้ 3 บริการวิชาการ ในฐานข้อมูลวารสาร อาคาร 38 วิชาการ TCI 1 คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา กจิ กรรมประชมุ วชิ าการ วันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2564 ฝา่ ยวิจัยและ สาธารณสขุ ไทย-ลาว ณ หอ้ งประชมุ ช้ัน 3 บริการวชิ าการ ครั้งที่ 6 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ

16 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน ผศ.ดร.ปารฉิ ัตร การเสวนาวชิ าการเพอ่ื นครราชสมี า ฝา่ ยจัด เกิดจันทึก สง่ เสรมิ การเผยแพร่ วันท่ี 5, 12, 19 พฤษภาคม การศึกษาและ ผศ.ดร.จารวุ รรณ งานวจิ ยั ในระดับนานาชาติ และ 2 มิถุนายน 2564 จัดการความรู้ ไตรทิพย์สมบัติ (Journal club) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การพัฒนา วนั ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ฝ่ายวจิ ยั และ อาจารยน์ ฤมล บทความวิจัยเพือ่ เผยแพร่ ณ ห้องประชุม 1 ช้นั 3 บรกิ ารวชิ าการ เวชจักรเวร ในฐานขอ้ มูลวารสาร อาคาร 38 วชิ าการ TCI 1 คณะสาธารณสุขศาสตร์ Sysmex มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ Thailand อบรมสมั มนาหวั ข้อเกยี่ วกับ นครราชสีมา วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ วนั ที่ 20 สิงหาคม, 24 ฝา่ ยวจิ ัยและ กันยายน, 15 ตลุ าคม, 23 บรกิ ารวชิ าการ กจิ กรรมส่งเสรมิ การพฒั นา มีนาคม, 1 เมษายน 2564 บทความวิจัยเพือ่ เผยแพร่ วนั ท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ฝ่ายวิจยั และ ในฐานขอ้ มูลวารสาร ณ ห้องประชมุ 1 ช้ัน 3 บริการวชิ าการ วชิ าการ TCI 1 อาคาร 38 คณะสาธารณสุขศาสตร์ Ortho-Clinical กจิ กรรมประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภฏั Diagnostics สาธารณสุขไทย-ลาว นครราชสีมา (Thailand) คร้ังที่ 6 วนั ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2564 Ltd. ณ หอ้ งประชุม ช้ัน 3 ฝา่ ยจดั เขา้ รว่ มอบรมสัมมนา คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม การศกึ ษาและ ผ่านระบบออนไลน์ หวั ข้อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จดั การความรู้ Clinical & Laboratory นครราชสมี า Update on Rh System วนั ที่ 13 พฤษภาคม การเสวนาวชิ าการเพอ่ื พ.ศ. 2564 สง่ เสรมิ การเผยแพร่ งานวจิ ยั ในระดบั นานาชาติ วนั ที่ 5, 12, 19 พฤษภาคม (Journal club) และ 2 มิถุนายน 2564

17 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน 3.2 การจัดประชมุ /การเข้ารว่ มประชมุ วิชาการระดบั ชาต/ิ นานาชาติ กกกในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้เข้าร่วมประชุมวิชาการทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ โดยคณะมีโครงการสง่ เสริมสมรรถนะบคุ ลากรซึ่งจดั สรรงบประมาณเป็นจำนวน 260,000 บาท และโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีคุณภาพ จำนวน 86,780 บาท เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ เข้าร่วมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยได้อย่างท่ัวถึง และไม่จำกัดจำนวนครั้งในการเข้าร่วมต่อ คนภายในงบประมาณทีจ่ ัดสรรให้ ซ่งึ เป็นการสง่ เสริมใหเ้ กดิ การพัฒนาตนเองทางวชิ าการอย่างเตม็ ท่ี โดย ในปีการศึกษา 2563 มอี าจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รเขา้ รว่ มการประชุมวิชาการระดับชาติ จำนวน 4 คน ไดแ้ ก่ ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตรทพิ ย์สมบัติ, ผศ.ธวชั ชัย เอกสนั ติ, อ.ฐิติมา โพธ์ชิ ัย และอ.นฤมล เวชจกั รเวร กกกกกก3ในปีการศึกษา 2563 คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ไดก้ ำหนดจัดการประชมุ วชิ าการสาธารณสขุ ไทย- ลาวคร้ังที่ 6 ขึ้นเม่ือวันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2564 ณ ห้องประชุม ช้ัน 3 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซ่ึงเปิดโอกาสให้อาจารย์และนักศึกษาในคณะเข้าร่วมการประชุม วชิ าการ และนำเสนอผลงานวจิ ัยแบบโปสเตอร์และปากเปล่า 3.3 การสนับสนนุ ทนุ การศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ คณะส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรลาศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้นท้ังภายในและ ต่างประเทศ ตามแนวทางการสนับสนุนทุนศึกษาต่อของมหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยจัดให้มีกองทุน พัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สำหรับปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร 3 คนยังอยรู่ ะหวา่ งการลาศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอก 3.4 การให้รางวลั เชิดชูเกยี รติ กกกกกก เม่ือวันท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ณ ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคาร 38 มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ ได้รับประกาศนียบัตรเพื่อเชิดชูเกียรติที่มีผลงานตีพิมพ์ เผยแพร่ Check: การประเมินกระบวนการ จากการประเมินระบบและกลไก พบว่าอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรไดร้ ับการส่งเสริมให้พัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่องตามความต้องการ ผลการประเมินภาพรวมความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร ในปีการศึกษา 2563 ในด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน มี ความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก (4.20 ± 0.84) ซ่ึงครอบคลุมประเด็นการมีโอกาสก้าวหน้าใน หน้าที่การงาน การไดร้ บั การสนับสนุนให้พัฒนาความรูค้ วามสามารถและทกั ษะในการทำงาน เช่น อบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาต่อ และการสนับสนุนการทำผลงานเพ่ือเข้าสู่ตำแหน่งท่ีสูงขึ้น โดยทุกข้อมีระดับ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก และคา่ เฉลี่ยเท่ากนั คอื 4.20 ± 0.84 อย่างไรก็ตาม มีอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรบางคนได้มีโอกาสนำผลงานวิชาการไปเผยแพร่ใน การประชุมวิชาการ/วารสารวิชาการ ก่อให้เกิดมีการพัฒนาตนเองด้านการดำเนินการวิจัย การเขียน บทความเพ่อื นำเสนอผลงานทงั้ การนำเสนอในเวทวี ิชาการ และการตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการตา่ ง ๆ สำหรับอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีกลับจากการลาศึกษาต่อและกำลังอยูใ่ นข้ันตอนของการ ขอสำเรจ็ การศกึ ษา หลกั สูตรควรมีระบบกำกบั ตดิ ตามท่เี ขม้ ข้นขึน้ Act : การปรบั ปรงุ พฒั นา หลักสูตรส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ผ่าน การประชุมวิชาการ อบรม และสัมมนา โดยหลักสูตรได้วางเป้าหมายว่าในปีการศึกษา 2564 หลักสูตร

18 ตวั บง่ ชี้ ผลการดำเนนิ งาน จะต้องสำเรจ็ การศกึ ษา อย่างนอ้ ย 1 คน คณุ ภาพ ในปีการศึกษา 2563 คณุ ภาพของอาจารย์ มรี ายละเอียดดังนี้ อาจารย์ เป้าหมาย: 1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รมคี ณุ วฒุ ิระดับปรญิ ญาเอกเปน็ ไปตามเกณฑ์ประกันคุณภาพ (ตวั บ่งช้ี 4.2) การศกึ ษาภายใน พ.ศ.2562 2. อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตรมตี ำแหน่งทางวิชาการเปน็ ไปตามเกณฑ์ ประกนั คุณภาพ การศกึ ษาภายใน พ.ศ.2562 3. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรมกี ารนำเสนอผลงานวชิ าการในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน ระดบั คณะ คณะไดม้ ีการสนบั สนนุ การเพิ่มคณุ วฒุ ใิ นระดับปรญิ ญาเอก ตำแหน่งทางวิชาการ ผ่านการจดั สรร งบประมาณ การจัดโครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรในการผลิตผลงานวิจัยท่มี คี ุณภาพ ซ่งึ สนบั สนนุ ให้ คณาจารย์มกี ารผลติ ผลงานและเผยแพรผ่ ลงานวิชาการในรปู แบบตา่ งๆ รวมไปถงึ ผลงานสร้างสรรค์ ระดับหลักสตู ร หลกั สตู รไดม้ ีการสนับสนุนใหอ้ าจารยพ์ ัฒนาตนเองให้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาชพี อยา่ งต่อเน่ือง รวมไปถึงการจดั สรรงบประมาณในการพัฒนาศกั ยภาพอาจารยใ์ ห้เปน็ ไปตามมาตรฐานและศกั ยภาพท่ี สูงขน้ึ รวมถงึ การกำกับ ส่งเสริมให้อาจารยไ์ ด้พัฒนาตนเองดา้ นวิชาการอย่างต่อเนื่อง Do: ผลการดำเนนิ งาน 1) ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิปรญิ ญาเอก อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน มีคุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาเอก จำนวน 2 คน ได้แก่ ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตรทพิ ย์สมบตั ิ และ ผศ.ดร.ปาริฉัตร เกิดจนั ทึก อาจารย์ที่มคี ุณวฒุ ปิ ริญญาเอก คดิ เปน็ ร้อยละ 40 คะแนนผลการประเมินในปีนี้ = (รอ้ ยละ 40) x 5 = 5 20 2) ร้อยละของอาจารย์ทมี่ ีตำแหนง่ ทางวชิ าการ อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน มีตำแหน่งทางวชิ าการ จำนวน 3 คน ไดแ้ ก่ ผศ. ดร.จารุวรรณ ไตรทิพยส์ มบัติ, ผศ.ดร.ปารฉิ ัตร เกิดจันทกึ และผศ.ธวัชชัย เอกสนั ติ อาจารย์ทม่ี ีตำแหนง่ ทางวิชาการ คิดเป็นรอ้ ยละ 60 คะแนนผลการประเมินในปนี ี้ = (ร้อยละ 60) x 5 = 5 60

19 ตวั บ่งชี้ ผลการดำเนินงาน 3) ผลงานวิชาการของอาจารย์ ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในฐาน TCI 2 จำนวน 1 เรื่อง และบทความวิจัยท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ จำนวน 1 เร่ือง ตามตารางท่ี 8 ในภาคผนวก พบว่า ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทาง วิชาการของอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรเท่ากบั คะแนนผลการประเมินในปีนี้ = ((0.6*1)+(0.2*1)) x 100 = 16 5 คะแนนผลการประเมนิ ในปีน้ี = (รอ้ ยละ 16) x 5 = 4 20 Check: การประเมินกระบวนการ จากการประเมนิ ระบบและกลไก พบวา่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รมคี ณุ วฒุ ิและตำแหนง่ ทางวิชาการ เป็นไปตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.2562 แตอ่ ย่างไรก็ตาม อาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลกั สูตรยงั ต้อง มีการเพ่ิมศักยภาพในเรื่องของคณุ วฒุ ิและตำแหนง่ ทางวชิ าการเพม่ิ เติม ในสว่ นของผลงานทางวชิ าการของ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร พบว่ายังมกี ารตพี มิ พ์เผยแพร่ในระดับชาตเิ ทา่ นน้ั และมีเพยี ง 2 ชนิ้ งานในรอบ ปี Act: : การปรับปรุงพฒั นา ในปีการศึกษา 2564 หลักสตู รควรมกี ารประชุมเพ่ือพฒั นาระบบกลไกในการเผยแพรผ่ ลงาน วชิ าการของอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตรอย่างตอ่ เนื่องทั้งในระดับชาตแิ ละนานาชาติ ผลที่เกดิ กับ 1) อัตราการคงอยูข่ องอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร อาจารย์ ในปีการศกึ ษา 2563 พบว่า (ตวั บ่งช้ี 4.3) จำนวนอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู ร 5 คน จำนวนอาจารยท์ ล่ี าออก - คน จำนวนอาจารยท์ ี่เสียชวี ติ - คน จำนวนอาจารยท์ ล่ี าศึกษาตอ่ - คน จำนวนอาจารย์ทเ่ี กษียณอายุราชการ 1 คน รอ้ ยละอตั ราการคงอยู่ของอาจารย์ = 100 2) ภาระงานของอาจารยแ์ ละสดั สว่ นอาจารยต์ อ่ นักศึกษา หลักสูตรกำหนดเกณฑ์ภาระงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฎ นครราชสมี า เร่อื ง เกณฑ์ภาระงานและมาตรฐานภาระงานของคณาจารย์ประจำ พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วันท่ี 7 กรกฎาคม 2559 โดยกำหนดภาระงานของคณาจารยป์ ระจำ คอื 1. ลักษณะงานที่นำมากำหนดเป็นภาระงานในมหาวิทยาลัย แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ (1) ภาระงานสอน (2) ภาระงานวิจัยและงานวิชาการอื่น (3) ภาระงานบริการวิชาการและงานทำนุบำรุง ศิลปวฒั นธรรม (4) ภาระงานบรหิ าร และ (5) งานอ่นื ๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั พนั ธกิจของมหาวิทยาลยั ทั้งน้ี คำนิยาม (1) - (5) ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาว่าด้วย

20 ตวั บ่งชี้ ผลการดำเนินงาน มาตรฐานภาระงานทางวิชาการของผู้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ พ.ศ. 2559 2. ภาระงานของของคณาจารย์ประจำแต่ละคน ต้องมีภาระงานต่อภาคการศึกษาไม่น้อยกว่า 35 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ หรอื 560 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ (16 สปั ดาห์) ภาคการศึกษาต้น ปีการศกึ ษา 2563 ชื่อ-สกลุ ภาระ ภาระ ภาระงาน ภาระงาน รวม งานวจิ ัยและ ด้านบริการวิชาการ อน่ื ๆ ภาระงาน งานสอนและ งานวชิ าการ / ทำนุบำรุง 7.5 57.65 การสนบั สนุน อน่ื ศลิ ปวัฒนธรรม 3 69.3 9.75 70.30 วชิ าการ 25.9 4.25 5 36.34 47.5 2.00 10 73.33 อาจารยฐ์ ิตมิ า โพธ์ิชัย 20.0 34.25 4.38 15.6 1.5 ผศ.ธวชั ชยั เอกสันติ 16.8 31.75 3.25 ผศ.ดร.จารวุ รรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ 21.92 ผศ.ดร.ปาริฉัตร เกดิ จนั ทกึ 14.24 อาจารย์นฤมล เวชจกั เวร 28.33 ภาคการศกึ ษาปลาย ปีการศึกษา 2563 ชื่อ-สกุล ภาระ ภาระ ภาระงาน ภาระงาน รวม งานสอนและ งานวิจยั และ ดา้ นบริการวชิ าการ อน่ื ๆ ภาระงาน การสนบั สนุน งานวชิ าการ / ทำนุบำรุง 6.5 79.14 วชิ าการ อน่ื ศลิ ปวฒั นธรรม 47.5 3 68.3 อาจารยฐ์ ติ ิมา โพธ์ิชัย 19.4 5.5 10 82.32 47.5 10 50.96 ผศ.ธวัชชัย เอกสันติ 15.8 42.25 2 10 73.75 20.8 2.75 ผศ.ดร.จารวุ รรณ ไตรทิพย์สมบัติ 27.32 28.75 10.5 6.50 ผศ.ดร.ปาริฉตั ร เกิดจนั ทกึ 9.66 อาจารยน์ ฤมล เวชจกั เวร 28.50 3) สดั ส่วนอาจารยต์ ่อนกั ศกึ ษา สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษามีแนวโน้มลดลง ท้ังนี้ เน่ืองมาจากหลักสูตรดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ปัญหาโดยการปรับลดแผนรับนักศึกษาเพ่ือให้เป็นไปตามข้อบังคับว่าด้วยการรับรองสถาบันการศึกษา วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2562 ในข้อที่ 23 กำหนดอัตราส่วนของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อ นกั ศึกษาเตม็ เวลาเทยี บเทา่ (Full Time Equivalence Student: FTES) ไมเ่ กนิ 1:8 ปีการศกึ ษาท่เี ข้า จำนวนนกั ศึกษา สดั ส่วนอาจารย์ต่อนักศกึ ษา 2559 100 1 : 5.89 2560 94 1 : 5.22 2561 63 1 : 3.32 2562 43 1 : 3.26 2563 66 1 : 3.88

21 ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน 4) ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู รต่อการบรหิ ารหลกั สูตร (เฉพาะ อาจารย์ประจำหลกั สูตร) การประเมินความพงึ พอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสตู ร ใชก้ ารประเมินผา่ นระบบ สารสนเทศของมหาวิทยาลยั ในทุกปีการศกึ ษา (http://mis.nrru.ac.th/nrrumis-2013/) โดยใช้แบบ ประเมนิ ท่ีมหาวิทยาลัยกำหนดข้ึน ในปกี ารศกึ ษา 2563 พบวา่ อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รมคี วามพงึ พอใจต่อการบริหารหลักสตู รอยู่ในระดบั มาก (4.51 ± 0.56) ปกี ารศกึ ษาที่ประเมิน คะแนนความพงึ พอใจ 2561 4.15 2562 4.21 2563 4.51 2. การปฐมนเิ ทศอาจารยใ์ หม่ (ถ้ามี) การปฐมนิเทศเพอ่ื ชี้แจงหลักสตู ร <</>> มี <</>> ไม่มี จำนวนอาจารยท์ เี่ ข้ารว่ มปฐมนเิ ทศ 1 คน ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีอาจารย์ใหม่ท่ีโอนย้ายมาปฏิบัติ จำนวน 1 คน คือ อาจารย์นฤมล เวชจักรเวร ซ่ึงมาปฏิบัติงานในวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 โดยได้รับการปฐมนิเทศเม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุม 3 ช้ัน 3 อาคาร 38 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยมีสาระสำคัญในการปฐมนิเทศ 6 ด้าน ดงั นี้ 1) วสิ ัยทัศน์ นโยบาย ทิศทางการบรหิ ารงานและวัฒนธรรมองคก์ รของคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 2) คุณสมบตั แิ ละคุณลกั ษณะของอาจารย์มอื อาชพี 3) โครงสร้างองค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากร และหลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนข้ัน เงนิ เดอื น 4) บทบาทของบคุ ลากรต่อการประกนั คุณภาพการศึกษา 5) ระบบการให้บรกิ ารของสำนักงานคณบดี 6) การบรหิ ารและจัดการเรียนการสอนในหลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต 3. กจิ กรรมการพฒั นาวชิ าชีพของอาจารย์และบคุ ลากรสายสนบั สนนุ โครงการ / กิจกรรม จำนวนผู้เขา้ รว่ ม สรปุ ข้อคิดเห็นและปัญหาที่ อาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมไดร้ ับ 1. กิจกรรมสง่ เสริมการพฒั นาบทความ 3 1 เพื่อให้อาจารย์และบุคลากร 1. วจิ ัยเพอ่ื เผยแพร่ในฐานขอ้ มลู วารสาร สายสนับสนนุ ไดพ้ ัฒนา ศกั ยภาพดา้ นการวิจัย 1. วชิ าการ TCI 1

22 2. กิจกรรมประชมุ วิชาการสาธารณสขุ 4 1 เพ่ือสง่ เสรมิ ให้อาจารย์และ 2. ไทย-ลาว คร้ังท่ี 6 บคุ ลากรสายสนับสนนุ ได้เผยแพร่ผลงานวชิ าการ ผ่านการประชมุ วิชาการ หมายเหตุ กจิ กรรมการพัฒนาวิชาชีพใหร้ ะบุท้งั อาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู รและอาจารยป์ ระจำหลักสตู ร

23 หมวดที่ 3 นกั ศึกษาและบัณฑติ 1. ขอ้ มูลนักศึกษา รายงานขอ้ มลู นักศกึ ษาตง้ั แต่เรม่ิ ใชห้ ลกั สตู รจนถึงปกี ารศึกษาทรี่ ายงาน ปกี ารศึกษา จำนวน นักศกึ ษาท่ีคงอยู่แตล่ ะปี ทเ่ี ขา้ นักศกึ ษา ชนั้ ปที ี่ 1 ช้ันปที ี่ 2 ช้นั ปีท่ี 3 ช้นั ปที ่ี 4 ชัน้ ปที ี่ 5 ท่รี ับเข้า จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 2560 97 93 95.88 77 79.38 75 77.32 73 75.26 2561 64 63 98.44 56 87.50 56 87.50 2562 45 43 95.56 40 88.89 2563 71 66 92.96 2. ปจั จัยท่มี ีผลกระทบต่อจำนวนนักศกึ ษาแรกเขา้ จำนวนนกั ศึกษาแรกเข้าช้ันปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มีจำนวนเพมิ่ ขึ้นจากปกี ารศึกษา 2562 เนือ่ งจาก หลักสูตรได้ทำการปรับแผนรับนักศึกษาโดยรับนักศึกษาในรอบแรกๆ ในสัดส่วนท่ีเพ่ิมข้ึนจากเดิมเพื่อเพิ่ม โอกาสในการคัดเลือกนักศึกษา อีกท้ังหลักสูตรได้เข้าร่วมกิจกรรมคูปองหลักสูตรในงาน Open house ของ มหาวิทยาลัยทำให้ได้เพ่ิมชอ่ งทางในการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ในปีการศึกษา 2563 มีผู้ให้ความสนใจสมัคร เรียนเป็นจำนวนมาก หลักสูตรจึงพิจารณาเปิดรับนักศึกษาเพิม่ ข้ึนอีก 1 หมู่เรียน คือ จากเดมิ 45 คน เป็น 90 คน เน่ืองจากหลักสูตรยังเป็นท่ีสนใจของผู้เรียน เป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพ เมื่อจบการศึกษามีโอกาสท่ีจะได้ ทำงานทีต่ นเองสนใจและใกล้บ้าน ประกอบกับการพิจารณาถึงอตั ราของนักศกึ ษาท่ีคงอย่ใู นแต่ละปี 3. ปัจจัย/สาเหตทุ ี่มผี ลกระทบต่อจำนวนนักศกึ ษาตามแผนการศกึ ษา ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีแผนรับนักศึกษาจำนวน 45 คน ตามที่ระบุไวใ้ นแผนการรบั นักศึกษา ซึ่งกำหนดไว้ใน มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 อย่างไรก็ตาม ในปีการศึกษา 2563 มีนักศึกษามารายงานตัว 66 คน โดยเมื่อ เปิดภาคการศึกษา มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนท้ังส้ิน จำนวน 63 คน ทำให้มีจำนวนนักศึกษามากกว่าที่ หลักสตู รกำหนดแผนรบั ไว้ จำนวน 18 คน ท้ังนี้ การท่ีรับนักศึกษามาเกินกว่าแผนการรับนักศึกษาตามท่ีหลักสูตรกำหนดนั้น เนื่องจากหลักสูตร พจิ ารณาแลว้ ว่าหลกั สูตรยังเปน็ ท่ีสนใจ เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาของผเู้ รียนเนอ่ื งจากสถานการณ์โรค ติดเช้ือ COVID-19 ผู้เรียนอาจต้องการศึกษาในสถานศึกษาใกล้บ้าน รวมไปถึงหลักสูตรได้พิจารณาถึงอัตรา การคงอยู่ของนักศึกษาซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการลาออกหรือพ้นสภาพการศึกษา ซ่ึงจะทำให้จำนวนนักศึกษา ลดลงในช้นั ปีที่สงู ข้นึ 4. จำนวนนกั ศึกษาทีส่ ำเรจ็ การศึกษาในปที รี่ ายงาน 4.1 จำนวนนักศึกษาทสี่ ำเร็จการศกึ ษาก่อนกำหนดเวลาของหลักสตู ร ไมม่ ี

24 4.2 จำนวนนกั ศกึ ษาทีส่ ำเร็จการศกึ ษาตามกำหนดเวลาของหลักสตู ร นกั ศกึ ษาที่สำเรจ็ การศกึ ษาตามกำหนด คอื 75 คน 4.3 จำนวนนกั ศกึ ษาที่สำเรจ็ การศึกษาหลงั กำหนดเวลาของหลักสตู ร นกั ศกึ ษาท่สี ำเร็จการศึกษาหลังกำหนดเวลาของหลกั สูตร คือ 9 คน 4.4 จำนวนนกั ศกึ ษาท่สี ำเรจ็ การศกึ ษาในสาขาวิชาเอกตา่ ง ๆ (ระบุ) ไมม่ ี 5. จำนวนผสู้ ำเร็จการศึกษาต้งั แต่เริม่ ใชห้ ลกั สูตร ปีการศึกษา จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ผ้สู ำเรจ็ การศึกษา นักศึกษาท่ีคงอยู่ นักศึกษาทีห่ ายไป ทีร่ ับเข้า นักศึกษาทรี่ บั เข้า 13 23 2559 101 75 36 8 53 11 2560 97 53 38 5 61 5 2561 64 0 2562 43 0 2563 66 0 6. ปัจจยั ทมี่ ผี ลกระทบต่อการสำเรจ็ การศกึ ษา 1. นกั ศกึ ษาช้ันปที ่ี 1 มกี ารย้ายสถานศกึ ษาหรือสาขาวิชาที่เรียน 2. นกั ศกึ ษาชำระคา่ ลงทะเบียนลา่ ช้า ทำใหต้ ้องลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าน้นั ๆ ในภาคการศึกษาถดั ไป 3. นกั ศกึ ษาสอบผา่ นรายวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ อิสระ ลา่ ช้ากว่ากำหนด 4. สถานการณก์ ารระบาดของ COVID-19 ทำใหส้ ง่ ผลตอ่ การวดั ผลและประเมินผลในภาคการศึกษาท่ี 2/2563 7. คุณภาพของบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ อิ ุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ (ตวั บง่ ชี้ 2.1) หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิตไดต้ ิดตามคณุ ภาพของบณั ฑิตผา่ นระบบการสำรวจความพงึ พอใจ ผูใ้ ช้บัณฑติ ผ่านระบบของมหาวิทยาลัย และผรู้ ับผดิ ชอบของคณะสาธารณสุขศาสตร์ ผลดังแสดงในตาราง วันทีร่ ายงานข้อมูล 16 กรกฎาคม 2564 ขอ้ ขอ้ มลู พื้นฐาน ผลการดำเนินงาน 75 1 จำนวนผสู้ ำเร็จการศึกษาทงั้ หมด 17 2 จำนวนบณั ฑิตท่ีไดร้ ับการประเมินท้ังหมด 28.33 3 รอ้ ยละของบัณฑติ ท่ีไดร้ บั การประเมนิ 4 ผลรวมของคา่ คะแนนทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ บณั ฑติ 4.73 5 ค่าเฉลีย่ ของคะแนนประเมินความพงึ พอใจผู้ใช้บัณฑิตตาม กรอบมาตรฐาน 4.71 TQF ในภาพรวม - ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

25 ข้อ ขอ้ มลู พื้นฐาน ผลการดำเนินงาน 4.41 - ด้านความรู้ 4.39 - ด้านทักษะทางปญั ญา 4.64 - ดา้ นทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบ 4.41 - ด้านทักษะความคิดวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี - ดา้ นอื่น ๆ 4.65 6 ค่าเฉล่ียของคะแนนประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิตตามอัตลักษณ์ “สำนกึ ดี มีความรู้ พร้อมสูง้ าน” ในภาพรวม 4.64 - สำนึกดี - มคี วามรู้ - พร้อมส้งู าน - บรกิ ารด้วยจติ อาสา หลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชุมชน ได้ทำการสำรวจจากผู้ใชบ้ ณั ฑิตของ บัณฑิตที่สำเรจ็ การศกึ ษาในปีการศึกษา 2563 จำนวน 75 คน โดยไม่นบั รวมผขู้ น้ึ ทะเบยี นบัณฑติ ในปี การศกึ ษาถัดไป มผี ใู้ ช้บัณฑติ กรอกแบบประเมนิ จำนวน 17 คน มคี า่ เฉล่ยี ของคะแนนประเมนิ บณั ฑติ เท่ากับ 4.73 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ซ่ึงเพมิ่ ขน้ึ เมอื่ เทียบกับปกี ารศึกษา 2562 ซง่ึ มคี ่าเฉลย่ี ของคะแนนประเมนิ บัณฑิต เทา่ กับ 4.27 โดยผใู้ ชบ้ ณั ฑติ เสนอแนะว่าบณั ฑติ ควรได้รบั การพัฒนาเพิ่มเติมในดา้ นภาษาอังกฤษ งาน ด้านเอกสาร หนงั สอื ราชการ และความคลอ่ งแคลว่ ในการทำงาน 8. ภาวะการได้งานทำของบณั ฑติ ภายในระยะ 1 ปีหลงั สำเร็จการศกึ ษา (ตวั บง่ ช้ี 2.2) หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ ได้ติดตามภาวะการมีงานทำของบัณฑติ ผา่ นทางระบบของ มหาวทิ ยาลัย (http://reg.nrru.ac.th/registrar/home.asp) ซง่ึ สามารถกรอกได้ตลอดปกี ารศกึ ษา นอกจากนีห้ ลกั สูตรยังไดก้ ำกบั ติดตามการกรอกภาวะการมงี านทำผา่ นระบบอาจารย์ทปี่ รึกษา และ ผู้รบั ผิดชอบของคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ดงั แสดงในตาราง วนั ทีส่ ำรวจ 9 กรกฎาคม 2564 ขอ้ ข้อมูลพื้นฐาน จำนวน ร้อยละ 1 จำนวนผสู้ ำเรจ็ การศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 75 100 2 จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 75 100 3 จำนวนบณั ฑติ ท่ไี ดง้ านทำ (งานใหม)่ 60 80.00 4 จำนวนบณั ฑติ ทป่ี ระกอบอาชพี อสิ ระ (อาชพี ใหม่ท่ีเกิดขน้ึ หลังสำเร็จการศึกษา) 9 12.00 5 จำนวนบัณฑิตทีไ่ ดง้ านทำตรงสาขา 29 38.67 6 จำนวนบัณฑติ ทศ่ี ึกษาตอ่ อย่างเดยี ว 1 0 7 จำนวนบณั ฑติ ทม่ี ีงานทำกอ่ นเขา้ ศึกษา 0 0

26 8 จำนวนบณั ฑติ ทีไ่ ดร้ ับการเกณฑ์ทหาร 2 2.67 9 จำนวนบัณฑติ ท่อี ปุ สมบท 0 0 10 จำนวนบัณฑิตท่ีไม่ไดง้ านทำ 6 8.00 11 จำนวนบัณฑิตท่ีสำเร็จการศึกษาในรอบปีน้ันท่ีตอบแบบสำรวจ (ไม่นับรวมผู้ที่มี 73 97.33 งานทำก่อนเข้าศกึ ษา ผู้ศึกษาตอ่ ผ้ไู ด้รบั การเกณฑท์ หาร อุปสมบท และศกึ ษาตอ่ ) ร้อยละของบณั ฑติ ท่ีไดง้ านทำหรือประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี คะแนนผลการประเมินในปนี ้ี = คา่ รอ้ ยละของบัณฑติ ปรญิ ญาตรีทไ่ี ดง้ านทำหรอื ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี x 5 100 = (92.0*5)/100 = 4.60 9. การวเิ คราะหผ์ ลทีไ่ ด้ จากข้อมูลข้างต้น พบว่าถึงแม้ว่าปีการศึกษา 2563 บัณฑิตเข้ามากรอกข้อมูลภาวะการมีงานทำครบ ทุกคน โดยภาวะการมีงานทำที่สูงกว่าในปีการศึกษา 2562 คือร้อยละ 80 และร้อยละ 50.81 ซึ่งในปี การศึกษา 2563 หลักสูตรได้ทำการกำกับติดตามการกรอกภาวะการมีงานทำอย่างใกล้ชิด นอกจากน้ันยัง พบว่าบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2563 ภาวะการมีอัตราการได้งานตรงกับสาขาที่เรียนร้อยละ 38.67 มากกว่าปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 29.89 ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมของหลักสูตรท่ีมีการ ประชาสัมพันธ์แหล่งงานผ่านช่องทางต่างๆ รวมไปถึงการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนระหว่างรุ่นพ่ีรุ่นน้องทำให้ บัณฑิตหาแหล่งงานทใ่ี ชค้ วามรทู้ ่เี รียนมาได้มากขน้ึ 10. การเผยแพรผ่ ลงานของผู้สำเร็จการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา (ตวั บง่ ชี้ 2.2) ไมม่ ี 11. รายงานผลตามตัวบง่ ชี้ ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน การรับนกั ศึกษา มผี ลการดำเนินงานในระดบั 3 (ตวั บง่ ช้ี 3.1) เปา้ หมาย 1. จำนวนนกั ศกึ ษาใหม่เปน็ ไปตามแผนรบั คอื 45 คน 2. นกั ศกึ ษามีความพรอ้ มในการเรยี นและลดจำนวนการพน้ สภาพ การรบั นักศกึ ษา มีผลการดำเนินงาน ดังน้ี Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน 1) สำนักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน แจง้ ให้คณะสาธารณสขุ ศาสตรเ์ พื่อ ทบทวนแผนการรับนกั ศกึ ษา และคุณสมบัตินกั ศกึ ษารับเขา้ 2) ประธานหลักสูตรเสนอพิจารณาแผนการรับนักศึกษา และคุณสมบัตินักศึกษา ในการประชุมกรรมการบริหารคณะ ฯ และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร

ตัวบง่ ช้ี 27 ผลการดำเนินงาน คณะ โดยที่ประชุมมีมติให้หลักสูตรรับนักศึกษาจำนวน 45 คน (1 หมู่เรียน) เพื่อให้สัดส่วน อาจารย์ผู้สอนต่อจำนวนนักศึกษา มีความเหมาะสมและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสภา วิชาชีพสาธารณสขุ ชมุ ชน 3) คณะเสนอแผนการรับนักศึกษาไปตามระบบและกลไกของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยเหน็ ชอบแผนรับนกั ศกึ ษา 4) หลักสูตรจัดทำข้อมูลประกอบการจัดทำสารสนเทศของหลักสูตร เสนอไปยัง สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน โดยมรี ายละเอยี ดเก่ยี วกับ ชื่อหลักสูตร ความสำคัญ ของหลักสูตร คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ระยะเวลาศึกษาตามโครงสร้างหลักสูตรแนว ทางการประกอบอาชีพ และแนวทางการศึกษาต่อ โดยผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว จากเวบ็ ไซด์ www.nrru.ac.th 5) รับสมัครนักศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีท่ีกำหนด โดยปีการศึกษา 2563 ใช้ ระบบรับสมัครแบบ TCAS ซ่ึงมีการรับสมัครท้ังหมด 4 รอบ คือ รอบแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) รอบโควตาภาคะวันออกเฉยี งเหนอื รอบรับตรงร่วมกนั และรอบรับตรงอิสระ 6) มหาวทิ ยาลัยจดั สอบคดั เลือก โดยสอบวัดความรูพ้ ้นื ฐานทว่ั ไป สอบวัดความ เหมาะสมทางการเรียน การสมั ภาษณ์ 7) นักศกึ ษาทผ่ี ่านเกณฑค์ ดั เลือก ทำการรายงานตวั นกั ศกึ ษาใหม่ 8) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรดำเนินการพิจารณาทบทวนแผนรับนักศึกษา ประจำปี 9) สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน รายงานการรับนักศึกษาต่อ มหาวทิ ยาลยั ฯ และแจ้งตอ่ คณะฯ เพ่อื ดำเนินการแจง้ ตอ่ หลกั สูตรฯ ต่อไป 10) ประชมุ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รฯ เพ่อื ประเมนิ ผลการดำเนินงาน และวางแผนปรบั ปรงุ การดำเนนิ งานในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป Do: ผลการดำเนนิ งาน หลักสูตรกำหนดคุณสมบัติดังนี้ คือ สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอน ปลาย สายคณิตศาสตร์ - วทิ ยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉลีย่ สะสม 2.50 ขนึ้ ไป ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดยคณาจารย์ ประจำหลักสูตรฯ ร่วมกับฝ่ายประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย เดินทางไปให้ข้อมูลความรู้ เกี่ยวกับการเรียนการสอนของหลักสูตรในโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตจังหวัดนครราชสีมา รวมไปถึงติดตามการรายงานตัวของของนักศึกษาใหม่กับสำนักส่งเสริมวิชาการและงาน ทะเบียนในแต่ละรอบอย่างเข้มงวดเพ่ือให้รับนักศึกษาเป็นไปตามแผนรับ จำนวน 45 คน โดยในปกี ารศกึ ษา 2563 หลกั สตู รไดร้ บั สมัครบคุ คลเขา้ ศึกษาตอ่ แบง่ เป็น 3 รอบ ดงั นี้ รอบที่ 1 รอบแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) แผนรับ 37 คน รายงานตัว 33 คน คิด เปน็ ร้อยละ 89.19 รอบที่ 2 รอบโควตาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (Quota) แผนรบั 25 คน รายงาน ตวั 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.0 รอบท่ี 5 รอบรับตรงอิสระ แผนรบั 13 คน รายงานตัว 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.0 ซ่ึงมีจำนวนนักศึกษาเข้าศึกษาท้ังหมดใหม่ทั้งหมด 66 คน ซึ่งมากกว่าแผนรับที่

ตัวบง่ ช้ี 28 ผลการดำเนนิ งาน กำหนดไว้ใน มคอ.2 Check: การประเมนิ ระบบและกลไก จากการทบทวนผลการดำเนินงานตามระบบและกลไก พบว่าจำนวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้รับนักศึกษาใหม่เกินกว่าแผนรับ ซ่ึงเป็นการตอบสนองความ ต้องการผเู้ รยี น โดยหลกั สูตรไดเ้ ตรยี มการรองรับในเร่อื งของอาจารยท์ ปี่ รึกษา การเรียนการ สอนซ่ึงได้แบ่งนักศึกษาออกเป็น 2 หมู่เรียน หมู่เรียนละ 33 คน ซ่ึงอาจารย์ผู้สอนสามารถ ดูแลนักศึกษาได้อย่างทั่วถึงและเพ่ิมภาระงานให้กับคณาจารย์ รวมไปถึงการเตรียมขอ งบประมาณสำหรับจดั กิจกรรมและจัดหาส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้เพ่ือให้เหมาะสมกับจำนวน นักศกึ ษา Act: การปรบั ปรงุ พัฒนา ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรควรประชุมทบทวนกลไกการรับนักศึกษาเพ่ือให้ได้ นักศึกษาเป็นไปตามแผนรับ และควรเตรียมการสำหรับกรณีท่ีมีผู้สนใจศึกษาในหลักสูตร เกินกวา่ แผนรับ 1) การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเขา้ ศึกษา มีผลการดำเนนิ งาน ดังนี้ Plan: ระบบและกลไกการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเขา้ ศกึ ษา 1) ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ฯ เพื่อวางแผนการดำเนนิ งาน 2) เสนอขออนุมัตโิ ครงการเตรียมความพรอ้ มผ่านคณะ 3) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรพจิ ารณาโครงการ 4) ดำเนินงานตามแผนงานทก่ี ำหนด 5) สรุปผลการดำเนินโครงการ/การเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนักศึกษาเสนอต่อคณะ กรรมการบริหารหลกั สูตร 6) ประชมุ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ฯ เพ่อื ประเมนิ ผลการดำเนินงาน และ วางแผนปรับปรุงการดำเนินงานในปีการศกึ ษาต่อไป Do: ผลการดำเนินการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเขา้ ศึกษา การเตรียมความพรอ้ มในระดับมหาวทิ ยาลัย 1) นักศึกษาช้ันปีที่ 1 ทุกคนเข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ของ มหาวิทยาลัย ฯ เม่ือวันที่ 23 มิถุนายน 2563 เวลา 09.00-12.00 น. ผ่านระบบออนไลน์ และกิจกรรมปฐมนิเทศของคณะสาธารณสุขศาสตร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักศึกษา ทราบแนวทางการเรียนและการใช้ชีวิตการศึกษา ด้านวิชาการและประกันคุณภาพ การศึกษา ด้านกิจกรรมนักศึกษา วินัยและสวัสดิการนักศึกษา ท้ังนี้ นักศึกษาทุกคนจะ ได้รับคู่มือนักศึกษา เพื่อช่วยให้นักศึกษามีความเข้าใจในหลักสูตร และทราบถึงแนวปฏิบัติ ตา่ ง ๆ เมอ่ื เข้าศึกษา รวมถึงการสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพ่ี-รนุ่ นอ้ งคณาจารย์ บคุ ลากร และศษิ ยเ์ กา่ ซงึ่ ทำให้นักศึกษามคี วามพรอ้ มทจี่ ะเขา้ ศึกษาต่อไป การเตรียมความพร้อมในระดับคณะ 1) นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทุกคนเข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ของคณะ สาธารณสุขศาสตร์ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2563 เวลา 10.00-12.00 น. ด้วยการออนไลน์

29 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนนิ งาน การส่งเสริมและพฒั นา ผา่ น Facebook คณะ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักศึกษาและผู้ปกครองได้รับข้อมูลการจัดการ นักศึกษา (ตวั บง่ ชี้ 3.2) เรียนการสอนของหลักสูตรในคณะ ซ่ึงได้มีการแนะนำคณาจารย์ในแต่ละหลักสูตร ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ แจกคู่มือนักศึกษาและช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับ อาจารย์ ผลการดำเนินโครงการ พบว่า นักศึกษาร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรม และมีผล ประเมนิ ความพึงพอใจในระดบั มาก การเตรียมความพรอ้ มในระดับหลักสูตร หลักสูตรจัดโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ กำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2563 ผ่านระบบออนไลน์และอาคาร 38 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใหน้ ักศึกษาชนั้ ปที ี่ 1 ไดร้ ับ การส่งเสริมทักษะในการเรียนรู้และการใช้ชีวิตในระดับอุดมศึกษา เตรียมความรู้พ้ืนฐาน ทางวิชาชีพด้านสาธารณสุขชุมชน และเตรียมความพร้อมทางด้านวิชาการ อีกท้ังยังให้ นักศึกษาใหม่ได้คุ้นเคยและเกิดความรู้สึกเป็นกันเองระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และ นักศึกษากับอาจารย์ ซ่ึงจะช่วยให้สามารถปรับตัวและใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยได้อย่างมี ความสุข โดยจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรู้พื้นฐานในวิชาชีพ สาธารณสุขชุมชน 2) ด้านความรู้ทางวิชาการ 3) ด้านทักษะที่จำเป็นในการเรียนออนไลน์ และ 4) ด้านการใช้ชีวิตและการเรียนในระดับอุดมศึกษา ผลการดำเนินโครงการ พบว่า มี ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 66 คน มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการโดยรวมอยู่ใน ระดบั มาก Check: การประเมินระบบและกลไก จากการทบทวนผลการดำเนินงาน พบว่า ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาได้รับการ เตรียมความพร้อมจากคณะและหลักสูตรครบทุกคน และนักศึกษาใหม่มีส่วนร่วมในการ กำหนดกิจกรรมเตรียมความพร้อม แต่ยังขาดกิจกรรมการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพ่ี กบั รนุ่ น้อง ท้งั น้ีด้วยสถานการณก์ ารระบาดของ COVID-19 จากการสำรวจความเส่ียงของนักศึกษาในปีการศึกษา 2563 ไม่พบนักศึกษาที่เส่ียงต่อ การพ้นสภาพนักศึกษา แต่มีนักศกึ ษาทลี่ าออกเพื่อไปศึกษาต่อในสาขาพยาบาลท่สี ถาบนั อ่ืน จำนวน 1 คน และลาออกไปเนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจ 1 คน ซึ่งไม่ได้แตกต่างจากปี การศกึ ษา 2562 Act: การปรบั ปรงุ พัฒนา ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรควรประชุมเพื่อทบทวนกลไกเกณฑ์การคัดเลือก นักศึกษาใหม่ การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ และการดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือให้นักศึกษาเป็นไปตามแผนรับ รวมไปถึงเฝ้าระวังการพ้นสภาพหรือการลาออกท่ีอาจ เกดิ ข้ึนไดใ้ นอนาคต มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 4 วธิ ีเขยี นผลการดำเนินงาน เปา้ หมาย: ให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาไดต้ ามระยะเวลาที่หลักสตู รกำหนด 1) การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับ ปริญญาตรี Plan: ระบบและกลไก 1) หลกั สูตรฯ เสนอแตง่ ตง้ั อาจารย์ทีป่ รึกษา

ตัวบง่ ช้ี 30 ผลการดำเนินงาน 2) คณะฯ แต่งตงั้ อาจารย์ท่ีปรกึ ษา 3) สำนักส่งวิชาการและงานทะเบียน บันทึกลงฐานข้อมูลอาจารย์ท่ีปรึกษา และส่ง คมู่ อื อาจารย์ที่ปรึกษาใหก้ บั อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา 4) อาจารย์ท่ีปรึกษาให้คำปรึกษากับนักศึกษาพร้อมส่งรายงานผลการปฏิบัติงานให้ ประธานหลักสตู ร ภาคการศึกษาละ 2 คร้งั 5) ประธานหลกั สูตรนำผลการให้คำปรึกษาเข้าหารอื ในทปี่ ระชุมหลกั สูตร Do: ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรดำเนินการควบคุม ดูแล ให้คำปรึกษาวิชาการและ แนะแนวนักศึกษาตามระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา/การให้คำปรึกษาวิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ดังน้ี 1) หลักสตู รเสนอช่อื อาจารยป์ ระจำหลกั สูตร จำนวน 2 คน จัดส่งให้ มหาวทิ ยาลัยแต่งตัง้ เปน็ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาของนักศึกษาประจำปีการศึกษา 2563 คอื อ.นฤมล เวชจักรเวร และผศ.ธวัชชยั เอกสนั ติ โดยพจิ ารณาจากอาจารยท์ ย่ี งั ไม่มนี กั ศกึ ษาท่ี ต้องดแู ล ทงั้ นี้ อาจารยท์ กุ คนไดร้ ับคูม่ ืออาจารย์ท่ีปรกึ ษาเพอื่ เป็นแนวทางในการให้ คำปรึกษาแกน่ กั ศึกษา 2) สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนกำหนดตารางให้อาจารย์ท่ีปรึกษาได้ พบกับนักศึกษาอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 4 ครั้ง โดยจัดส่งตารางดังกล่าวให้อาจารย์ท่ี ปรกึ ษากอ่ นเปิดภาคเรยี น 3) หลกั สตู รกำกับ ตดิ ตามให้อาจารย์ทปี่ รกึ ษาการใหค้ ำแนะนำและ คำปรึกษาแก่ นักศกึ ษาทงั้ ในดา้ นวชิ าการดา้ นสวสั ดิการ พฒั นานักศึกษาและการใชช้ วี ิตใน สถาบันอุดมศกึ ษา ทกุ ครัง้ ที่มกี ารประชุมหลกั สูตร หรือนักศกึ ษาสามารถขอคำปรกึ ษาจาก อาจารย์ทีป่ รกึ ษาได้ท่หี อ้ งพกั อาจารย์ ช่องการการตดิ ต่อกับอาจารย์ทป่ี รกึ ษาเพิม่ เติม เชน่ การติดตอ่ ผ่านทางโทรศัพท์ ผา่ นระบบบรกิ ารการศึกษาออนไลน์ (http://reg.nrru.ac.th) ของมหาวทิ ยาลัยหรือทาง social media ต่าง ๆ 4) อาจารย์ทีป่ รึกษาแจง้ ผลการให้คำปรกึ ษาตอ่ ท่ปี ระชุมคณะกรรมการบริหาร หลักสตู ร และส่งรายงานผลการปฏิบตั ิงานใหป้ ระธานหลกั สูตร ภาคการศึกษาละ 2 คร้ัง โดยหลกั สูตรมกี ารกำกับติดตามใหส้ ง่ รายงานการปฏบิ ตั งิ านตามกำหนดเวลา 5) หลักสูตรได้เพม่ิ ชอ่ งทางในการประชาสมั พันธข์ ่าวสารดา้ นวิชาการและการ แนะแนวแกน่ กั ศกึ ษา ผ่านทางไลนข์ องประธานหลกั สูตรโดยตรงและเฟสบุค๊ ของหลกั สูตร 6) ประธานหลกั สตู ร เสนอผลการปฏิบตั งิ านของอาจารย์ทป่ี รึกษาแก่คณบดี Check: การประเมินระบบและกลไก จากการทบทวนผลการดำเนินงาน พบวา่ นกั ศึกษาประเมินความพงึ พอใจที่มตี ่อการ ให้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลยั พบวา่ ความพงึ พอใจ อยใู่ นระดับมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.27  0.66 ซง่ึ หลักสูตรได้มีการกำกับติดตามการเข้าพบ นักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาตามกำหนดการของมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามหลักสูตรยัง

ตัวบง่ ช้ี 31 ผลการดำเนินงาน ขาดระบบในการประเมินความพึงพอใจในส่วนของการประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านวิชาการ และการแนะแนวแก่นกั ศึกษาทเ่ี พม่ิ เติมมา Act: การปรบั ปรงุ พฒั นา ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรควรพัฒนาระบบการประเมินความพึงพอใจในส่วน ของการประชาสัมพนั ธ์ข่าวสารด้านวชิ าการและการแนะแนวแก่นักศึกษา และเพม่ิ ช่องทาง ในการส่ือสารกับนักศึกษาผ่านทางออนไลน์เพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากมหาวิทยาลัยกำหนด นโยบายการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ 100% ใน 2 เดือนแรก 2. การจดั การความเส่ียงดา้ นนักศึกษา เปา้ หมาย: นกั ศึกษามีความเสยี่ งลดลงอย่างนอ้ ย 1 ประเด็น Plan: ระบบและกลไก 1. หลักสูตรกำกับติดตามอาจารย์ที่ปรึกษาในการตรวจสอบข้อมูลผลการเรียน ปัญหา/อุปสรรคตา่ งๆ ทอ่ี าจส่งผลกระทบต่อการเรยี นของนกั ศึกษา 2. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ พิจารณาความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนกับ นกั ศึกษา รวมไปถงึ มาตรการปรับปรุง/ควบคมุ ความเสีย่ ง Do: ผลการดำเนินงาน ปกี ารศกึ ษา 2561 จากการประชมุ คณะกรรมการบริหารจัดการความเสยี่ ง คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ใน การประชุมคร้ังท่ี 2/2562 วนั ท่ี 4 กรกฎาคม 2562 ได้ร่วมวเิ คราะห์ความเสี่ยง พบวา่ ผล การสอบวัดระดับความรู้ด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาชน้ั ปสี ดุ ท้ายมีระดบั ต่ำกว่าเกณฑท์ ่ี กำหนด (ร้อยละ 60) โดยมนี กั ศกึ ษาชั้นปีที่ 4 สอบผา่ นร้อยละ 34.6 จากการประเมินผลการดำเนนิ งาน พบว่านักศกึ ษาช้นั ปีสุดท้ายก็ยังมีผลการสอบผ่าน ภาษาองั กฤษในระดบั ทีต่ ำ่ กว่าเกณฑ์ ในระดบั คณะยังคงจดั ทำโครงการอบรมติวสอบภาษา สำหรับนกั ศึกษา ในระดบั หลกั สูตรมีการกำหนดคณุ สมบัติผู้เขา้ ศกึ ษาต่อโดยการพจิ ารณาผล การเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ และสอบสัมภาษณน์ กั ศึกษาเป็นภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2562 จากการประชมุ คณะกรรมการบริหารจดั การความเส่ียง คณะสาธารณสุขศาสตร์ ใน การประชุมครัง้ ท่ี 2/2562 วันที่ 4 กรกฎาคม 2562 ไดร้ ว่ มวเิ คราะห์ความเสย่ี ง พบว่า ผล การสอบวดั ระดบั ความร้ดู า้ นภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปสี ดุ ท้ายมีระดับต่ำกว่าเกณฑ์ท่ี กำหนด จึงมแี นวทางทางการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ดงั นี้ คอื จดั โครงการ การตวิ สอบภาษาอังกฤษใหก้ บั นักศกึ ษา โดยพบว่านักศกึ ษาชั้นปที ี่ 4 สอบผา่ นร้อยละ 64.2 ซึง่ เปน็ ไปตามเกณฑข์ องมหาวิทยาลยั และพบวา่ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 3 สามารถสอบผ่านเกณฑ์ การทดสอบภาษาอังกฤษ เทียบเท่า CEFR ในระดบั B1 ร้อยละ 92.71 ซง่ึ เปน็ คณะทีม่ ี ผสู้ อบผา่ นสูงสุด โดยนายจณิ ณวตั ร นันทปิ ระภา นักศกึ ษาชน้ั ปีท่ี 3 ยงั ไดร้ บั รางวลั เชดิ ชู เกียรตจิ ากอธกิ ารบดที ี่สามารถสอบผา่ นเกณฑก์ ารทดสอบภาษาอังกฤษ เทยี บเทา่ CEFR ในระดบั C1 สำหรบั ประเดน็ ความเส่ียงของนักศกึ ษาในหลกั สูตรไม่สำเร็จการศึกษาทันตาม

ตวั บง่ ช้ี 32 ผลการดำเนนิ งาน ระยะเวลาท่หี ลกั สูตรกำหนด หลักสตู รมีแนวทางในการลดความเสีย่ งหลายรปู แบบดงั น้ี คือ ปรับรูปแบบกจิ กรรมการเตรยี มความพรอ้ มนกั ศึกษาใหม่ รวมไปถึงจัดติววชิ าพ้นื ฐาน ซึ่งพบ ปญั หานกั ศึกษาติด F อยา่ งตอ่ เน่ือง การกำหนดวิธกี ารคัดเลือกนกั ศกึ ษาจากผลการเรียนใน รายวชิ าพน้ื ฐานตอนสอบคัดเลอื กเขา้ ศึกษาตอ่ และการปรับรปู แบบการจดั การเรยี นการ สอนรายวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ อสิ ระ ซ่งึ กำหนดให้นักศกึ ษาพบ อ.ทป่ี รึกษาในภาคการศกึ ษา กอ่ นหนา้ ขณะที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ทางสาธารณสขุ เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษา สามารถดำเนินการวจิ ยั ไดท้ นั ตามกำหนดเวลา โดยในปีการศกึ ษา 2562 มปี ัจจัยเรื่องการ ระบาดของ COVID ที่สง่ ผลต่อการดำเนนิ การวิจยั ของนกั ศึกษา ซง่ึ หลักสตู รไดม้ ีมาตรการ ในการกำกบั การทำวจิ ยั ของนักศกึ ษาโดยออกประกาศเรอ่ื งการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลวิจยั ใน สถานการณด์ ังกล่าว ปกี ารศกึ ษา 2563 จากการประชมุ คณะกรรมการบริหารจดั การความเสย่ี ง คณะสาธารณสุขศาสตร์ ใน การประชมุ คร้ังท่ี 3/2563 วนั ที่ 5 พฤศจิกายน 2563 ได้ร่วมวิเคราะห์ความเสี่ยง พบว่า นกั ศกึ ษาหลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สำเร็จการศึกษาลา่ ชา้ กวา่ กำหนดจัดอย่ใู น ความเส่ยี งระดบั ปานกลาง จงึ มีแนวทางทางการดำเนินงานตามแผนบรหิ ารความเส่ียง ดังน้ี คอื หลักสตู รและอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบรายวิชามีการกำกับตดิ ตามการดำเนนิ วจิ ยั ให้กับ นกั ศกึ ษา โดยในปกี ารศกึ ษา 2563 ยงั มีปจั จยั เรื่องการระบาดของ COVID-19 ทสี่ ่งผลตอ่ การดำเนนิ การวิจยั ของนักศกึ ษา ซึ่งหลักสตู รไดป้ ระกาศแนวทางในการเก็บข้อมลู และการ สอบของนกั ศกึ ษา และไดม้ ีการประชุมเพอ่ื กำกบั ตดิ ตามนักศึกษาทยี่ ังค้างสง่ เลม่ วิจยั คร้ังที่ 1 เมือ่ วนั ที่ 8 พฤษภาคม 2564, ครงั้ ท่ี 2 เมื่อวันท่ี 30 พฤษภาคม 2564 และครัง้ ที่ 3 วนั ท่ี 19 มิถนุ ายน 2564 พบวา่ จำนวนนักศึกษาทม่ี ผี ลการเรียน I ในรายวิชาการศึกษาคน้ คว้า อิสระลดลงจาก 17 คน เหลือ 5 คน ซึง่ อยรู่ ะหว่างการแก้ไขเลม่ ตามขอ้ เสนอแนะของ คณะกรรมการสอบวิจยั นอกจากนห้ี ลักสูตรยังกำกับตดิ ตามนกั ศึกษาที่ตดิ F ผา่ นอาจารยท์ ่ี ปรกึ ษาเพ่ือชว่ ยใหค้ ำแนะนำในการลงทะเบยี น ซึง่ ส่งผลใหน้ กั ศึกษาทค่ี าดวา่ จะไม่สำเรจ็ การศึกษาทันตามกำหนดเวลาลดลงจาก 5 คนเหลือ 2 คน สำหรับประเดน็ การตวิ สอบภาษาองั กฤษให้กบั นักศกึ ษาซึ่งคณะสาธารณสขุ ศาสตรไ์ ด้ จัดโครงการพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษสำหรบั นักศึกษา โดยพบวา่ นกั ศกึ ษาช้นั ปีที่ 4 สามารถสอบผ่านเกณฑ์การทดสอบภาษาองั กฤษ เทียบเทา่ CEFR ในระดับ B1 เกินกว่า ร้อยละ 50 ซึง่ เป็นไปตามเกณฑข์ องมหาวทิ ยาลัย Check: การประเมินกระบวนการ จากการประเมินผลการดำเนนิ งานในปกี ารศกึ ษา 2563 พบว่า ไมม่ คี วามเสีย่ งในดา้ น ความรภู้ าษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาช้ันปที ่ี 4 แลว้ ในส่วนของนกั ศึกษาทเี่ ส่ยี งตอ่ การสำเร็จ การศกึ ษาไมต่ รงตามกำหนดเวลาพบวา่ มจี ำนวนลดลง Act: การปรบั ปรงุ พัฒนา ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงในปีการศึกษา 2564 คือ หลักสูตรกำกับติดตาม อาจารย์ท่ีปรึกษาพบนักศึกษาอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 4 คร้ังและส่งรายงานผลการ ปฏิบัติงานให้ประธานหลักสตู รตามกำหนดเวลา ภาคการศึกษาละ 2 คร้ัง คือ ช่วงกลางภาค

33 ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนนิ งาน การศึกษาและช่วงปลายภาคการศึกษา เพ่ือติดตามนักศึกษาเร่ืองผลการเรียนต่ำ การ วางแผนการเรียนใหก้ ับนักศกึ ษา และไม่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของหลกั สูตร 3) การพฒั นาศกั ยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 เป้าหมาย: นักศึกษาทุกช้ันปีได้รับการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 Plan: การวางแผนดำเนินงาน 1) ประชมุ คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร 2) เสนอโครงการเพือ่ บรรจใุ นแผนปฏบิ ัติการ 3) มหาวทิ ยาลัยอนมุ ัติงบประมาณ 4) ผู้รับผิดชอบเสนอโครงการต่อคณะในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ในด้าน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 5) ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการตามแผนและจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนิน โครงการ 6) เสนอผลการดำเนนิ การต่อคณะฯ ผา่ นหลกั สตู ร 7) ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือประเมินผลการดำเนินงานและวางแผน ปรับปรุงในปกี ารศกึ ษาต่อไป Do: ผลการดำเนินงาน โครงการที่คณะจัดทำขน้ึ โดยการมสี ่วนรว่ มของหลักสตู รฯ เพอ่ื พฒั นานักศกึ ษา ครอบคลมุ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ จำแนกตามชน้ั ปีดังนี้ การพัฒนานักศึกษา วตั ถปุ ระสงค์/รายละเอียด ชัน้ ปที ่ี 1 การเตรียมความพรอ้ ม เพ่ือให้นักศึกษาได้เรียนรู้การใช้ชีวิตและการเรียน การสอนในร้ัวมหาวิทยาลัย ตัวอย่างโครงการเช่น โครงการเตรยี มความพร้อมนกั ศกึ ษาใหม่ โครงการ ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา ชน้ั ปีที่ 2 ข้ันการเรยี นรู้ชมุ ชน และ เพื่อเสริมสร้างทักษะที่จำเป็นในการวางแผน การ ทักษะ แก้ปัญหา การเรียนรู้ชุมชน ตวั อย่างเช่น โครงการ พัฒนาทักษะนักศึกษาในการพัฒนาสุขภาพชุมชน เปน็ ตน้ ชั้นปีท่ี 3 ขั้นพัฒนาทักษะและ เพ่ือเสริมสรา้ งประสบการณ์และทกั ษะทางวิชาชีพ ประสบการณด์ า้ นวิชาชีพ ทักษะความเป็นผู้นำ และการทำงานเป็นทีม ตัวอย่างเช่น โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน โครงการ อ บ ร ม ก า ร ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เพ่ื อ ก า ร วิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ เปน็ ตน้

34 ตวั บ่งชี้ ผลการดำเนินงาน ชั้นปีท่ี 4 ขั้นเตรียมความพร้อมสู่ เพ่ือเสริมสร้างความพร้อมในการประกอบอาชีพ การทำงาน ตัวอย่างโครงการเช่น โครงการฝึกปฏิบัติการ บริการปฐมภูมิ โครงการฝึกปฏิบัติการพัฒนา สุขภาพชุมชน โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน วิชาชพี เป็นตน้ ตารางแสดงการจดั กิจกรรมตามแผนพัฒนานักศึกษาตามสมรรถนะชั้นปี และสง่ เสริมทักษะ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ประจำปีการศกึ ษา 2563 โครงการ/กจิ กรรม การบรู ณาการทกั ษะ ผลทเ่ี กดิ ข้ึนกบั นักศึกษา ทักษะชีวิตและการทำงาน ทักษะความ ูร้ทาง ้ดานสุขภาพ ัทกษะการเ ีรยนรู้และนวัตกรรม ทักษะทางสารสนเทศ ่สือและ เทคโนโล ีย ัทกษะทาง ิวชาชีพ ชน้ั ปี 1 โครงการเตรียมความ ✓ ✓ นักศกึ ษามคี วามพรอ้ มในการ พร้อมนกั ศึกษาใหม่ ปรับตวั เขา้ สกู่ ารศกึ ษาและ การดำเนินชวี ิตใน ระดบั อุดมศึกษามากขึ้น รวม ไปถึงสามารถเรยี นรแู้ ละ สามารถใช้สอื่ เทคโนโลยี สารสนเทศเบ้อื งต้น โค รงก าร ป ฐ ม นิ เท ศ ✓ นักศึกษามคี วามพรอ้ มในการ นกั ศกึ ษาใหม่ ปรบั ตัวเขา้ สกู่ ารศึกษาและ การดำเนนิ ชวี ิตใน ระดบั อุดมศึกษามากขึ้น ชั้นปที ี่ 2 โครงการอนามัย ✓✓ ✓ นักศึกษาได้ฝึกทกั ษะการ โรงเรยี นสัญจร สำรวจปญั หา เกบ็ ข้อมูล และ วเิ คราะห์สถานการณ์สขุ ภาพ นกั เรยี นจาก ใหบ้ ริการตรวจ สขุ ภาพ 10 ทา่ และใหส้ ขุ ศึกษาในประเด็นสุขภาพ โครงการอนามยั ✓✓ ✓ นักศึกษาไดฝ้ กึ ทกั ษะการ สิง่ แวดล้อมสัญจร สำรวจปญั หา เกบ็ ขอ้ มลู และ

35 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนนิ งาน วเิ คราะหส์ ถานการณ์ด้านการ จดั การสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน ชัน้ ปี 3 ✓ นกั ศกึ ษามที ักษะและเทคนิค โครงการพัฒนา ในการใช้คอมพวิ เตอรพ์ ื้นฐาน ศักยภาพนกั ศกึ ษาใหม้ ี ทเ่ี กย่ี วกับงานสาธารณสุข คุณลกั ษณะตาม ไดแ้ ก่ โปรแกรม Microsoft มาตรฐานการเรียนรู้ office และ Google form โครงการดูแลสขุ ภาพท่ี ✓ ✓ นักศึกษาได้รบั ทักษะการดูแล บา้ นเพอื่ เสริมสร้างสุข สขุ ภาพที่บา้ นในเขตตำบล ภาวะชมุ ชน ตลาด จังหวัดนครราชสมี า โครงการอบรมเชิง ปฏบิ ัติการใชโ้ ปรแกรม ✓ นักศึกษาไดร้ บั ทักษะในการใช้ คอมพวิ เตอรส์ ำเรจ็ รปู โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำหรบั โครงการพฒั นาทักษะ วิเคราะห์ขอ้ มลู SPSS นักศกึ ษาเพอื่ พฒั นา สุขภาพชุมชน ✓ ✓ นกั ศกึ ษาไดเ้ รียนรแู้ ละได้รบั ประสบการณ์เก่ียวกบั ช้ันปีท่ี 4 กระบวนการพฒั นาสขุ ภาพ โครงการฝกึ ปฏิบตั ิการ ชมุ ชนในเขตพืน้ ทค่ี วาม บริการปฐมภมู ิ รบั ผดิ ชอบของ รพ.สต.หนอง พลวงมะนาว โครงการฝกึ ปฏิบตั กิ าร พฒั นาสขุ ภาพชุมชน ✓✓ ✓ นกั ศึกษาได้ฝกึ ทกั ษะ และ ✓✓ ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ โครงการฝกึ ✓✓ ใหบ้ ริการปฐมภูมใิ น ประสบการณว์ ชิ าชพี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ สาธารณสขุ ✓ ตำบลในจังหวดั นครราชสีมา โครงการแลกเปล่ยี น ✓ นกั ศกึ ษาไดฝ้ ึกทักษะ และ เรียนรู้ดา้ นวิชาชีพ ได้รับประสบการณ์เกย่ี วกบั การพัฒนาสขุ ภาพชุมชนใน พนื้ ที่จังหวดั นครราชสีมา ✓ นักศกึ ษาได้ฝึกทักษะ และ ได้รับประสบการณเ์ กย่ี วกับ การดำเนินงานดา้ น สาธารณสุขในแหล่งฝกึ ฯ นกั ศึกษาไดม้ โี อกาส แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ

36 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน ทกุ ชน้ั ปี ทำงานและแหลง่ งานกบั รนุ่ พี่ โครงการเสริมสรา้ ง ความเขม้ แขง็ ดา้ น 1.ตัวแทนนักศกึ ษา ไดม้ ีโอกาส วชิ าการและงานวิจยั แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ทาง เครอื ขา่ ยราชภัฏกล่มุ วชิ าการ และมีโอกาสเข้ารว่ ม ภาคตะวนั ออก และสง่ ผลงานประกวด การ เฉียงเหนือ 12 สถาบัน นำเสนอผลงานทางวิชาการ และการแสดงศิลปะพื้นบ้าน โครงการส่งเสริมและ ✓ 2.นักศึกษาไดร้ ับรางวลั ในการ พัฒนาคุณธรรม ประกวดผลงานด้านโครงการ จรยิ ธรรมและจิตอาสา บรกิ ารวชิ าการ นวตั กรรม ทกั ษะทางการวิจยั โครงการสวสั ดีปใี หม่ ✓ นักศกึ ษาไดพ้ ัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม ทัง้ น้ีนักศกึ ษายงั เกดิ โครงการทำนุบำรงุ ✓ แรงบันดาลใจทจี่ ะทำงานและ เผยแพร่ ศลิ ปวฒั นธรรม เสยี สละเพื่อสว่ นรวม และจะ ดาว- เดือน คณะ นำความรทู้ ี่ได้ไปปฏบิ ัติ รวม สาธารณสขุ ศาสตร์ ไปถึงจะปฏบิ ตั ติ นตาม กฎระเบียบของมหาวิทยาลัย นกั ศึกษาคณะสาธารณสุข ศาสตร์เกดิ ความตระหนกั ร่วมกันอนรุ กั ษแ์ ละสบื สานภมู ิ ปัญญาและคุณค่าความ หลากหลายของวัฒนธรรม นักศึกษาเกดิ ความตระหนัก และมีส่วนรว่ มในการทำนุ บำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดย สง่ เสรมิ ให้นักศึกษาไดแ้ สดง ความสามารถทสี่ อดคล้องกับ ศิลปวัฒนธรรมทด่ี งี ามของไทย Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้ดำเนินการติดตามและประเมินผล โดยให้ ผู้รับผดิ ชอบโครงการนำเสนอผลการดำเนินงานในท่ีประชุมคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รฯ เพื่อประเมินกระบวนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะในด้านต่างๆ พบว่า โครงการที่จัดข้ึนควรจัดให้ครอบคลุมนักศึกษาในทุกช้ันปี โดยนักศึกษาได้รับการ

37 ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนนิ งาน ผลท่เี กดิ กบั นักศึกษา พัฒนาศักยภาพหรือทักษะท่ีกำหนดให้ ซ่ึงสามารถนำไปใช้พัฒนาในการเรียน การพัฒนา (ตัวบ่งชี้ 3.3) ตนเอง รวมไปถงึ ไดร้ บั รางวัลเชิดชูเกียรตติ ่างๆ Act: การปรบั ปรุงพฒั นา ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงในปีการศึกษา 2564 คือ การเสนอโครงการควร พิจารณาจากความต้องการของนักศึกษาร่วมด้วย รวมไปถึงควรบูรณาการกับโครงการที่มี ลักษณะสอดคล้องกันเพื่อป้องกันความซ้ำซ้อนของกิจกรรมและการใช้จ่ายงบประมาณเกิด ประโยชน์สูงสุด กิจกรรมควรครอบคลุมนักศึกษาในทุกช้ันปี และให้พิจารณาเรื่องการจัด กิจกรรมในช่วงที่มกี ารระบาดของโรคไวรสั โควดิ -19 ด้วย วิธีเขยี นผลการดำเนนิ งาน เปา้ หมาย: 1. อตั ราการคงอยู่ของนักศกึ ษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 2. นกั ศึกษาสำเรจ็ การศึกษาตามระยะเวลาที่หลกั สูตรกำหนด 1) อตั ราการคงอยู่ ในปีการศึกษา 2560-2563 พบว่ามีอัตราการคงอยเู่ ทา่ กับ ร้อยละ 75.26, 87.50, 88.89 และ 92.96 ตามลำดับ พบวา่ อตั ราการคงอยขู่ องนกั ศึกษามีระดับที่ เป็นไปตามเป้าหมายทตี่ ้ังไว้ ปี จำนวน นักศึกษาทีค่ งอยู่แตล่ ะปี การศกึ ษา นักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ช้ันปีท่ี 3 ชัน้ ปีที่ 4 ท่ีเขา้ ทร่ี บั เข้า จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 2560 97 93 95.88 77 79.38 75 77.32 73 75.26 2561 64 63 98.44 56 87.50 56 87.50 2562 45 43 95.56 40 88.89 2563 66 66 92.96 ปจั จัยทม่ี ีผลกระทบตอ่ อัตราการคงอยขู่ องนักศกึ ษา 1. นกั ศกึ ษาช้นั ปที ่ี 1 มกี ารย้ายสถานศึกษาหรอื สาขาวิชาที่เรียน 2. นกั ศกึ ษาชำระคา่ ลงทะเบียนเรียนลา่ ชา้ 3. นักศึกษาสอบผ่านวิชาการศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระลา่ ช้ากว่ากำหนด 4. นกั ศึกษายงั ลงทะเบียนไม่ครบตามแผนการเรียนหรือผลการเรียนไม่ปรากฎผลผา่ น 2) การสำเร็จการศึกษา ในปีการศกึ ษา 2561-2563 พบว่ามีอัตราการสำเร็จการศกึ ษา เท่ากับรอ้ ยละ 66, 71 และ 53 ตามลำดับ ปี จำนวน ปีการศกึ ษาท่สี ำเร็จการศกึ ษา การศึกษา นกั ศึกษา 2561 2562 2563 ท่ีเขา้ ท่รี บั เข้า จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 2558 189 124 66 - - - - 2559 101 - - 72 71 - - 2560 97 - - - - 55 53

38 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน ปจั จยั ทีม่ ีผลกระทบตอ่ การสำเร็จการศกึ ษาของนักศกึ ษา หลกั สตู รได้ร่วมกนั พจิ ารณาปัจจยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การสำเร็จการศกึ ษาของนักศกึ ษา แล้วรว่ มกันวางแผน/แนวทางการแก้ไขปัญหาดงั นี้ ปญั หาที่พบ แนวทางการแก้ไข 1. นกั ศกึ ษาติด F ทำให้ต้องรอลงทะเบยี น 1. พัฒนาการให้คำปรึกษาผา่ นระบบ เรยี นในภาคการศกึ ษาถัดไป เน่ืองจากจะ อาจารย์ท่ีปรึกษา ทำให้หนว่ ยกติ เกินทมี่ หาวทิ ยาลยั กำหนด 2. ในรายวิชาของหลกั สตู รทนี่ ักศึกษามผี ล หรือกระทบกบั แผนการเรยี นในภาค การเรียน F มกี ารพิจารณาจัดการเรียน การศกึ ษาอื่น การสอนใหก้ ับนักศึกษาเปน็ กรณีพิเศษ 2. นกั ศกึ ษาชำระคา่ ลงทะเบยี นไมท่ ันตาม 1. พฒั นาการตดิ ตามการชำระ กำหนด ทำให้หมดสทิ ธ์สิ อบ ต้องรอ คา่ ลงทะเบยี นผา่ นระบบอาจารยท์ ปี่ รึกษา ลงทะเบยี นเรียนในภาคการศกึ ษาถดั ไป โดยการกำกบั ตดิ ตามนกั ศึกษา และ ประชาสมั พนั ธแ์ หล่งทนุ กู้ยมื ฉุกเฉนิ ของ คณะและมหาวทิ ยาลยั ให้นักศึกษาทราบ 2. ประสาน อ.ผู้สอนในการกำกับติดตาม นักศึกษาทมี่ ีรายชือ่ ไม่มีสทิ ธเ์ิ ขา้ สอบ เนอ่ื งจากไม่ชำระค่าลงทะเบยี น 3. นกั ศกึ ษาสอบผา่ นรายวิชาการศกึ ษา 1. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบรายวชิ ากำหนด คน้ ควา้ อสิ ระล่าช้ากวา่ กำหนด ตารางกิจกรรมเพือ่ กำกับการดำเนนิ การ วิจยั ของนกั ศกึ ษา 2. ปรบั ปรงุ กระบวนการโดยให้นักศึกษา เลือก อ.ท่ปี รึกษาและพฒั นาหัวข้อวจิ ยั ตอนเรียนรายวชิ าระเบยี บวธิ วี จิ ัย ซงึ่ จะ เรียนก่อนวชิ านี้ 1 ภาคการศึกษา 3. หลักสูตรจัดประชุมตดิ ตาม ความก้าวหน้าการทำวิจยั ของนักศึกษา ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อรอ้ งเรยี นของนกั ศึกษา 3.1 การจดั ช่องทางการยน่ื ขอ้ ร้องเรยี นของนักศึกษา 1) ระดับมหาวิทยาลัยมีช่องทางร้องเรียนผ่านทางเว็บไซด์มหาวิทยาลัย “คุยกับ อธกิ ารบดี” http://www.old.nrru.ac.th/president/ 2) ระดับคณะ มีช่องทางร้องเรียนผ่านทางเว็บไซด์คณะสาธารณสุขศาสตร์ “สาย ตรงคณบดี” http://vpress.nrru.ac.th/PH/index.php/2015-09-10-14-42-20 และผา่ นกลอ่ งขอ้ ความใน Facebook: Public Health NRRU 3) ระดับหลักสูตร มีช่องทางร้องเรียนผ่านทางกล่องรับข้อร้องเรียนที่ติดต้ังไว้ท่ี

39 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน หน้าห้องสำนักงานคณบดี ผ่านกล่องข้อความใน Facebook : หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร บณั ฑิต สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน และ QR code สง่ ตรงถงึ ประธานหลกั สตู ร 3.2 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั ศึกษาตอ่ ข้อรอ้ งเรียนของหลักสตู ร ปีการศึกษาทีป่ ระเมิน คะแนนความพงึ พอใจ การแปลผล 2560 3.85 มาก 2561 4.04 มาก 2562 4.16 มาก 2563 4.17 มาก ผลการประเมินความพึงพอใจต่อข้อร้องเรียนของนักศึกษา พบว่า ในปีการศึกษา 2563 นักศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.17 ท้ังน้ีพบว่า คะแนนความพึงพอใจตอ่ การจดั การข้อรอ้ งเรียนของหลักสตู รมีแนวโนม้ ทีส่ ูงขึ้น 3.3 การจดั การข้อร้องเรยี นของนกั ศกึ ษา การเก็บรวบรวมข้อร้องเรียนจากช่องทางข้างต้นดำเนินการโดยฝ่ายกิจการ นักศึกษา/อาจารย์ประจำหลักสูตร ซ่ึงมีหน้าท่ีตรวจสอบเรื่องร้องเรียนเบ้ืองต้น (1 วัน) หลังจากน้ันจะแจ้งเร่ืองให้ประธานหลักสูตรทราบ เพื่อพิจารณามอบหมายผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสอบถาม/ตรวจสอบข้อเท็จจริง/หาข้อมูลเพ่ิมเติม (3 วัน) ผู้รับผิดชอบรายงานผลการพิจารณาและเสนอแนวทางการดำเนินงานต่อประธานหลักสูตร หลังจากนน้ั หลกั สตู รแจง้ ผลการดำเนินการไปยงั ผูแ้ จง้ เรือ่ ง รวบรวมสถิติและรายงานผลการ ดำเนินการต่อคณบดี

40 หมวดท่ี 4 ขอ้ มูลผลการเรยี นในรายวิชาของหลักสตู รและคุณภาพการสอนของหลักสตู ร 1. สรุปผลรายวิชาทเี่ ปิดสอนในปกี ารศกึ ษา (ข้อมลู จาก มคอ.5 ของแตล่ ะรายวิชา) รายวชิ า จำนวนนกั ศึกษา การกระจายระดับคะแนน ลงทะเบียน สอบผา่ น A B+ B C+ C D+ D F W I M ภาคการศึกษาท่ี 1 413101 การสาธารณสุข 84 81 11.9 40.5 23.8 16.6 3.5 - - - - 413102 จุลชีววทิ ยาและปรสิตวิทยา 65 62 - - 7.7 18.4 29.2 27.7 12.3 4.6 - ทางสาธารณสขุ 413103 ปฏิบตั ิการจลุ ชวี วิทยาและ 65 61 - - 12.3 20.0 38.4 16.9 6.1 6.1 - - - ปรสิตวทิ ยาทางสาธารณสขุ 413104 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละ 65 63 6.1 26.1 36.9 21.5 6.1 - - 3.1 - - - สรีรวิทยาของมนษุ ย์ 1 413201 อนามัยครอบครัวและการ 38 38 28.9 39.9 23.6 7.9 - - - - - - - วางแผนครอบครัว 38 413211 อนามัยสงิ่ แวดล้อม 38 38 10.5 26.3 39.4 21.1 2.6 - - 413212 การตรวจประเมนิ และการ 38 38 23.7 50.0 18.4 5.2 2.6 - - ปฐมพยาบาล 56 413221 การอนามัยโรงเรยี น 57 38 34.2 47.2 47.3 18.4 - - - - - 413311 สขุ ศึกษาและพฤตกิ รรม 56 56 3.6 16.0 17.8 28.5 25.0 3.6 5.3 - - ศาสตรส์ าธารณสุข 56 413312 วทิ ยาการระบาด 56 57 14.0 5.2 8.7 12.3 24.6 17.5 15.8 - - 413313 กฎหมายสาธารณสขุ และ 56 8.9 17.8 26.8 30.3 14.3 1.8 - - - จรยิ ธรรมวิชาชีพ 56 413321 การพฒั นาสุขภาพชมุ ชน 56 1.8 14.3 64.3 16.1 3.6 - - 413322 ระเบยี บวิธีวิจยั ทาง 73 56 16.0 12.5 26.7 26.7 17.8 - - วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ 73 413323 การประเมนิ ภาวะสุขภาพและ 73 55 25.0 16.0 17.8 19.6 16.1 3.6 - 1.8 - - - การบำบัดโรคเบ้ืองตน้ 413421 การเตรียมฝึกประสบการณ์ 72 41.1 28.7 13.7 15.0 - - - - - - - วชิ าชีพสาธารณสุข 413422 การฝึกบริการปฐมภูมิ 73 50.6 34.2 8.2 6.8 - - - - - - - 413423 การฝึกปฏิบัติการการพฒั นา 71 58.9 30.1 8.2 - - - - - - 2.7 - สขุ ภาพชุมชน ภาคการศึกษาที่ 2 413102 จุลชีววทิ ยาและปรสิต 18 18 - 5.6 27.8 27.8 38.9 - - - - วิทยาทางสาธารณสุข 18 18 16.7 - 38.9 27.8 16.7 - - - - 413103 ปฏบิ ตั กิ ารจุลชีววทิ ยาและ 61 61 3.3 6.6 24.6 31.1 26.2 8.2 - - - ปรสติ วิทยาทางสาธารณสุข 61 61 9.8 21.3 34.4 26.2 6.6 1.6 - - - 413105 กายวภิ าคศาสตร์และ สรรี วทิ ยาของมนษุ ย์ 2 413106 การทันตสาธารณสุข

41 รายวชิ า จำนวนนกั ศกึ ษา การกระจายระดับคะแนน ลงทะเบยี น สอบผ่าน A B+ B C+ C D+ D F W I M 413107 โภชนศาสตร์สาธารณสขุ 62 62 - 8.1 40.3 40.3 11.3 - - - - - - 413108 สุขภาพจิต 61 61 - 11.5 16.4 29.5 34.4 4.9 3.3 - - - - 413109 ประชากรศาสตรแ์ ละการ 61 61 70.5 11.5 9.8 4.9 3.3 - - - - - - คำนวณสถติ ิชพี 413121 การส่ือสารเพื่อสขุ ภาพ 61 61 3.3 19.7 42.6 27.9 4.9 1.6 - - - - - 413213 อาชวี อนามัยและความ 38 38 10.5 7.9 23.7 18.4 31.6 5.3 2.6 - - ปลอดภัย 38 38 18.4 15.6 31.6 23.7 7.9 - 2.6 - - 413214 โรคตดิ ตอ่ และโรคไมต่ ิดต่อ 413215 วธิ ีการทางสถิตใิ นงานวจิ ยั 38 38 10.5 13.2 34.2 21.1 10.5 10.5 - - - สขุ ภาพ 38 38 13.2 7.9 5.3 15.8 15.8 26.3 13.2 - - 413222 เภสัชวิทยาเบอื้ งตน้ 413223 ระบบสารสนเทศเพอื่ การ 56 56 28.9 31.6 39.5 - - - - - - - - จดั การสาธารณสขุ 56 56 41.1 25.0 17.9 8.9 - - - - - - - 413314 การบริหารงานสาธารณสขุ 413324 การประเมินภาวะสขุ ภาพ 56 56 21.4 8.9 26.8 17.9 14.3 7.1 3.6 - - และการบำบัดโรคผู้สงู อายุ 56 56 51.8 37.5 10.7 - - - - - - 413325 การดแู ลสุขภาพทบี่ ้าน 413326 การให้คำปรกึ ษาทาง 56 56 35.7 33.9 10.7 5.4 - - - - - 14.3 - สาธารณสุข 413327 ผนู้ ำกับการพฒั นาระบบ 56 56 7.1 26.8 37.5 23.2 5.4 - - - - - - สุขภาพ 413328 การสมั มนาสาธารณสขุ 56 56 60.7 30.4 8.9 - - - - - - - - 413329 การศกึ ษาค้นคว้าอิสระ 56 56 10.7 - - - - - - - - 89.3 - หมายเหตุ 1. จำนวนนกั ศกึ ษาท่สี อบผ่าน ไม่นับรวมนกั ศึกษาที่ไดร้ ะดบั คะแนน F, W, I, M 2. ขอ้ มูลสรุปรายวชิ า สามารตรวจสอบไดท้ ่ี http://mis.nrru.ac.th/assess/index.php

42 2. การวเิ คราะหร์ ายวชิ าท่ีมผี ลการเรยี นไมป่ กติ (วเิ คราะห์จาก มคอ.5 หมวดที่ 3 ขอ้ 5. ทุกรายวิชา) รายวชิ า ความไม่ปกติที่พบ วิธีการตรวจสอบ เหตผุ ลทเ่ี กิดความไม่ปกติ มาตรการแก้ไขที่ได้ดำเนนิ การแล้ว (หากจำเปน็ ) ภาคการศึกษาท่ี 1 ไมม่ ี ภาคการศึกษาที่ 2 413109 เกรด A จำนวน จากการรายงานเกรด แจ้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชิ าถึง จากการรายงานเกรด ข้อสงั เกตจากคณะกรรมการบริหาร ประชากร 70.49% หลักสูตรเพอ่ื ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ศาสตร์ 1. ให้นกั ศึกษาเลือกอาจารยท์ ่ี ปรกึ ษาตอนเรียนวิชา 413322 413329 เกรด I จำนวน นกั ศึกษาไมส่ ามารถสอบ ระเบยี บวิธวี จิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามเวลาทกี่ ำหนด สขุ ภาพในปี 3 เทอม 1 และเรม่ิ การศึกษา 89.29% พัฒนาโจทย์และโครงร่างวิจัย ควบคกู่ ันไปด้วย คน้ ควา้ 2. ปรบั รปู แบบการขอเอกสารท่ี อิสระ เกยี่ วขอ้ งกบั การวจิ ัย และการ สอบวจิ ยั ในรูปแบบออนไลน์ 3. การเปิดรายวิชาในภาคหรอื ปีการศึกษา 3.1 รายวชิ าท่ีไมไ่ ดเ้ ปดิ ตามแผนการศกึ ษา และเหตผุ ลที่ไม่ได้เปดิ รหัสและชอ่ื รายวิชา เหตผุ ลท่ไี ม่ไดเ้ ปิด มาตรการทดแทนทไ่ี ดด้ ำเนินการ (ถา้ ม)ี - - ภาคการศึกษาท่ี 1 ทกุ รายวชิ ามกี ารเปิดสอน ภาคการศกึ ษาท่ี 2 - - ทุกรายวิชามกี ารเปิดสอน 3.2 วธิ ีแกไ้ ขกรณีทมี่ ีการสอนเนอ้ื หาในรายวิชาไมค่ รบถ้วน รหัสและชือ่ รายวิชา สาระหรือหวั ขอ้ ท่ขี าด สาเหตทุ ่ีไมไ่ ดส้ อน วธิ ีแก้ไข ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ไม่มี ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ไมม่ ี

43 4. การประเมนิ รายวชิ าทเี่ ปดิ สอนในปีทร่ี ายงาน รายวชิ าทม่ี ีการประเมนิ คณุ ภาพการสอนและแผนการปรับปรงุ จากผลการประเมนิ รหสั และช่อื รายวิชา การประเมนิ จาก นักศกึ ษา แผนการปรับปรุง (เตม็ 5) จากผลการประเมิน มี ไม่มี ภาคการศึกษาท่ี 1 1 413101-60 การสาธารณสขุ 4.30 - 2 413102-60 จลุ ชีววทิ ยาและปรสติ วทิ ยาทาง 4.38 - สาธารณสุข 3 413103-60 ปฏิบัติการจลุ ชีววทิ ยาและปรสิต 4.37 - วิทยาทางสาธารณสุข 4 413104-60 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยา 4.30 จดั ประสบการณ์ที่ทำใหผ้ ู้เรียนสามารถเชือ่ มโยงความรู้กบั ของมนษุ ย์ 1 รายวชิ าอื่นๆ หรอื ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน หรือการปฏิบัตงิ าน โดยยกตัวอย่างโรคที่พบบอ่ ยในระบบต่างๆ 5 413140-60 ยาในชีวิตประจำวัน 4.44 - 6 413201-60 อนามยั ครอบครัวและการ 3.96 ให้นักศึกษาไดต้ ระหนกั ถึงความสำคัญในการทำงานเปน็ วางแผนครอบครวั กลุ่มใหม้ ากขน้ึ 7 413211-60 อนามัยส่งิ แวดล้อม 4.60 1. ควรปรบั ปรุงความเร็วของสัญญาณอินเตอรเ์ นต็ เพราะ การเรยี นการสอนออนไลน์ Google classroom และ Nrru E-Learning 2. หวั ขอ้ การจดั การ เรอื่ งรอ้ งเรยี น เหตุรำคาญและ กฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง อาจจะเชญิ วทิ ยากรจากหนว่ ยงานท่ี เกี่ยวขอ้ งมาบรรยาย หรือจดั กิจกรรมให้นักศึกษาดูงาน สถานทจี่ ริง 8 413212-60 การตรวจประเมินและการปฐม 4.02 ให้นกั ศกึ ษาได้ตระหนักถงึ ความสำคัญในการทำงานเปน็ พยาบาล กลมุ่ และภาวะผ้นู ำผตู้ ามมากขึน้ 9 413221-60 การอนามยั โรงเรยี น 4.42 ควรจัดทำโครงการเพือ่ ของบประมาณจากคณะสาธารณสุข ศาสตรใ์ นการนำนักศึกษาลงชมุ ชนเพ่อื ฝึกทกั ษะการดแู ล สขุ ภาพนกั เรียน 10 413311-60 สุขศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตร์ 4.47 - สาธารณสุข 11 413312-60 วทิ ยาการระบาด 4.55 - 12 413313-60 กฎหมายสาธารณสุขและ 4.39 - จรยิ ธรรมวชิ าชพี 13 413321-60 การพฒั นาสขุ ภาพชุมชน 4.42 ควรจดั ทำโครงการเพ่อื ของบประมาณจากคณะสาธารณสุข ศาสตรใ์ นการนำนักศึกษาลงชุมชนเพ่อื ฝึกทักษะการพัฒนา สุขภาพชมุ ชนในปกี ารศึกษาหน้า เนื่องจากนกั ศกึ ษามีความ พงึ พอใจในการจดั กิจกรรมอยา่ งมาก 14 413322-60 ระเบียบวิธวี จิ ัยทางวิทยาศาสตร์ 4.46 ปรบั สอื่ การเรียนการสอนใหม้ ีความนา่ สนใจเพ่อื ใชใ้ นการสอน สขุ ภาพ รูปแบบออนไลน์ 15 413323-60 การประเมนิ ภาวะสุขภาพและ 4.55 - การบำบัดโรคเบือ้ งตน้

44 รหัสและชื่อรายวชิ า การประเมนิ จาก นักศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 กฎหมายสาธารณสุขและ (เต็ม 5) แผนการปรับปรุง 16 413442-55 จรยิ ธรรมวิชาชีพ จากผลการประเมนิ การศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ มี ไม่มี 17 413329-60 การเตรยี มฝกึ ประสบการณ์ 4.44 - 18 413421-60 วิชาชพี สาธารณสขุ 4.56 การฝึกปฏิบัติการบริการปฐมภมู ิ 4.28 - 19 413422-60 4.39 - 4.46 20 413423-60 การฝึกปฏิบัติการบรกิ ารพฒั นา เขยี นโครงการเพ่อื ของบประมาณใหเ้ พียงพอกบั การจดั ภาคการศกึ ษาท่ี 2 สขุ ภาพชุมชน 4.20 กจิ กรรมและปรบั ปรุงคมู่ อื ฝึกใหม้ ีความครอบคลมุ ชดั เจน 1 413102-60 4.35 2 413103-60 จลุ ชวี วทิ ยาและปรสิตวทิ ยาทาง 4.60 - 3 413105-60 สาธารณสขุ 4.40 4 413106-60 ปฏบิ ัติการจลุ ชีววทิ ยาและปรสิต - วิทยาทางสาธารณสุข 4.26 กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วิทยา 4.32 - ของมนุษย์ 2 4.45 การทันตสาธารณสุข 4.40 ปรับวิธีการสอนโดยตกลงการจัดกิจกรรมกบั ผูเ้ รยี นตาม ความต้องการและความสนใจของผเู้ รียน 5 413107-60 โภชนศาสตร์สาธารณสขุ 4.34 ควรทำโครงการเพื่อขอจัดสรรงบประมาณจากคณะ สาธารณสขุ ศาสตรส์ ำหรับจดั กจิ กรรมการฝกึ ทักษะการให้ 6 413108-60 สขุ ภาพจติ ทันตสุขศึกษา 7 413109-60 ประชากรศาสตรแ์ ละการคำนวณ ควรจดั หาส่ือด้านโภชนาการและเพ่ิมกิจกรรมในห้องเรียน เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาเกิดการมสี ว่ นร่วมมากย่ิงขึน้ สถิติชพี 8 413121-60 การสือ่ สารเพื่อสขุ ภาพ - - 9 413201-60 อนามัยครอบครวั และการ วางแผนครอบครวั ผู้สอนจะดำเนนิ การจัดทำตำราหรือเอกสารประกอบการ สอนรายวชิ านี้ใหส้ มบูรณพ์ รอ้ มทัง้ พัฒนาสไลดป์ ระกอบการ สอนให้มีความกระชับ และทำให้ผูเ้ รียนสามารถศกึ ษาด้วย ตนเองได้และมีความเขา้ ใจงา่ ย เพม่ิ การสอดแทรกคณธุ รรม จริยธรรม แก่ผเู้ รียน โดยเน้น ทกี่ ารเข้าชนั้ เรยี น และการส่งงานทีไ่ ด้รับบมอบหมาย ตรง เวลา 10 413213-60 อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 4.48 ควรมกี ารไปทศั นศกี ษาในสถานประกอบกจิ การ 11 413214-60 โรคติดตอ่ และไม่ติดต่อ 4.46 ปรบั ปรงุ เนอ้ื หาและจดั ทำส่อื นำเสนอด้วยคอมพวิ เตอร์ หวั ขอ้ “โรคเก่ียวกับมลพษิ ส่งิ แวดลอ้ ม” 12 413215-60 วธิ กี ารทางสถิตใิ นงานวจิ ัยทาง 4.58 สุขภาพ -

45 รหสั และช่อื รายวิชา การประเมินจาก แผนการปรับปรงุ นักศกึ ษา จากผลการประเมนิ ภาคการศึกษาท่ี 2 (เตม็ 5) 13 413222-60 เภสัชวทิ ยาเบื้องตน้ มี ไมม่ ี 4.12 ปรับปรงุ เนอ้ื หาให้มีความงา่ ยขน้ึ ใชก้ ารถามตอบเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของนกั ศึกษา อาจลดเน้ือบางสว่ นลง 14 413223-60 ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ 4.29 จัดใหม้ ีกิจกรรมสอดแทรกการใช้เทคโนโลยีออนไลน์รว่ มกับ สาธารณสขุ 4.45 การจดั การเรยี นการสอน เช่น KAHOOT ควรจดั ทำเอกสารประกอบการสอนและเรยี บเรียงเนอ้ื หาแต่ 15 413314-60 การบรหิ ารงานสาธารณสุข ละหวั โดยละเอยี ดและเพม่ิ เนอ้ื หา ควรเพมิ่ หน่วยกิตของรายวิชา เน่ืองจากมเี นือ้ หามากและ 16 413324-60 การประเมินภาวะสุขภาพและ 4.46 เป็นวชิ าท่มี คี วามสำคัญในการปฏิบัติงานของนกั ศกึ ษาใน การบำบดั โรคผู้สงู อายุ อนาคต เพ่ือใหน้ กั ศึกษาไดเ้ รยี นรู้ครอบคลุมเน้อื หาทกุ อย่าง ทีต่ อ้ งใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน 17 413325-60 การดูแลสขุ ภาพท่ีบ้าน 4.24 ควรมีการเชญิ วทิ ยากรมาบรรยายเพ่มิ เติมเพ่ือเพม่ิ ประสบการณต์ รงใหก้ บั นกั ศกึ ษาและควรมีการวางแผน 18 413326-60 การใหค้ ำปรึกษาทางสาธารณสขุ 4.40 เตรยี มงบประมาณสำหรบั การลงชมุ ชนของนักศึกษา ผ้สู อนจะดำเนินการจดั ทำตำราหรอื เอกสารประกอบการ 19 413327-60 ผู้นำกบั การพัฒนาระบบสุขภาพ 4.52 สอนรายวชิ านี้ให้สมบูรณ์ พรอ้ มทง้ั พัฒนาสไลด์ 20 413328-60 การสัมมนาสาธารณสุข 4.46 ประกอบการสอนให้มีความกระชบั และทำให้ผู้เรยี น 21 413329-60 การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ 4.56 สามารถศึกษาดว้ ยตนเองได้ และมคี วามเขา้ ใจงา่ ย 22 413494-55 การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ 4.14 - สาธารณสุข - ปรับปรงุ เอกสารการสอนและเพิ่มเนอ้ื หาให้สอดคลอ้ งกับ สถานการณ์ป้จจบุ นั นำผลการประเมนิ ทไ่ี ด้ นำเขา้ เปน็ วาระเพื่อพิจารณาในการ ประชมุ คณะกรรมการประจำหลักสูตรหลงั เสรจ็ ส้นิ การฝึก ประสบการณว์ ิชาชีพ 5. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการสอนโดยรวม สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพการสอนของอาจารยผ์ ้สู อนในรายวชิ าตา่ ง ๆ เชน่ รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตมีทั้งหมด 42 รายวิชา ได้รับการประเมินผลจาก นักศึกษาครบทุกรายวิชา โดยมีผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวมอยู่ในเกณฑ์มาก-มากท่ีสุด (คะแนนอยู่ในช่วง 3.96-4.60 จากคะแนนเต็ม 5) ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนต่อทักษะการสอนของ อาจารย์ท้ัง 6 ดา้ น เฉลี่ยอย่ใู นระดบั มาก (คะแนน 4.39 จากคะแนนเต็ม 5)

46 6. ประสทิ ธผิ ลของกลยทุ ธ์การสอน สรปุ ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะต่อสัมฤทธิผลของการ แนวทางแกไ้ ข/ปรบั ปรุง สอนและผลการเรียนรู้ตามกลมุ่ สาระหลักท้ัง 5 ประการ (1) คณุ ธรรม จริยธรรม - ผู้เรยี นบางสว่ นยงั เข้าชนั้ เรียนล่าช้า - ผสู้ อนปรับเวลาการเชค็ ชอื่ ในชนั้ เรียนจากช่วงท้าย คาบเป็นช่วงตน้ คาบ โดยแจง้ ผเู้ รียนลว่ งหนา้ และรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผ้เู รียน - ผู้เรยี นบางสว่ นยังส่งงานลา่ ชา้ ไมเ่ ปน็ ไปตาม - ผสู้ อนซกั ถามถงึ สาเหตุพร้อมใหค้ ำแนะนำตักเตอื น ข้อตกลง เปน็ รายบุคคลและรายคร้ัง ส่วนการใหค้ ะแนนสามารถ ยืดหยุ่นเป็นกรณีๆ ไป - ผูเ้ รียนบางสว่ นแต่งกายไม่เรยี บร้อย - ทำขอ้ ตกลงเร่อื งการแต่งกาย เนื่องจากเปน็ การเรียน ออนไลน์ ผสู้ อนจึงอนุโลม - นักศกึ ษายงั ขาดระเบียบในการแตง่ กาย ความตรง - ทำขอ้ ตกลงระหว่างเรียน ตอ่ เวลาและมารยาทในการเรยี น - การอภปิ รายกรณศี ึกษาเก่ียวกบั ความรบั ผิดชอบ - แกไ้ ขโดยหากรณีศึกษาตามแหลง่ ข้อมูลต่างๆ เช่น ตอ่ หนา้ ท่ียังไมไ่ ด้ทำเนื่องจากเวลานอ้ ยและยังไม่มีตัวอยา่ ง เวบ็ ไซตแ์ ละสอดแทรกไปกับการเรียนการสอน ประกอบ - นกั ศกึ ษาเข้าชนั้ เรียนช้า แต่ได้เชค็ ชอ่ื เข้าเรยี น ทำให้ - เช็คชือ่ ตรงเวลาทกุ ครั้ง ไม่ยุตธิ รรมกับนักศกึ ษาท่มี าตรงเวลา - ผ้เู รียนบางสว่ นทำแบบทดสอบ ผา่ น NRRU e- - กระตุ้นเตอื นผ่านกล่มุ Line และพจิ ารณาการให้ learning ล่าชา้ ไม่เป็นไปตามขอ้ ตกลง คะแนนเป็นรายกรณี (2) ความรู้ - ผู้เรียนสว่ นใหญ่ขาดการทบทวนเน้ือหาของบทกอ่ น - ผู้สอนกระตุ้นโดยการถามตอบปากเปล่าระหวา่ งการ หนา้ ทำใหเ้ ชือ่ มโยงความรูไ้ มไ่ ด้ เรียนการสอน - นักศกึ ษายงั มีสว่ นร่วมในการเรียนนอ้ ย - พยายามกระตุ้นใหน้ ักศกึ ษามคี วามกระตอื รอื ร้น กลา้ ซกั ถาม - นักศึกษาส่วนใหญไ่ มม่ ีการเตรียมตัวหรือศกึ ษา - แกไ้ ขโดยใหน้ กั ศึกษาไปอา่ นหรอื ศึกษาเพิม่ เติมจาก จากตำรา/หนงั สือก่อนเขา้ เรียน แหล่งข้อมลู อืน่ นอกจากการเรยี นการสอนในชนั้ เรียน และใชส้ ไลดป์ ระกอบการบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ แลว้ ให้นักศึกษาไปอ่านหรอื ศึกษาเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลอ่นื - นกั ศกึ ษายังขาดการทบทวนเนื้อหาท่ีเรียนไปแลว้ - ต้ังคำถามใหน้ ักศึกษาคน้ ควา้ หาคำตอบดว้ ยตนเอง - นักศกึ ษายงั ขาดความร้คู วามเขา้ ใจในบางหวั ขอ้ - ยกตัวอยา่ งเพ่มิ เติมและให้นกั ศกึ ษาไปศกึ ษาดูงานท่ี หน่วยงานด้านสขุ ภาพจติ /จิตเวช - เนอ่ื งจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 - หาชอ่ งทางในการเพ่มิ ปฏสิ ัมพนั ธ์กับผเู้ รียน ทำให้การจดั การเรยี นการสอนผ่านออนไลน์ สง่ ผลต่อการ อภิปราย หรือการเรียนรู้แบบเผชิญหนา้

47 สรุปข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะต่อสัมฤทธผิ ลของการ แนวทางแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ สอนและผลการเรยี นรตู้ ามกลุม่ สาระหลกั ทงั้ 5 ประการ (3) ทักษะทางปัญญา - กระต้นุ ใหน้ ักศกึ ษาได้แสดงความคิดเหน็ ในทาง สร้างสรรคเ์ ปน็ ประจำจนเคยชิน - นักศึกษาขาดความมน่ั ใจในการวิเคราะห์ และยงั - กระตนุ้ ใหน้ ักศกึ ษาทกุ คนกล้าแสดงความคดิ เหน็ มองไม่รอบดา้ น - ปรับเนื้อหาให้เหมาะสมกบั เวลาเรยี นมากข้ึน แนว ทางการแก้ไขระยะยาวเพิม่ จำนวนหน่วยกิตของรายวชิ า - นกั ศกึ ษาบางคนไมก่ ล้าแสดงความคิดเหน็ - เน้อื หาของรายวชิ าการประเมินภาวะสขุ ภาพและ - จัดรูปแบบการเรยี นการสอนเพ่ือใหน้ ักศกึ ษาได้ฝกึ การบำบัดโรคผสู้ งู อายุมากและเป็นวิชาทจ่ี ำเป็นในการ ทักษะการคดิ และแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา ปฏิบตั งิ านของนักศกึ ษาในอนาคต จงึ ทำใหเ้ วลาสอนภาค การจดั การขยะมูลฝอยในชมุ ชน บรรยายเกนิ 1 ช่ัวโมง ทำให้เหลอื เวลาทำปฏบิ ัตกิ ารนอ้ ย นกั ศกึ ษาไมม่ ีเวลาในการแสดงบทบาทสมมติ และไมไ่ ด้ - ใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมกันกำหนดบทบาทสมาชิกแตล่ ะ ศึกษากรณีศึกษาครบทุกกรณศี กึ ษา คน โดยผ้สู อนเปน็ ผูก้ ำกับติดตาม - มอบหมายงานเป็นกลุ่มทำใหน้ กั ศกึ ษาบางคนใน - ตอ้ งมีการประเมนิ คะแนนกลมุ่ อยา่ งละเอียดและให้ กลมุ่ อาจจะไมเ่ ข้าใจบริบทของชมุ ชนน้ัน คะแนนตามจรงิ รายบุคคลหรือจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ นอ้ ยลง (4) ทักษะดา้ นความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความ - ในปีการศกึ ษาถดั ไป ควรมกี ารทดสอบหลงั การ รับผิดชอบ นำเสนอ เพอื่ ความเขา้ ใจในเนื้อหาของนกั ศึกษา หรือ - ยงั มสี มาชกิ ในกล่มุ บางคนไมร่ ่วมมอื ในการทำงาน แบง่ กลุ่มให้จำนวนคนนอ้ ยลง เพือ่ กระจายงาน - แกไ้ ขโดยตอนมอบหมายงานใหน้ กั ศึกษาระบุด้วยว่า กลุ่ม ใครทำหนา้ ทอ่ี ะไร - นักศกึ ษาบางคนไมม่ สี ว่ นรว่ มในการทำงานกลมุ่ กบั - แกไ้ ขโดยการกระตุ้นใหน้ ักศึกษาทกุ คนกล้าแสดงความ คดิ เห็น เพอื่ น - กระตุ้นการมสี ่วนรว่ มของนกั ศึกษาและใหก้ ำหนด หนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบให้ชัดเจน - นกั ศกึ ษาไม่มีสว่ นร่วมในการทำกจิ กรรม - ใหน้ ักศึกษาทำงานเปน็ ทีมผ่าน google classroom - การกำหนดหนา้ ท่ีของนักศกึ ษาแตล่ ะคนยังไม่ - ผสู้ อนปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งที่ดีให้แก่ผ้เู รียนเร่อื ง ชดั เจน การอา้ งอิงแหล่งท่มี าของขอ้ มูลภายในส่ือการสอนทกุ ครง้ั - นกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่ไม่กล้าแสดงความคิดเหน็ ในชน้ั เรยี น - นักศึกษายังขาดความกระตือรอื ร้นในการทำงาน กลุ่ม - เกดิ สถานการณ์ระบาดของ COVID-19 ทำให้ไม่ สามารถจัดการเรยี นการสอนในช้ันเรียนได้ (5) ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสารและการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดการอ้างองิ แหล่งที่มาของข้อมูล

48 สรปุ ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะต่อสัมฤทธผิ ลของการ แนวทางแกไ้ ข/ปรบั ปรุง สอนและผลการเรียนรตู้ ามกล่มุ สาระหลกั ท้งั 5 ประการ - ควรศึกษาค้นควา้ เพิ่มเติมทางอนิ เตอร์เนต็ และ แหลง่ ขอ้ มูลอน่ื - ผู้เรียนยงั ขาดทักษะในการคน้ คว้า - แนะนำแหล่งค้นคว้าที่มคี วามน่าเช่ือถือและเป็น ปัจจุบนั - นกั ศึกษายังขาดความรู้ในการเลือกแหลง่ ข้อมูล - กำชับนกั ศกึ ษาให้คน้ ควา้ จากแหลง่ ขอ้ มลู ทีแ่ นะนำ - นักศกึ ษายังไม่ได้ศกึ ษาแนวทางการรักษาโรค - ไม่มี ตา่ งๆ แต่มกี ารแนะนำหนังสอื ตำราการตรวจ รักษาโรคทว่ั ไป แต่งโดย นพ. สรุ เกียรติ อาชานุ ภาพทเี่ หมาะสำหรบั การใชป้ ระกอบอาชพี ใน อนาคตของนักศึกษา (6) สำนกึ ดี มีความรู้ พร้อมสงู้ าน - ไม่มี

49 หมวดที่ 5 การบรหิ ารหลักสตู ร 1. คณุ ภาพหลักสตู รการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล ตวั บ่งช้ี ผลการดำเนนิ งาน สาระของรายวชิ าใน มีผลการดำเนนิ งานในระดบั 3 หลักสูตร 1. การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวิชาในหลักสูตร (ตัวบ่งชี้ 5.1) เป้าหมาย: 1. หลกั สตู รมีการปรบั ปรุงทุกรอบ 5 ปี 2. หลกั สูตรมกี ารทบทวนสาระรายวชิ า อยา่ งนอ้ ย 1 คร้ังตอ่ ปกี ารศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2560 และจะดำเนินการ ปรับปรุงหลักสูตรอีกครั้งในปีการศึกษา 2564 เพ่ือเปิดใช้หลักสูตรปรับปรุงปีการศึกษา 2565 ทั้งน้ีหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 ได้ปรับปรุงจากหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2555 ซ่ึงใช้ในการจัดการเรียนการสอน ระหว่างปีการศึกษา 2555 ถึงปีการศึกษา 2559 ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรมีเน้ือหาสาระท่ี ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตและความก้าวหน้าทางวิชาการที่ เปล่ียนแปลงไป คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจึงร่วมกันจัดทำหลักสูตรปรับปรุงขึ้น โดยสาระในการปรับปรุงคร้งั น้ีได้ดำเนนิ การเพอ่ื ให้สอดคล้องกับข้อมลู ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 (ร่าง) มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา สาขาสาธารณสุขศาสตร์ (มคอ.1) รายงานผลการประเมินหลักสูตร รายงานผลการดำเนินงานของหลกั สูตร (มคอ.7) ของรอบปีท่ีผา่ นมา รวมถึงสถานการณ์ การเขา้ สู่สังคมผสู้ งู อายขุ องประเทศไทย และแนวโน้มสดั ส่วนผู้ป่วยดว้ ยกลมุ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ เรอื้ รงั ท่เี พิ่มสงู ข้ึน Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน หลกั สูตรได้ประชมุ เพื่อพิจารณาทบทวนหลกั สตู รเพือ่ ให้สอดคล้องกับร่าง มคอ. 1 สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ และข้อบังคับสภาการสาธารณสุขชุมชนว่าด้วยการ รับรองสถาบนั การศึกษาวชิ าชพี การสาธารณสุขชมุ ชน พ.ศ.2562 หลักสูตรได้มีแนวทางในการกำกับอาจารย์ผู้สอนให้ปรับปรุงเน้ือหาท่ีมีความ ทันสมัยตามศาสตร์ โดยพิจารณาจาก มคอ.3 เช่น รายวิชาการประเมินและบำบัดโรค เบื้องต้น รายวิชาการประเมินและบำบัดโรคผู้สูงอายุ รายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ เป็นต้น และสื่อการเรียนการสอนท่ีส่งรายงานเพ่ือประเมินเล่ือนข้ันเงินเดือนใน แตล่ ะภาคการศึกษา Do: ผลดำเนนิ งาน ปีการศกึ ษา 2563 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2560 จะถึงวงรอบการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบ 5 ปี ใน พ.ศ.2565 จึงได้ดำเนินงานตามระบบกลไกการออกแบบหลักสูตร/สาระรายวิชาในหลักสูตรและ

50 ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าของศาสตร์ โดยมีขั้นตอนสำคัญคือ การ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการประเมนิ หลักสูตร การแต่งตง้ั คณะกรรมการร่างหลักสูตร และการ แต่งต้งั คณะกรรมการวพิ ากษห์ ลักสูตร โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการออกแบบปรับปรุงหลักสูตร ซึ่งคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรได้วางเป้าหมายการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อนำเสนอต่อสภาวิชาการ และสภา มหาวิทยาลัยภายในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2564 และเสนอต่อสภาวิชาชีพการ สาธารณสขุ ชุมชน เพ่ือให้หลักสูตรพร้อมใชง้ านในปกี ารศกึ ษา 2565 นอกจากนี้ หลักสูตรได้มีการประชุมออกแบบสาระรายวิชาการเตรียมฝึก ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข การฝึกปฏิบัติการบริการปฐมภูมิ การฝึกปฏิบัติการ พัฒนาสุขภาพชุมชนในภาคการศึกษาท่ี 1/2563 และรายวิชาการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพสาธารณสุขในภาคการศึกษาท่ี 2/2563 ในการประชุมหลักสูตรคร้ังที่ 6/2563 เม่ือวันที่ 8 มิถุนายน 2563 โดยได้นำความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากอาจารย์นิเทศและ อาจารย์พ่ีเล้ียง และข้อเสนอแนะจากนักศึกษาในปีก่อนหน้ามาพิจารณาประกอบด้วย เช่น กิจกรรมและระยะเวลาฝึกไม่สอดคล้องกัน เป็นต้น นอกจากนี้ รายวิชาการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพได้ตัดกิจกรรมการฝึกพัฒนาสุขภาพชุมชนออกเนื่องจากกิจกรรมน้ี ไดจ้ ัดในรายวชิ าการฝกึ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาสุขภาพชุมชนแลว้ ในประเด็นการปรับปรุงเน้ือหาให้มีความทันสมัย หลักสูตรพิจารณา มคอ.3 ก่อนเปดิ ภาคการศกึ ษาและพิจารณาส่ือการเรยี นการสอนท่ีอาจารย์ผ้สู อนส่งรายงานเพื่อ ประเมินเล่ือนขนั้ เงนิ เดอื นในแตล่ ะภาคการศกึ ษา Check: การประเมนิ กระบวนการ สาระรายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขได้มีการปรับสาระ รายวิชาตามข้อเสนอของนักศึกษาในปีการศึกษา 2562 และสาระรายวิชาการฝึก ปฏบิ ัตกิ ารบริการปฐมภูมิ พบว่ากิจกรรมยังไมเ่ หมาะสมกับระยะเวลาทีอ่ อกฝกึ นอกจากนั้นยงั มีการปรับปรุงหลักสูตรในด้านต่างๆ เกิดเป็นผลลัพธ์หลักสูตรที่ มีเน้ือหาท่ีทันสมัยตามศาสตร์ของสาขาวิชา ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต อย่างไรก็ตามจากการทบทวนจำนวนช่ัวโมงปฏิบัติในปีการศึกษา 2563 พบว่าจำนวน ชั่วโมงปฏิบัติยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อบังคับสภาการสาธารณสุขชุมชนว่าด้วยการ ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2562 ซ่ึง หลักสูตรควรพิจารณาแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรในรอบ 5 ปีต่อไป รวมท้ังจัดทำ ฐานข้อมูลการปรับปรุงการออกแบบหลักสูตรที่มีความชัดเจนเพ่ือให้อาจารย์สามารถ เขา้ ถงึ ข้อมูลได้ง่าย อนั จะนำไปใช้พัฒนาการเรยี นการสอนท่ีต่อเน่ืองต่อไป Act: การปรับปรุงพฒั นา ในปีการศึกษา 2564 การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชายังต้องมีการ พิจารณาและวิเคราะห์ถึงมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต และข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อันได้แก่ พระราชบัญญัติวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 (ร่าง) มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สาขา สาธารณสุขศาสตร์ (มคอ.1) รายงานผลการประเมินหลักสูตร รายงานผลการดำเนินงาน ของหลักสูตร (มคอ.7) ของรอบปีที่ผ่านมา รวมไปจนถึงสถานการณ์ทางสาธารณสุขท่ี

51 เป็นปัญหาสำคัญระดับชาติและนานาชาติ ดังเช่นสถานการณ์การระบาดของโรคอุบัติ ใหม่ เช่น COVID-19 การปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหท้ ันสมยั ตามความก้าวหน้าในศาสตร์ การปรับปรุงหลักสตู รในรอบปกี ารประเมนิ เปา้ หมาย: 1. หลักสตู รมีการปรับปรงุ สาระรายวิชาให้มคี วามทนั สมัย การปรับปรงุ หลักสตู รในแตล่ ะปีการศกึ ษาจะดำเนินการจากการทบทวนผลการ ดำเนินงานของหลักสูตรที่รายงานใน มคอ.7 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา รวมท้ังคำนึงถึง ความเปลี่ยนแปลงของศาสตร์และความก้าวหน้าในศาสตรว์ ิชานั้นๆ Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน 1. ก่อนเปิดภาคเรียนหลกั สตู รจดั ประชุมช้ีแจงใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนทกุ ทา่ นจัดทำ แผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) ของแต่ละรายวิชาซ่งึ จะตอ้ งจัดการเรยี นรู้จะต้องมี การปรบั ปรุงและพฒั นาเนอ้ื หารายวิชาใหม้ คี วามทันสมยั ต่อความก้าวหนา้ ในศาสตร์ สาขานัน้ ๆ รวมไปถึงความสอดคลอ้ งของ มคอ.3 และ มคอ.4 กับ มคอ.2 2. อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบรายวชิ า และอาจารยผ์ ู้สอนจดั ทำ มคอ.3 และมคอ.4 โดย ปรบั ปรงุ เนอ้ื หาตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการทวนสอบผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษา และปรับปรุงเนือ้ หาใหม้ ีความทันสมยั 3. ประธานหลักสตู รตดิ ตามการสง่ มคอ.3 และมคอ.4 ให้เป็นไปตามกำหนดและ ตรวจสอบแผนการสอนกิจกรรม และการประเมนิ ผล Do: ผลดำเนินงาน ในปกี ารศึกษา 2563 1. รายวิชาทเ่ี ปิดการเรยี นการสอนปกี ารศึกษา 2563 ตามหลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.2560 ผสู้ อนปรับปรงุ เน้ือหาและแผนการเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งผลการเรียนรู้ ตาม Curriculum Mapping ให้ทนั สมยั ตอ่ ความกา้ วหน้าในศาสตรส์ าขานัน้ ๆ รวมทง้ั กจิ กรรม การวดั และการประเมินผลให้สอดคลอ้ งกับสถานการณป์ จั จุบนั เชน่ การสอน แบบผสมผสานหรือ blended learning เพ่อื ปรับตัวตามสถานการณก์ ารระบาดของ COVID-19 นอกจากนี้ รายวิชายงั ไดม้ ีการนำเอาเน้ือหาท่เี ป็นปจั จบุ ันมาปรับปรงุ สาระ รายวชิ าใหท้ ันสมัย รวมไปถึงมกี ารนำเอากฎหมายหรือ พ.ร.บ.ที่มีการประกาศใชใ้ นปี พ.ศ. 2562 มาใชใ้ นการเรียนการสอน เชน่ รายวิชาโรคตดิ ต่อและโรคไมต่ ดิ ตอ่ รายวชิ า กฎหมายสาธารณสขุ รายวิชาสุขภาพจิต เป็นตน้ รวมไปถงึ การออกแบบสาระรายวิชา เพือ่ ให้เกิดการบรู ณาการระหว่างรายวิชาทจี่ ดั การเรยี นการสอนในช้ันปีเดยี วกัน เชน่ รายวชิ าการดูแลสุขภาพทบี่ า้ นและรายวิชาการประเมนิ และบำบัดโรคผู้สูงอายุ ซ่ึง รว่ มกันนำนกั ศกึ ษาลงชมุ ชนเพื่อฝึกทกั ษะการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุทบี่ ้าน เปน็ ต้น 2. อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบรายวชิ า และอาจารย์ผู้สอนดำเนินการปรับปรุงเนื้อหา ตามทรี่ ะบุไวใ้ นคำอธบิ ายรายวชิ า และหนว่ ยกิตทีป่ รบั ใหม่ โดยออกแบบแผนการสอน กจิ กรรม และการประเมนิ ผล และกำหนดในแผนการเรยี นรใู้ น มคอ.3 และ มคอ.4 นอกจากนี้ ในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาของหลักสูตรทุกภาคการศึกษา

52 อาจารย์ผู้สอนและผู้รับผิดชอบรายวิชาได้ร่วมกันพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการพัฒนารายวิชาจากผลการดำเนินงานใน มคอ.5 ของแต่ละวิชา ในปีการศึกษา 2563 มรี ายละเอียดการปรบั ปรุงรายวิชา ดงั นี้ รหัสและชื่อรายวิชา จดุ ท่ีควรพฒั นา แนวทางการปรับปรุง ภาคการศกึ ษาที่ 1 - ปรบั ปรงุ เนอื้ หาและ - ปรับเน้ือหาและสื่อ 413101-60 การสาธารณสขุ ส่อื การสอนให้ การสอนให้หลากหลาย นา่ สนใจมากข้ึน และกระตุ้นการมีส่วน 413102-60 จลุ ชวี วิทยาและ รว่ ม ปรสิตทาง - ปรับปรุงเนอื้ หา - ปรับเพิ่มเนื้อหาและ สาธารณสขุ ตามสถานการณ์ ป รั บ ป รุ ง ให้ มี ค ว า ม ปัจจุบนั ทันสมยั 413103-60 ปฏบิ ตั ิการจลุ - ปรบั ปรงุ เน้อื หา - ปรับเพ่ิมเนื้อหาและ 413104-60 ชวี วทิ ยาและ ตามสถานการณ์ ป รั บ ป รุ ง ให้ มี ค ว า ม ปรสติ วทิ ยาทาง ปัจจุบัน ทนั สมยั 413201-60 สาธารณสุข กายวภิ าค - ควรพัฒนาผเู้ รียนให้ - ถามตอบปากเปล่า ศาสตร์และ ทบทวนเนอื้ หาก่อน ระหว่างการจัดการ สรีรวทิ ยาของ เรยี น ทำใหข้ าดการ เรยี นการสอน มนษุ ย1์ เช่ือมโยงของเน้อื หา - ให้คำแนะนำและ - ผู้เรียนขาดการ ปฏิบตั ิเป็นแบบอยา่ งใน อนามยั อ้างอิงแหล่งท่ีมาของ เรื่องการอา้ งอิง ครอบครัวและ ขอ้ มลู แหลง่ ท่มี าของข้อมูล การวางแผน - วธิ ีการสอนยงั ไม่ - ปรบั วธิ กี ารสอนโดย ครอบครวั หลากหลาย คำนึงถึงความ หลากหลายและความ - ขาดการมสี ว่ นรว่ ม แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ของนกั ศึกษา 413211-60 อนามยั ส่ิงแวด - นกั ศึกษายงั ขาดการ - ป รั บ เน้ื อ ห า แ ล ะ ลอ้ ม มีส่วนรว่ มในการเรียน กระบวนการเรียนรู้ให้ การสอน ทันสมัยและเหมาะสม กับสถานการณ์ - นกั ศึกษายังขาด - อบรมการใช้ Google ความร้คู วามเขา้ ใจใน classroom ก่ อ น ใ ช้ การใช้ Google สอน classroom

53 413212-60 การตรวจ - นักศกึ ษายงั ขาด - มอบหมายงานเพ่ือฝกึ ประเมนิ และ ทกั ษะในการคน้ คว้า ใหน้ ักศกึ ษาฝกึ ทักษะ 413221-60 การปฐม การสืบคน้ จากหลาย 413311-60 พยาบาล - นกั ศกึ ษาไมก่ ล้า แหล่ง แสดงความคดิ เหน็ - จัดรูปแบบการเรยี น การอนามัย การสอนทก่ี ระตุ้นการ โรงเรียน - นกั ศึกษาขาดการมี แสดงความคิดเหน็ สว่ นรว่ มในชัน้ เรียน - จัดกิจกรรมการเรียน สุขศึกษาและ การสอนท่ีหลากหลาย ประชาสัมพันธ์ - ขาดอปุ กรณก์ าร กระตุ้นการมีส่วนร่วม สอน/สื่อการสอนท่ี ของนักศกึ ษา ทนั สมยั - ส่งเสรมิ กิจกรรมการ เรียนการสอนท่ีใชส้ ือ่ ทันสมยั เช่น วดิ ีโอคลปิ 413312-60 วทิ ยาการ - - 413313-60 ระบาด กฎหมาย - นกั ศึกษาขาดความ - อ.ผสู้ อนสรุปเน้ือหา 413442-55 สาธารณสุขและ สนใจในเนื้อหา กฎหมายให้นกั ศกึ ษา จรยิ ธรรม 413321-60 วชิ าชพี - นักศกึ ษาขาดความ - อ.ผ้สู อนสรุปเนื้อหา กฎหมาย สนใจในเนอื้ หา กฎหมายใหน้ กั ศึกษา สาธารณสขุ และ จริยธรรม - นกั ศึกษาขาดการ - ปรับวธิ กี ารสอนให้ วิชาชีพ คดิ วิเคราะหแ์ ละขาด นักศึกษาเพ่มิ การคดิ การพฒั นา การมสี ว่ นร่วม วิเคราะห์และมสี ่วนรว่ ม สุขภาพชมุ ชน มากขน้ึ 413322-60 ระเบยี บวธิ วี ิจัย - ปรับปรงุ เน้ือหา - ปรับเพิ่มเน้ือหาและ 413323-60 ทาง ตามสถานการณ์ ป รั บ ป รุ ง ให้ มี ค ว า ม วทิ ยาศาสตร์ ปัจจบุ นั ทันสมยั สุขภาพ การประเมิน - ปรบั ปรุงเน้อื หา - ปรับเพ่ิมเน้ือหาและ ภาวะสุขภาพ ตามสถานการณ์ ป รั บ ป รุ ง ให้ มี ค ว า ม และการบำบดั ปัจจบุ ัน ทนั สมยั โรคเบอื้ งต้น

54 413422-60 การฝกึ - - ปฏบิ ตั ิการ บริการปฐมภมู ิ 413423-60 การฝกึ - - ปฏบิ ตั กิ าร พัฒนาสขุ ภาพ ชมุ ชน 413493-60 การเตรียมฝึก - - ประสบการณ์ วชิ าชพี ฯ ภาคการศกึ ษาที่ 2 413105-60 ก า ย วิ ภ า ค - นกั ศึกษายังขาด - เพม่ิ การใช้โมเดลตา่ งๆ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ทกั ษะการคิด ประกอบการเรียนการ สรีรวิทยาของ วเิ คราะห์ การแสดง สอน และกรณีศกึ ษา มนษุ ย์ 2 ความคิดเหน็ และการ เพ่ือให้นักศกึ ษาได้แสดง ค้นคว้าขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ความคดิ เหน็ เกิดทักษะ การคดิ วเิ คราะห์ การศึกษาค้นควา้ โดยใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ส่งเสรมิ การทำงานเป็น ทมี 413106-60 การทนั ต - มกี ารจัดกิจกรรม - จัดกิจกรรมการให้สุข สาธารณสุข เพือ่ ใหน้ กั ศึกษาได้ฝึก ศึกษารายบุคคลท้ังใน ทกั ษะดา้ นทนั ต ชั้ น เรี ย น แ ล ะ น อ ก สาธารณสุขมากขึ้น มหาวทิ ยาลยั - พิ จ ารณ าป รับ ป รุง รายวิชาเพ่ือให้มีชั่วโมง ปฏบิ ัติ 413107-60 โภ ช น ศ าส ต ร์ - นกั ศกึ ษายงั ขาดการ - จดั กิจกรรมการเรยี น สาธารณสขุ คดิ วเิ คราะห์ การมี การสอนท่กี ระตุ้นการ ส่วนร่วมในชนั้ เรียน คิดวิเคราะห์ การมสี ว่ น การค้นควา้ ขอ้ มลู จาก รว่ มในชั้นเรียนและการ แหล่งทน่ี ่าเชือ่ ถอื สบื ค้นขอ้ มลู 413108-60 สุขภาพจติ - นักศึกษายังขาด - ปรบั ปรงุ วิธีจดั การ ความเข้าใจในเน้ือหา เรยี นการสอน โดยเพมิ่ กรณีศึกษาหรือ การศึกษาดูงาน

55 413109-60 ประชากรศาสต - นักศกึ ษายังขาด - จดั กิจกรรมการเรยี น รฯ์ ทักษะในการทำงาน การสอนเพ่ือให้เกิดการ เปน็ ทมี ทำงานเป็นทีม 413121-60 การสื่อสารเพ่ือ - - จดั ทำตำราเพอื่ ใช้การ สขุ ภาพ เรียนการสอน 413213-60 อ าชี วอ น ามั ย - นักศกึ ษายงั ขาด - จัดกจิ กรรมศึกษาดู แ ล ะ ค ว า ม ความเข้าใจในการ งานด้านการจัดการ ปลอดภยั จัดการความปลอดภยั ความปลอดภัยในสถาน ในสถานประกอบการ ประกอบการ 413214-60 โรคติดต่อและ - นกั ศึกษาเข้าชน้ั - พัฒนาเร่ืองคุณธรรม 413215-60 โรคไม่ตดิ ต่อ เรียนและทำกจิ กรรม จรยิ ธรรม และความ รับผดิ ชอบของนกั ศึกษา ล่าชา้ - ปรับวิธีการจัดการ - ขาดการเชือ่ มโยง เรียนการสอน ความรรู้ ะหว่างหัวข้อ - นัดสอนชดเชย วิธีการทางสถิติ - มกี ารจดั กจิ กรรม ในงานวิจัยทาง นกั ศึกษาของคณะ/ สุขภาพ มหาวิทยาลัยตรงกับ ชวั่ โมงสอน 413222-60 เ ภ สั ช วิ ท ย า - นักศึกษาจำกลุม่ ยา - ปรบั ปรงุ วิธจี ดั การ 413223-60 เรียนการสอน เบอื้ งต้น และช่ือยาไม่ได้ - ปรับกจิ กรรมการเรียน 413314-60 การสอนให้มีความ ระบบ - กจิ กรรมการเรียน น่าสนใจมากข้ึน สารสนเทศเพ่ือ การสอนยังไม่ - จัดทำเอกสาร ประกอบการสอนให้ การจัดการ หลากหลายเทา่ ที่ควร ครบทุกหัวขอ้ สาธารณสุข การบริหารงาน - ควรจัดทำเอกสาร สาธารณสุข ประกอบการสอนให้ ครบทกุ หวั ขอ้ 413324-60 ก า ร ป ร ะ เมิ น - เนือ้ หารายวิชามาก - ปรบั เนื้อหาให้ 413325-60 ภ าวะสุ ข ภ าพ เกนิ ไป เหมาะสม และการบำบัด โรคผสู้ งู อายุ - เชิญวิทยากรมาให้ การดูแลสุขภาพ - นักศึกษายงั ขาด ความร้เู พม่ิ เติม ท่บี ้าน ทักษะในการดแู ล - บูรณาร่วมกับรายวชิ า การประเมินและบำบัด สขุ ภาพที่บ้าน

56 413326-60 ก า ร ใ ห้ - ตำราหรือเอกสาร โรคผ้สู งู อายุ เพอ่ื ให้ คำปรึกษาทาง ประกอบการสอนยงั ดแู ลนกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ัติ สาธารณสุข ไมส่ มบรู ณ์ ไดท้ ว่ั ถึง - ลงชมุ ชนเพ่อื ฝึก ปฏิบัตกิ ารดูแลสขุ ภาพ ท่บี ้านเพ่ิมข้ึน - จัดทำส่ือการเรียนการ สอนให้สมบูรณ์ 413327-60 ผู้ น ำ กั บ ก า ร - ปรับปรุงเน้อื หา - ปรับปรุงเน้ือหาและ พฒั นาสขุ ภาพ ตามสถานการณ์ สื่อการสอนให้มีความ ปจั จุบัน ทนั สมัย 413328-60 ก า ร สั ม ม น า - ปรับปรงุ เนือ้ หา/ - ปรับปรุงเน้ือหาและ สาธารณสขุ สอ่ื การสอนให้เป็นไป ส่ือการสอนให้มีความ ทนั สมัย ตามสถานการณ์ ปัจจุบนั 413214-60 โรคติดต่อและ - นักศกึ ษาเขา้ ชน้ั - พฒั นาเร่ืองคุณธรรม 413492-60 โรคไมต่ ิดต่อ เรียนและทำกิจกรรม จริยธรรม และความ ล่าช้า รับผดิ ชอบของนักศกึ ษา ก า ร ศึ ก ษ า - ขาดการเชือ่ มโยง - ปรบั วธิ กี ารจัดการ ค้นคว้าอิสระ ความร้รู ะหวา่ งหวั ขอ้ เรยี นการสอน - นกั ศกึ ษาดำเนินการ - ควรใหน้ ักศึกษาได้ วิจัยและสอบไม่ทัน พัฒนาโครงรา่ งงานวจิ ยั ตามกำหนด ตงั้ แต่เรยื นในชั้นปที ี่ 2 413493-60 การฝึก - - ประสบการณ์ วิชาชพี สาธารณสขุ Check: การประเมินกระบวนการ จากการประเมินระบบและกลไก พบว่าหลักสูตรมีปรับปรุงสาระรายวิชาเพื่อให้มี ความครอบคลุม ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น การนำกฎหมายฉบับล่าสุดที่ ประกาศใช้มาจัดการเรียนการสอน เป็นต้น รวมไปถึงการพัฒนาการเรียนการสอนให้ เหมาะกับผู้เรียนและสถานการณ์ปัจจุบัน นอกจากน้ันมีการบูรณาการระหว่างรายวิชา เพ่ือให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะที่หลากหลายและใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด เช่น รายวิชาการดูแลสุขภาพท่ีบ้านและรายวิชาการประเมินและบำบัดโรคผู้สูงอายุ ซึ่ง ทำให้นกั ศกึ ษาได้เข้าใจกระบวนการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายทุ ี่บา้ นมากขึ้น

57 การวางระบบผสู้ อนและ Act: การปรบั ปรุงพฒั นา กระบวนการจดั การเรียน หลักสูตรควรมีการประชุมเพื่อร่วมกันพิจารณาปรับปรุงสาระรายวิชา กิจกรรม การสอน การเรียนการสอนเพ่ือให้เกิดทันสมัยในปีการศึกษาหน้า นอกจากนี้หลักสูตรควรทำวิจัย (ตัวบ่งช้ี 5.2) เพื่อศึกษาความต้องการของตลาดแรงงานเพ่ือเป็นข้อมูลสนับสนุนในการป รับปรุง หลกั สูตรในปีการศึกษา 2565 ตอ่ ไป มผี ลการดำเนินงานในระดับ 3 เป้าหมาย: 1) อาจารย์ผ้สู อนทกุ คนมคี ุณสมบตั ติ รงตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2558 และตรงตามความเช่ียวชาญและคณุ วฒุ ทิ ่ีจบการศกึ ษา 2) คะแนนเฉลีย่ ผลประเมนิ ความพึงพอใจของนักศกึ ษาต่ออาจารย์ผสู้ อนแตล่ ะคน ไมน่ อ้ ยกว่า 3.51 ผลการดำเนนิ งาน 1. การกำหนดผูส้ อน หลักสูตรมีแนวทางในการกำหนดผู้สอน โดยพิจารณาจากความเช่ียวชาญ ภาระงานรวม จำนวนผสู้ อนในแต่ละรายวชิ า และแผนการเสนอขอตำแหน่งทางวชิ าการ Plan: การวางแผนการดำเนินงาน 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกันประชุมเพ่ือวางแผนแผนการเรียน ตลอดหลักสูตรของแต่ละปีการศึกษา และส่งให้แก่สำนักส่งเสริมวิชาการและงาน ทะเบียนกอ่ นเปดิ ภาคการศึกษาที่ 1 ในแต่ละปกี ารศึกษา 2. สำนักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียนรวบรวมและสรุปหมวดวิชาเฉพาะท่ี จะเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาของนักศึกษาช้ันปีต่าง ๆ และส่งแบบฟอร์มรายการ จัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แบบสรุปภาระการสอนอาจารย์ ในหลักสูตร (ทบ.3-1), แบบขอเปิดวิชาเลือกเสรี (ทบ.3-2), แบบขอจัดสอบนอกตาราง (ทบ.3-3) และแบบขอจัดสอบรายวิชาหลักสูตรเก่า – ใหม่ และจัดสอบ e - Testing (ทบ.3-4) ให้แกห่ ลักสตู รเพือ่ พจิ ารณากำหนดผสู้ อน Do: ผลการดำเนินงาน 1. หลักสูตรจัดประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารย์ภายใน คณะเพื่อร่วมกำหนดผู้สอนและผู้รับผิดชอบในแต่ละรายวิชาของหมวดวิชาเฉพาะ โดย พิจารณาจากคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ความเชี่ยวชาญ ความชำนาญ ประสบการณ์การทำงาน ผลงานวิชาการ ซ่ึงในปี การศึกษา 2563 หลักสูตรยงั คงใช้แนวทางการพิจารณาการกำหนดอาจารยผ์ ู้สอนในแต่ รายวิชา ของทุกภาคการศึกษา ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2559 ซึ่งให้ข้อเสนอแนะ ว่าควรกำหนดอาจารย์ผู้สอนไม่เกิน 2 คน ต่อ 1 รายวิชา เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ การเรียนของนักศึกษา นอกจากนี้ ในการกำหนดอาจารยผ์ ู้สอนน้ัน หลักสูตรจะกำหนด ภาระงานสอนให้เปน็ ไปตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรือ่ ง เกณฑ์ภาระ งานและมาตรฐานภาระงานของคณาจารยป์ ระจำ พ.ศ. 2559 ซ่งึ มีเกณฑ์ภาระงาน ดงั น้ี

58 - คณาจารย์ซ่ึงดำรงตำแหน่งทางวิชาการและไม่ได้ดำรงตำแหน่งประเภท บรหิ าร (1) กรณีเน้นภาระงานสอน ภาระงานสอนไม่นอ้ ยกวา่ 14 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์ (2) กรณเี นน้ ภาระงานวจิ ัยและงานวิชาการอื่น ภาระงานสอนไมน่ ้อยกวา่ 5 ชัว่ โมงตอ่ สัปดาห์ - คณาจารย์ซ่ึงดำรงตำแหน่งทางวชิ าการและดำรงตำแหนง่ ประเภทผู้บริหาร เวน้ แตผ่ ้ดู ำรงตำแหน่งอธกิ ารบดี ภาระงานสอน งานวิจัยและงานวิชาการอ่ืนๆ งานบริการวิชาการ งานทำนุบำรงุ ศิลปวัฒนธรรม ไมน่ อ้ ยกว่า 7 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ ท้ังน้ี หลักสูตรจัดประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารย์ ภายในคณะเพื่อกำหนดผู้สอนรายวิชาที่เปิดสอนในภาคเรียนท่ี 1/2563 และภาค การศึกษาที่ 2/2563 ณ ห้องประชุม 2 อาคาร 38 ช้ัน 3 โดยมรี ายวิชาที่เปิดสอนในภาค การศึกษาที่ 1 จำนวน 20 รายวิชา ภาคการศึกษาท่ี 2 จำนวน 22 รายวิชา รวมเป็น 42 รายวิชาที่เปิดสอน และเกณฑ์ภาระงานสอนของคณาจารย์ทุกท่านเป็นไปตามประกาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยในปีการศึกษา 2563 มีการกำหนดผู้สอนในภาค การศึกษาท่ี 1 จำนวนอาจารย์ผู้สอน 16 คน และภาคการศึกษาท่ี 2 จำนวนอาจารย์ ผู้สอน 17 คน โดยกำหนดให้อาจารย์แต่ละคนสอนโดยเฉลี่ย 2-3 รายวิชา ภาระงานรวม โดยเฉล่ีย 8 – 14 คาบ/สัปดาห์ ทั้งน้ี หลักสูตรได้รับจัดสรรงบประมาณให้กับรายวิชา เพอื่ วิทยากรจากภายนอกมาบรรยายพเิ ศษ รายวชิ าละไม่เกนิ 1,800 บาท สำหรับรายวิชาโครงงานของหลักสูตร ซ่ึงก็คือรายวิชา 413492 การศึกษา ค้นคว้าอิสระ โดยจัดการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษาช้ันปีท่ี 4 จำนวน 73 คน ในภาค การศึกษาท่ี 1/2563 โดยกำหนดให้นกั ศกึ ษาทำวิจัยจากประเด็นดา้ นปญั หาสาธารณสุข ตามบริบทของแต่ละชุมชนร่วมกันเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน ตามความสนใจของ นักศึกษา ภายใต้แผนการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา คือ อ. นรา ระวาดชยั และมีอาจารย์ภายในคณะทำหนา้ ทเ่ี ป็นอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาประจำกลุ่มวจิ ัย โดยอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาประจำกลมุ่ วจิ ัย ดูแลนกั ศกึ ษาไมเ่ กินคนละ 2 กลุ่ม 2. หลักสูตรดำเนินการจัดส่งรายการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) และเอกสารท่ี เกี่ยวข้อง เสนอฝ่ายวิชาการของคณะตรวจสอบน้ัน สรุปรายละเอียดผู้สอนในแต่ละ รายวิชา ก่อนเวลาท่ีสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนกำหนดให้ส่งเป็นระยะเวลา 2 วัน เพ่ือให้เอกสารได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดและส่งถึงสำนักส่งเสริมวิชาการ และงานทะเบยี นตรงตามเวลาท่กี ำหนด 3. คณะตรวจสอบรายการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) และเอกสารที่เก่ียวข้อง โดยผ่านความเห็นชอบของรองคณบดีฝ่ายจัดการศึกษาและคณบดี และส่งเอกสารคืน กลับให้แก่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนเพื่อรวบรวมข้อมูล จัดทำตารางเรียน สำหรับนักศึกษา และตารางสอนสำหรับผู้สอน และเผยแพร่ข้อมูลในระบบบริการ การศึกษาของมหาวทิ ยาลัย (https://reg.nrru.ac.th) ก่อนเปดิ ภาคการศกึ ษา 4. หลักสูตรตรวจสอบความถูกต้องของตารางเรียน จำนวนหมู่เรียนของ

59 รายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษากับอาจารย์ผู้สอน หากมีความคลาดเคลื่อน เกิดขึ้นอาจารย์ผู้สอนดำเนินการแจ้งประสานมายังประธานหลักสูตร จากน้ันประธาน ห ลัก สู ต รแ จ้ งป ระส าน กั บ ส ำนั ก ส่งเส ริม วิช าก ารแ ละ งาน ท ะ เบี ยน เพื่ อ แก้ ไข ค วาม คลาดเคล่ือนดังกล่าว 5. ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน ดังเอกสารที่แสดงใน http://reg.nrru.ac.th/registrar/class_info.asp?avs164839402=1 Check: การประเมินกระบวนการ ในปีการศึกษา 2563 จากการประเมินกระบวนการที่วางไว้พบว่าเป็นไปตาม ระบบกลไกที่กำหนดไว้ โดยการพิจารณาผู้สอนทค่ี ำนึงถึงความเช่ียวชาญในเน้อื หาท่ีสอน Act: การปรบั ปรงุ พฒั นา ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ชุ ม ท บ ท ว น ผ ล ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ต า ม กระบวนการการกำหนดผู้สอนโดยนำผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำ หลักสูตรต่อการกำหนดผู้สอนมาร่วมพิจารณา และนำการทบทวนการดำเนินงานมา พัฒนาและปรบั ปรุงกระบวนการการกำหนดผสู้ อนในภาคการศกึ ษาตอ่ ไป 2. การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 มีผลการ ดำเนินงาน ดังน้ี หลักสูตรมีการกำหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 ในแต่ละ รายวิชาร่วมไปพร้อมกับการกำหนดอาจารย์ผู้สอนแต่ละภาคการศึกษา โดยหลักสูตรมี การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 ซ่ึงมีระบบและกลไก ดังน้ี Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน 1) สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนรวบรวมและสรุปรายวิชาที่จะเปิด สอนในแต่ละภาคการศึกษา ของนักศึกษาชั้นปีต่าง ๆ และสง่ แบบฟอรม์ รายการจัดสอน จดั สอบ (ทบ.3) และเอกสารที่เก่ียวขอ้ งใหแ้ ก่หลกั สตู รเพอ่ื พจิ ารณากำหนดผู้สอน 2) ประธานหลักสูตรสรุปรายวิชาที่เปิดสอนในภาคการศึกษานั้น เพ่ือรวบรวม รายละเอียดเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารย์ภายในคณะเพื่อ กำหนดผ้รู บั ผิดชอบรายวชิ าและผู้สอนในแตล่ ะรายวิชา Do: ผลการดำเนนิ งาน 1) หลักสูตรจัดประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารย์ภายใน คณะเพื่อร่วมกำหนดผู้สอนและผู้รับผิดชอบประจำรายวิชา โดยหลักสูตรกำหนดให้ ผู้รับผิดชอบรายวิชาส่ง มคอ.3 และ มคอ.4 ก่อนเปิดภาคการศึกษา 2 สัปดาห์ ตาม ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เร่ือง ปฏิทินการนําส่งแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 ประจําภาคการศึกษา โดยคณะกรรมการหลักสูตรร่วมกัน พิจารณาให้อาจารย์ฐิติมา โพธ์ิชัย ประธานหลักสูตรเป็นผู้กำกับติดตาม มคอ. และผศ. ดร.ปารฉิ ัตร เกดิ จนั ทกึ เป็นผู้รวบรวมและตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสาร 2) ผู้รับผิดชอบรายวิชากับอาจารย์ผู้สอนร่วมกันจัดทำ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 และนำส่งแบบรายงานถึงหลักสูตร ตามประกาศมหาวิทยาลัย เรือ่ ง ปฏิทิน

60 การนําส่งแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 ประจําภาคการศึกษา ปี การศึกษา 2563 รายละเอียดดงั นี้ ภาคการศึกษาที่ 1 - มคอ.3 ใหส้ ง่ แบบรายงานกอ่ นเปิดภาคการศกึ ษา 1 สปั ดาห์ ภายในวนั ที่ วันท่ี 24 มิถุนายน 2563 - มคอ.4 ใหส้ ่งแบบรายงานก่อนเปิดภาคการศกึ ษา 2 สัปดาห์ ภายในวนั ท่ี 17 มิถุนายน 2563 - มคอ.5,6 ให้ส่งแบบรายงานภายใน 14 วัน นับจากวันส่งผลการเรียน ภายในวันท่ี 28 พฤศจิกายน 2563 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 - มคอ.3 ใหส้ ่งแบบรายงานกอ่ นเปดิ ภาคการศึกษา 1 สัปดาห์ ภายในวันท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2563 - มคอ.4 ให้ส่งแบบรายงานกอ่ นเปดิ ภาคการศกึ ษา 2 สัปดาห์ ภายในวนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2563 - มคอ.5,6 ให้ส่งแบบรายงานภายใน 14 วัน นับจากวันส่งผลการเรียน ภายในวนั ท่ี 5 พฤษภาคม 2563 โดยผศ.ดร.ปาริฉัตร เกิดจันทึก เป็นผู้รวบรวมและตรวจสอบความครบถ้วน ของแบบรายงาน เพื่อเตรียมนำเอกสารเข้าสู่กระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิทางการ ศึกษาของรายวิชาลำดบั ต่อไป 3) ประธานหลักสูตรลงนามและส่งมอบให้แก่คณะ ตามประกาศมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา เร่ือง ปฏิทินการนําส่งแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 ประจําภาคการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ตามกำหนดท่กี ลา่ วมาข้างตน้ 4) เปิดภาคการศึกษาอาจารย์ผู้สอนช้ีแจงประมวลการสอนรายวิชาให้ นักศกึ ษาทราบ และดำเนินการจัดการเรยี นการสอนตามแผนการสอน Check: การประเมนิ กระบวนการ จากการทบทวนระบบและกลไก พบว่า หลักสูตรได้มีระบบและกลไกในการ ติดตาม มคอ. ให้เป็นไปตามกำหนดเวลา แต่อย่างไรก็ตามยังมีบางรายวิชาที่ส่ง มคอ. ล่าช้ากว่ากำหนด โดยถ้ามีการส่งช้า หลักสูตรได้แจ้งติดตามการส่ง มคอ.อีกครั้ง และนำ ข้อมูลมาประกอบการพิจารณาตามเกณฑ์การประเมินเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนในภาค การศึกษานั้นๆ โดยในภาคการศึกษาท่ี 2563 การติดตาม มคอ.5,6 ล่าช้ากว่าปฏิทิน การศึกษา ท้ังนี้เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ทำให้มหาวิทยาลัยมี คำสั่งปิดมหาวิทยาลัยและเลื่อนการสอบปลายภาคออกไปก่อน ทำให้การจัดทำ มคอ. 5,6 ไมเ่ ปน็ ไปตามกำหนด ในการกำกับติดตามการดำเนินการสอนให้เป็นไปตาม มคอ. ประธาน หลักสูตรเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเอง เชน่ การสมั ภาษณ์ตัวแทนนกั ศึกษา การสงั เกตการ สอน การพิจารณาจากข้อร้องเรียนของนักศึกษา เป็นต้น ซึ่งในปีการศึกษา 2563 ได้มี ระบบกลไกการพิจารณาข้อร้องเรียนของนักศึกษา โดยการนำเข้าท่ีประชุมหลักสูตร จากน้นั นำเข้าทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบริหารวชิ าการ เพือ่ ดำเนนิ การแกไ้ ขปัญหาตอ่ ไป นอกจากน้ัน หลักสูตรได้กำกับติดตามการจัดการเรียนการสอนในช่วง สถานการณ์การระบาดของ COVID-19 โดยให้คณาจารย์จัดทำแผนการปฏิบัติงานและ

61 การสอบปลายภาคถึงหลักสูตร รวมไปถึงรายงานผลการปฏิบัติงานและการจัดสอบ ปลายภาค โดยมีรายละเอียดของการปฏิบัติงาน วิธีการจัดสอบ ปัญหา อุปสรรคท่ีพบ ซ่ึงหลักสูตรได้จัดทำสรปุ รายงานแจ้งตอ่ คณะ Act: การปรบั ปรงุ พฒั นา ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรจะร่วมกันหาแนวทางในการรวบรวมและกำกับ ตดิ ตามการจัดทำและส่ง มคอ. ให้ตรงตามกำหนด รวมไปถึงการจัดการเรียนการสอนให้ เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ใน มคอ. 3. การจัดการเรยี นการสอนในระดับปริญญาตรีท่มี ีการบูรณาการกับพันธกิจอน่ื หลกั สตู รได้สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การบูรณาการระหวา่ งรายวิชากับพนั ธกิจอน่ื ๆ โดย รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนของหลักสูตรมีการบูรณาการกับพันธกิจด้านการวิจัย และการบริการวิชาการ โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ดงั นี้ 3.1 ดา้ นการวิจยั รายวิชา (รหสั วิชา/ช่อื วิชา) กจิ กรรม ผลทีเ่ กดิ กับนักศึกษา 413329 การศึกษาค้นคว้า แบ่งกลุ่มนกั ศกึ ษา นกั ศึกษาได้เรยี นรู้ อสิ ระ กลมุ่ ละ 2-3 คน ทำ กระบวนการวจิ ยั โดย วจิ ยั ร่วมกันใน ผลงานวจิ ัยของนกั ศกึ ษา ประเด็นปัญหา อ.ทป่ี รกึ ษาเป็นผู้พจิ ารณา สาธารณสขุ ตาม ในการตีพิมพเ์ ผยแพร่สู่ บรบิ ทของแต่ละ สาธารณะต่อไป ชุมชน 3.2 ดา้ นการบรกิ ารวิชาการ รายวชิ า (รหัสวิชา/ชอ่ื วชิ า) กจิ กรรม ผลท่ีเกิดกบั นกั ศึกษา 413211 การอนามัยโรงเรียน แบง่ กลุ่มนักศกึ ษาใน นกั ศกึ ษาไดเ้ รียนรกู้ าร การสำรวจปัญหา วิชาการและบรกิ ารดา้ น เกบ็ ข้อมลู และ อนามยั ส่งิ แวดล้อมใหก้ บั วิเคราะหส์ ถานการณ์ ชุมชนในเขตอำเภอเมอื ง ดา้ นการจัดการ จงั หวดั นครราชสีมา โดย สง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน ให้นกั ศึกษาลงพ้ืนที่เพ่ือ ทำการสำรวจปญั หา เกบ็ ข้อมลู และวิเคราะห์ สถานการณ์ด้านการ จดั การสง่ิ แวดล้อมใน

62 ชมุ ชน คะแนนความพึง พอใจของผเู้ ข้าร่วม กิจกรรมอยู่ในระดับมาก 413221 การอนามัยโรงเรยี น แบง่ กลุ่มนกั ศกึ ษาใน นกั ศึกษาได้เรียนรู้การ การการสำรวจและ บริการวิชาการด้าน เกบ็ ขอ้ มูล ปญั หา อนามัยโรงเรยี น ไดแ้ ก่ สุขภาพนกั เรียนจาก การสำรวจปญั หา เก็บ การตรวจสขุ ภาพ 10 ขอ้ มลู การวิเคราะห์ ทา่ และสิ่งแวดล้อมใน ขอ้ มลู สขุ ภาพนักเรียน โรงเรียน การ และการใหส้ ขุ ศกึ ษาใน วเิ คราะหข์ ้อมูล โรงเรียน คะแนนความพงึ สุขภาพนกั เรียนและ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วม การใหส้ ขุ ศกึ ษาใน กจิ กรรมอยู่ในระดับมาก โรงเรียน นักศึกษาไดใ้ ช้องค์ความรู้ 413321 การพัฒนาสุขภาพ แบ่งกลุ่มนกั ศกึ ษาใน ในการพฒั นาสขุ ภาพ ชุมชน การการสำรวจและ ชุมชน โดยการฝึก ปฏิบตั กิ ารวินจิ ฉัยชมุ ชน เก็บขอ้ มูลปญั หา การทำประชาคม และ สุขภาพของคนใน การวางแผนการพฒั นา ชมุ ชน ฝึกปฏบิ ตั ิการ สุขภาพชุมชน คะแนน วินจิ ฉยั ชมุ ชน การทำ ความพงึ พอใจของ ประชาคม และการ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมอยู่ใน วางแผนการพฒั นา ระดบั มาก สุขภาพชุมชน 3.3 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม รายวชิ า (รหัสวิชา/ชอ่ื วิชา) กิจกรรม ผลท่เี กดิ กับนกั ศึกษา 413493 การฝึก นกั ศกึ ษาประยกุ ต์ นักศึกษามีความรู้ความ ประสบการณว์ ชิ าชพี องค์ความรดู้ ้านการ เข้าใจเกยี่ วกับการใช้ภูมิ สาธารณสขุ ดูแลสุขภาพทางเลอื ก ปัญญาพน้ื บ้านและ ในการป้องกันและ สมนุ ไพรพื้นบา้ นในการ ควบคมุ โรค NCD โดย ดแู ลสขุ ภาพ ใชภ้ ูมิปัญญาพ้นื บา้ น เชน่ สมนุ ไพร การ นวดฝ่าเท้าดว้ ยกะลา

63 การกัวซา เปน็ ต้น ใน การจัดทำโครงการ เพื่อพฒั นาสขุ ภาพใน ชมุ ชน 4. การกำกบั กระบวนการสอน หลักสูตรมีการกำกับกระบวนการสอนโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของคณะ ตามคำสั่งแต่งคณะสาธารณสุขศาสตร์ เร่ือง แต่งต้ัง คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา ซ่ึงคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ ทางการศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ผู้ทรงคุณวุฒินอกสาขาวิชา และท่ีปรึกษา ร่วมกันพิจารณากำกับกระบวนการสอนและเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ มคอ.3, มคอ.4, มคอ. 5 มคอ.6 และตารางวิเคราะหก์ ารออกข้อสอบ (Test Blueprint) คุณภาพ/ความเหมาะสม ผูก้ ำกบั ติดตาม วิธีการ โครงการทวนสอบ 1. แผนการสอน คณะกรรมการทวน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการศึกษา ครงั้ ที่ ดำเนนิ การคดั เลอื ก 2 . ก ารแ บ่ งน้ ำห นั ก ก า ร สอบผลสมั ฤทธิ์ รายวิชาทจี่ ัดการเรียน การสอนในภาคการศกึ ษา ประเมนิ ผลในแตล่ ะโดเมน ทางการศึกษา ที่ 1/2563 และ 2/2563 3. วิธีการประเมินผลของแต่ ทจ่ี ะดำเนนิ การทวน สอบผลสัมฤทธ์ิทางการ ละโดเมน ศกึ ษา ประจำปีการศึกษา 2563 4. การทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ 5. การจัดการเรยี นการสอนทม่ี กี ารฝึกปฏบิ ัติ ในระดับปรญิ ญาตรี มผี ลการดำเนนิ งาน ดังนี้ หลักสูตรการจดั การเรียนการสอนรายวิชาที่มีการฝกึ ปฏิบัติ จำนวน 3 รายวิชา ไดแ้ ก่ รายวิชา 413422 การฝึกปฏิบัติการบริการปฐมภูมิ 2 หน่วยกิต รายวิชา 413423 การฝึกปฏิบัติการพัฒนา สุขภาพชุมชน 2 หน่วยกิต และรายวิชา 413411 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข 3 หน่วย กิต รวมทัง้ หมดจำนวน 7 หน่วยกิต ซ่ึงจดั การเรยี นการสอนให้แก่นักศกึ ษาชน้ั ปีที่ 4 จำนวน 73 คน โดยกำหนดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในบทบาทนักวิชาการสาธารณสุข มีผู้รับผิดชอบรายวิชา คือ ผศ.ธวัชชัย เอกสันติ และมีทีมคณาจารย์เป็นผู้นิเทศติดตามและประเมินผลการฝึกปฏิบัติงาน ร่วมกับอาจารย์พ่ีเล้ียงประจำแหล่งฝึก ทั้งนี้แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพท่ีให้ความอนุเคราะห์ พัฒนานักศึกษา ประกอบด้วย โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์การบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่น ซ่ึงตั้งอยู่ในเขตจังหวัดนครราชสีมา

การประเมนิ ผ้เู รียน 64 (ตัวบ่งชี้ 5.3) และจังหวัดใกล้เคียง โดยความร่วมมือทางวิชาการ(MOU)กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นครราชสีมา เพ่ือพิจารณามาตรฐานและความพร้อมของแหล่งฝึกท่ีเหมาะสมสำหรับการฝึก ประสบการณ์ของนักศึกษา ลักษณะงานท่ีมอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ได้แก่ การบำบัดโรคเบ้ืองต้น การวางแผน ครอบครัว การดูแลสุขภาพที่บ้าน การให้สุขศึกษา งานระบาดวิทยาและการควบคุมโรค การศึกษา ชมุ ชน และจัดทำโครงการพัฒนาสุขภาพชุมชน เป็นตน้ มีการดำเนินงานดงั นี้ (1) การปฐมนเิ ทศนักศึกษาและอาจารยพ์ ่ีเล้ียง ก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสขุ โดย มที ้งั แบบ On Site และ On line ผา่ นระบบ Zoom หรือ Google meet (2) การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพสาธารณสุข ณ แหลง่ ฝกึ แบง่ การฝึกออกเป็น 3 ผลัด ดงั น้ี - ผลดั ที่ 1 การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารบรกิ ารปฐมภูมิ - ผลดั ที่ 2 การฝึกปฏบิ ัติการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน - ผลดั ที่ 3 การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพสาธารณสุข ทั้งนี้ ระหว่างท่ีนักศึกษาดำเนินการฝึกประสบการณ์ฯ หลักสูตรได้กำหนดข้อปฏิบัติของ นักศกึ ษาฝึกประสบการณฯ์ เพ่อื ให้เป็นไปตามมาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโค โรนา 2019 (CoVid-19) โดยมีหนังสือแจ้งไปยังแหล่งฝึก นักศึกษา ผู้ปกครอง ท้ังน้ี นักศึกษาสามารถ แจ้งความประสงคท์ ่จี ะยตุ ิการฝึกได้ตลอดชว่ งเวลาการฝกึ หรอื อย่ใู นดุลพินจิ ของอาจารยพ์ ี่เล้ยี ง ทจี่ ะ มอบหมายงานใหเ้ หมาะสม ท้ังน้ีคำนึงถงึ ความปลอดภยั ของนกั ศกึ ษาเป็นหลกั (3) การนำเสนอผลการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษา เพ่ือนำเสนอผลการฝึกฯ หลังเสร็จสิ้น กระบวนการฝึกในแต่ล่ะผลัด ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยมีคณะกรรมการร่วม ตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจของนักศึกษาตามบริบทงานที่ได้รบั มอบหมาย พร้อมทง้ั ให้ขอ้ เสนอแนะ ในการปฏิบัตงิ านซ่ึงได้แก่ อาจารยน์ ิเทศประจำกลุ่ม และคณะกรรมการสอบรว่ มซง่ึ เป็นอาจารยค์ ณะ สาธารณสุขศาสตร์ รว่ มกันประเมินผลการนำเสนอของนกั ศกึ ษา (4) เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการฝึกประสบการณ์ ผลประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาธารณสุขโดยพ่ีเล้ียงประจำแหล่งฝึกมีระดับความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมี ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ นักศึกษาบางส่วนยังขาดการเตรียมความพร้อมองค์ความรู้ด้านวิชาการ บำบัดรักษาโรคเบอื้ งตน้ และอยากให้ส่งนักศึกษามาฝึกงานอยา่ งต่อเน่ือง ด้านผลการประเมินการฝึก ประสบการณ์วชิ าชีพสาธารณสุขโดยนักศกึ ษา ระดับความพึงพอใจ โดยภาพรวม มีคะแนนเฉลี่ย 4.54 อยใู่ นระดบั ดีมาก และมีขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม คือ ควรเพมิ่ ระยะเวลาการฝึกใหม้ ากกว่าน้ี มผี ลการดำเนินงานในระดบั 3 1. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ปีการศึกษา 2563 มีผลการ ดำเนนิ งาน ดงั น้ี เป้าหมาย: 1. ทุกรายวิชาในหลักสูตรมีการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ เป็นไปตามการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 2. รายวิชาในหลกั สตู รมีการประเมนิ ผลการเรียนรู้สอดคล้องและ ครอบคลมุ ตามจดุ เนน้ ของรายวิชา 3. การออกแบบการเรยี นและการประเมินผลรายวิชาในหลักสตู รมาจาก การมีส่วนรว่ มของนักศกึ ษา

65 Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน 1. ก่อนเปิดภาคเรียน หลกั สูตรจัดประชมุ ช้แี จงให้อาจารย์ผูส้ อนทุกทา่ นจดั ทำ แผนการเรยี นรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) ของแต่ละรายวิชาซง่ึ จะตอ้ งจัดการเรยี นรู้และ ประเมินผลการเรยี นร้ใู ห้เป็นไปตามความรับผิดชอบของรายวิชาที่กำหนดไว้ ใน Curriculum mapping ของหลักสูตรใน มคอ.2 2. อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผูส้ อนจดั ทำ มคอ.3 และ มคอ. 4 โดยออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการประเมินผลการเรียนร้ใู นแตล่ ะมาตรฐานตาม วัตถปุ ระสงคข์ องรายวิชา 3. อาจารย์ผู้สอนออกแบบกิจกรรมและสรา้ งเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมินผล การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาตามสภาพจริงโดยใช้เครอื่ งมอื ที่มคี วามหลากหลายและปรับปรุง จากผลการประเมนิ ทร่ี ะบุไวใ้ น มคอ.5 และ มคอ.6 4. ประธานหลักสูตรตรวจสอบแผนการจดั การเรียนรู้ และตดิ ตามการส่ง มคอ. 3 และ มคอ.4 ทุกรายวชิ าตามกำหนด 5. อาจารย์ผู้สอนทำการช้ีแจงรายละเอียดรายวชิ า/เกณฑ์การประเมิน/ เครอื่ งมอื ในการประเมินหรือการวดั ผล ฯลฯ ใหน้ ักศึกษาทราบและมสี ว่ นร่วม โดย อาจารย์และนกั ศกึ ษารว่ มกำหนดวิธแี ละเคร่อื งมือการประเมนิ หากมกี ารเปล่ียนแปลง ข้อตกลง ให้นำมาปรับแก้ไขใน มคอ.3 และ มคอ.4 6. ระหว่างภาคการศึกษาอาจารยผ์ สุ้ อนมีการดำเนินการสอนตาม มคอ.3 และ มคอ.4 7. อาจารย์ประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์การเรยี นรขู้ องนักศกึ ษาตามกรอบมาตรฐาน คุณวฒุ ทิ ้ัง 6 โดเมน โดยเทยี บกบั เกณฑท์ ต่ี ัง้ ไว้ 8. นักศึกษาประเมินตนเองตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิทงั้ 6 โดเมน 9. อาจารยผ์ ้สู อนจดั ทำผลการดำเนินงานรายวชิ า มคอ.5 และ มคอ.6 โดยมี การวเิ คราะห์ผลการเรียนรแู้ ละพิจารณารายวิชาทน่ี กั ศึกษามผี ลการเรยี นผิดปกติ ตลอดจนปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนจากการจดั การเรียนการสอน เพอ่ื วเิ คราะห์หาสาเหตุและ แนวทางปรบั ปรงุ แกไ้ ข 10. อาจารยผ์ ู้สอนสง่ รายงานผลการดำเนนิ งานรายวชิ า ทัง้ มคอ.5 และ มคอ. 6 ใหก้ บั ผปู้ ระสานท่หี ลักสตู รมอบหมาย รวบรวมส่งใหป้ ระธานหลกั สูตร ตรวจสอบและ ลงนามภายใน 30 วันหลงั เสรจ็ ส้ินปกี ารศกึ ษา 11. อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรประชมุ เพ่อื สรุปปัญหาในการจดั การเรยี น การสอนประจำภาคการศกึ ษาและจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร มคอ. 7 ภายใน 60 วัน หลังหมดภาคการศึกษา Do: ผลการดำเนนิ งาน ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) ที่กำหนดตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ (TQF) ของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ทีร่ ะบไุ ว้ใน มคอ.2 ท้ังหมด 6 ด้าน ดงั น้ี

66 ดา้ น วธิ ีการสอน/การจัดการ วิธีวดั และ 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เรยี นรู้ ประเมนิ ผล 2. ความรู้ - สอดแทรกเน้ือหา - ประเมนิ จาก เกี่ยวกับคณุ ธรรม การเขา้ ช้ันเรียน จริยธรรม จรรยาบรรณ และการสง่ งาน ทางวชิ าการและวชิ าชีพ ตรงเวลา ในการสอน - สังเกต - ปลกู ฝงั ให้นกั ศกึ ษามี พฤติกรรมของ ระเบียบวินัย เน้นการ นกั ศึกษาในการ เขา้ ชนั้ เรยี นและส่งงาน ปฏิบตั ิตาม ตรงเวลา การแต่งกายให้ กฎระเบียบ เป็นไปตามระเบียบของ และข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลัย - ประเมิน - จัดกจิ กรรมเสริม ปรมิ าณการ หลกั สตู รเพื่อเปดิ โอกาส ทุจริตในการ ให้นักศึกษาการ สอบการไม่ แสดงออกถึงความ คดั ลอกผลงาน เสียสละ จิตอาสา และ และการอ้างอิง การบำเพญ็ ประโยชน์ - ประเมินผลจาก - ยกตัวอย่างกรณีศกึ ษาท่ี กรณีศึกษา เก่ียวข้องกับประเดน็ และการแสดง ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ความคิดเหน็ จรรยาบรรณทาง ของนกั ศกึ ษา วชิ าการหรอื วชิ าชีพ ในกรณตี ัวอยา่ ง พรอ้ มทง้ั อภปิ รายในช้ัน ท่เี ก่ียวข้องกับ เรียน คุณธรรม - การปฏบิ ัตติ นให้เปน็ จริยธรรม แบบอยา่ งในเร่ืองของ การตรงต่อเวลา - จัดรูปแบบการสอนท่ี - ประเมินจาก หลากหลาย เชน่ การ แบบทดสอบ บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ไดแ้ ก่ การ การสาธติ การฝึกปฏิบตั ิ ทดสอบย่อย สถานการณจ์ ำลอง สอบกลางภาค - มอบหมายให้ทำรายงาน และสอบปลาย และนำเสนอหน้าชน้ั ภาค เรยี น - ประเมินจาก - จดั ให้มีการเรียนรู้จาก ชิ้นงานที่ได้รบั

67 - สถานการณจ์ รงิ หรือจาก - มอบหมาย ผู้มปี ระสบการณต์ รง - ประเมินจาก 3. ทักษะทางปญั ญา - โดยการศกึ ษาดงู าน การ - โครงการ ฝกึ ประสบการณ์ หรอื รายงานท่ี - เชิญวทิ ยากรมาบรรยาย - นำเสนอ - ให้นักศกึ ษาจัดกจิ กรรม - ประเมินผลจาก หรือโครงการ โดยนำ - การฝกึ - หลกั การทางทฤษฎีมา - ประสบการณ์ ประยกุ ต์ใช้ วชิ าชพี - ใช้กรณศี ึกษา ให้ ประเมนิ จาก นกั ศึกษาคน้ คว้า มีการ แบบทดสอบ 4. ทักษะความสัมพันธ์ - อภปิ รายเกี่ยวกับ ได้แก่ การ ระหว่างบุคคลและความ ประเดน็ ตา่ ง ๆ และ ทดสอบยอ่ ย รบั ผดิ ชอบ ร่วมกันสรปุ ประเด็น สอบกลางภาค สำคัญของการเรยี น และสอบ - มอบหมายงานศึกษา ปลายภาค คน้ คว้าอสิ ระ โดยใช้ - หลกั การวจิ ยั ประเมินจาก มอบหมายใหม้ ี ชิน้ งานที่ได้รับ การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ย มอบหมาย ตนเอง การจัดทำ ประเมนิ จาก รายงาน และการ แผนปฏิบัติ นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น การ/รายงานท่ี มอบหมายงานให้ นำเสนอ นักศึกษาไดเ้ ขยี น ประเมนิ ผลจาก แผนปฏบิ ัติการแก้ไข การฝึก ปญั หาสุขภาพ ประสบการณ์ ให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ัตกิ าร วชิ าชีพ จากสถานการณจ์ รงิ กำหนดการทำงานกลมุ่ ประเมนิ โดยให้หมุนเวียนการ พฤตกิ รรม เปน็ ผนู้ ำและการเป็น ภาวะการเป็น สมาชกิ กลมุ่ ผูน้ ำและผู้ การมอบหมายงานที่มี ตามทดี่ ี ติดตาม การหาข้อมลู จากการ การทำงาน สัมภาษณบ์ คุ คลอนื่ หรือ ร่วมกับสมาชิก ผ้ทู ีม่ ีประสบการณ์ กลุ่มของ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ นักศกึ ษาเปน็

68 ภาคปฏบิ ตั ิที่ส่งเสริมการ ระยะ พร้อม ทำงานเป็นทีม บนั ทกึ พฤตกิ รรม - ประเมนิ ผลจาก แบบประเมนิ - ตนเองและ กจิ กรรมกลุ่ม 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิง - สอนโดยใช้สอื่ นำเสนอที่ - ในประเด็นท่ี ตัวเลข การสื่อสารและการ นา่ สนใจ และเน้นการใช้ เก่ยี วกบั ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปฏสิ ัมพันธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ - การทำงานเป็น - มอบหมายงานที่มีการ ทมี และความ นำเสนอผลงานในช้นั รบั ผดิ ชอบต่อ - เรยี น หนา้ ท่ี แนะนำเทคนคิ การ ผลงานกล่มุ ท่ี - ไดร้ ับ สืบคน้ ข้อมลู และ มอบหมาย แหล่งขอ้ มูล รายงาน และ มอบหมายงานทมี่ กี าร การนำเสนอ สบื คน้ ข้อมลู โดย ผลงานในชน้ั เทคโนโลยสี ารสนเทศ มี เรยี น ผลการสบื ค้น การแปล - ขอ้ มูลด้วย เทคโนโลยี ผลขอ้ มูลท้งั เชิงปรมิ าณ สารสนเทศ และการ และคณุ ภาพและ นำเสนองาน โดยใช้ นำเสนอผลงาน เทคโนโลยี การทดสอบ ยอ่ ย สอบกลาง ภาค และสอบ ปลายภาค 6. ทักษะการปฏิบตั ิ - การสาธิต และฝึกปฏบิ ัติ - สังเกตและ ในห้องปฏิบัตกิ าร ประเมิน - การแสดงบทบาทสมมติ พฤติกรรมการ และการฝึกปฏิบัตใิ น ปฏบิ ตั งิ าน

69 สถานการณจ์ ำลอง - การประเมนิ - การฝกึ ประสบการณ์ใน ทักษะการ แหล่งฝกึ ปฏบิ ัตใิ น - การจดั กิจกรรมหรอื หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร โครงการพัฒนาสุขภาพ หรอื ในชุมชน สถานการณ์ จำลอง - การสอบ ภาคปฏิบตั ิ - ผลการดำเนิน กจิ กรรมหรอื โครงการ โดยหลักสูตรมีระบบและกลไกท่ีควบคุมให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิท้ัง 6 ด้าน ดังน้ี 1. ประธานหลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน เป็นผู้กำหนดค่าน้ำหนักคะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ และวธิ ีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยใชก้ ารประเมินตามสภาพจรงิ 2. หลักสูตรกำกับให้อาจารย์ผู้สอนพัฒนาและตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใช้ในการ ประเมินนักศึกษาให้เหมาะสม และกำกับให้รายวิชาท่ีมีหลายหมู่เรียนมีการประเมินผล การเรยี นท่ีมีมาตรฐานเดียวกนั 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาแจ้งรายละเอียดของวชิ า เกณฑก์ ารประเมินและ ขอ้ ตกลงร่วมกนั กับนักศกึ ษาให้นกั ศกึ ษาทราบ และมีสว่ นรว่ มในชั่วโมงแรกของรายวชิ า 4. อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยผู้สอนให้ครอบคลุม ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ 5. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ มคอ.5/ มคอ.6 แล้วส่งรายงานผลต่อ ประธานหลักสตู รและคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 6. หลกั สตู รจัดให้มกี ารทวนสอบรายวิชา หลังเสรจ็ สน้ิ ภาคการศกึ ษา 7. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชานำผลที่ได้จากการทวนสอบฯ ไปแก้ไข ปรับปรุง และพฒั นารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป Check: การประเมินกระบวนการ หลักสูตรทบทวนระบบและกลไก พบว่าผลจากการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิทางการ ศึกษา รายวิชาท่ีเปิดสอนในปีการศึกษา 2563 ได้จัดการเรียนรู้และประเมินผลการ เรียนรู้ตามการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานการเรยี นรู้ทรี่ ะบไุ วใ้ น มคอ.2 Act: การปรับปรงุ พัฒนา หลักสูตรจะจัดการประชุมเพ่ือพิจารณาผลการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ในปีการศึกษา 2564 เพ่ือให้อาจารย์ผู้สอนนำไปปรับในกระบวนการเรียนการสอนและ การประเมินผลให้สอดคล้องกบั Curriculum mapping ตอ่ ไป

70 2. การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องนักศึกษา มีผลการดำเนินงาน ดงั นี้ เป้าหมาย: 1. รายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2563 มีเกณฑ์การ ประเมินผลท่ีชัดเจน และมีการกระจายของผลการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมตามความสามารถ ของนักศึกษา Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน 1. หลักสูตรรวบรวมผลการเรียนของทุกรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริหารหลกั สตู ร 2. หลักสูตรเสนอผลการเรียนนักศึกษาต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารงาน วชิ าการคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 3. หลักสูตรแจ้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาที่จะทำการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของ นกั ศึกษาโดยทวนสอบหลังเสร็จสนิ้ ภาคการศึกษา ในการส่งเอกสารเพือ่ เข้ารับการทวน สอบผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา Do: ผลการดำเนินงาน ในปกี ารศกึ ษา 2563 มผี ลการดำเนินงาน ดงั นี้ 1. จากการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาพบว่า วิธีการ ประเมินผลของอาจารย์ส่วนใหญ่ใช้วิธีการอิงเกณฑ์ การกระจายของเกรดมีความ เหมาะสม ยกเว้นในบางรายวิชาท่ีมีผลการเรียนของนักศึกษาส่วนใหญ่คือเกรด A เกิน 50% เช่น วิชาประชากรศาสตร์และสถิติชีพ วิชาสัมมนาสาธารณสุข เป็นต้น และยัง รายวิชา 413329 การศึกษาค้นคว้าอิสระ ท่ีพบว่านักศึกษา 80% มีผลการเรียนไม่ผ่าน คือ ตดิ I ซ่งึ อาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบรายวิชาได้ทำการช้ีแจงสาเหตุให้ท่ีประชุมรบั ทราบ อัน เนื่องมาจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินการวิจัยได้ ตามแผน นอกจากนั้น ในรายวิชาท่ีนักศึกษามีระดับคะแนน F, M และ I ผู้รับผิดชอบ รายวิชาต้องทำการชี้แจงเหตุผลต่อท่ีประชุมเช่นเดียวกัน จากนั้นคณะกรรมการ เห็นชอบผลการเรียนตามท่ีผู้รับผิดชอบวิชาเสนอ และมีข้อเสนอแนะให้ปรับแก้ไข วิธีการตัดเกรด หรือวิธีการวัดและประเมินผล ให้มีการกระจายท่ีเหมาะสม และต้อง ผ่านการเห็นชอบจากที่ประชุม การพิจารณาให้เกรด I ต้องเป็นเหตุสุดวิสัยของ นักศึกษาเป็นรายๆ หลังจากน้ันคณบดีลงนามรับรอง และส่งผลการเรียนไปยังสำนัก ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อประกาศผลการเรียนของนักศึกษาผ่านระบบ บริการการศกึ ษา (ออนไลน์) ของมหาวทิ ยาลยั 2. หลักสูตรจัดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยคณะกรรมการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาซึ่งประกอบด้วยคณบดี รองคณบดีฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการเรียนรู้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และตัวแทนจากหลักสูตรอ่ืนมาร่วมกัน พิจารณาเคร่ืองมือและผลการเรียนรู้ในแต่ละภาคการศึกษา ซึ่งหลักสูตรได้มีการจัดทำ แผนการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิตามแผนการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาน้ันๆ โดย คัดเลือกรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 โดยไม่ให้รายวิชาซ้ำกัน ดังน้ันในรอบ 4 ปี การศึกษาทุกรายวิชาจะได้รับการทวนสอบครบทั้งร้อยละ 100 ซ่ึงในปีการศึกษาท่ี 2563 มีรายวิชาท่ีได้รับการทวนสอบจำนวน 11 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 26.19 เม่ือ วันท่ี 12 กรกฎาคม 2564 รายละเอียดการทวนสอบคือ มีการพิจารณาถึงความ

71 สอดคล้องกับ มคอ.2 ความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอน วิธีการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้เคร่ืองมือและดำเนินการตามข้ันตอนในคู่มือการบริหาร หลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552 มหาวิทยาลัย ราชภฏั นครราชสีมา Check: การประเมินกระบวนการ 1. จากการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ในส่วนของประชมุ เพอื่ พิจารณาผล การเรียนรู้ของนักศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารงานวิชาการของคณะสาธารณสุข ศาสตร์พบว่าได้ดำเนินการอย่างเหมาะสมแล้ว อย่างไรก็ตาม ยังพบรายวิชาท่ีมีการ กระจายเกรดไม่เหมาะสม ท่ีประชุมจึงมีข้อเสนอแนะให้อาจารย์ผู้สอนมีการปรับปรุง วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ให้เหมาะสม รวมไปถึงหลักสูตรมีการติดตาม กำกับการ ประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา และพิจารณาผลการเรียนก่อนเสนอต่อ คณะกรรมการบรหิ ารงานวชิ าการ สำหรับรายวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระที่พบว่านักศึกษาติด I จำนวนมาก สาเหตุ ส่วนหน่ึงมาจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ความล่าช้าจากการขอรับการ รับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ อุปสรรคในการเก็บข้อมูล ทำให้กระบวนการวิจัยใช้ เวลาเพ่มิ ข้ึน รวมไปถงึ การดำเนินการวิจยั ของนักศกึ ษาที่ไม่เป็นไปตามแผน 2. จากการประชุมทบทวนกระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา เห็นว่า ควรทำการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยวิธีการอ่ืนเพิ่มเติม เช่น การประเมิน ตนเองของนักศึกษา การสังเกตการสอน เป็นต้น เพ่ือให้ประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศึกษาได้อย่างรอบด้าน รวมไปถึงควรพิจารณาการทวนสอบในรายวิชาที่มีผู้สอนท่ีมี ความหลากหลาย Act: การปรบั ปรงุ พัฒนา 1. หลักสูตรจะประชมุ เพื่อหาแนวทางในการปรบั ปรงุ การจดั การเรียนการสอน เพ่ือให้นักศึกษาสามารถเรียนได้ทันตามกำหนดเวลา โดยเฉพาะในรายวิชาการศึกษา คน้ คว้าอสิ ระ 2. คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาร่วมกันจัดทำแผนการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษารายวิชา ในระยะเวลา 4 ปี ของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร บัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 เพ่ือให้มีการทวนสอบ ครบถ้วนทุกรายวิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงจะช่วยให้กระบวนการทวนสอบ ดำเนินไปตามแผนและเกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ 3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกันประชุมสรุปบทเรียนจากการทวนสอบ ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา เพื่อชี้แจงแนวทางในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา และแผนการทวนสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษารายวิชา ในระยะเวลา 4 ปี ของหลักสูตร รวมถึงข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่ได้จากการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา เพื่อ นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ในปีการศกึ ษา 2564 ตอ่ ไป 4. หลักสูตรจัดประชุมเพื่อกำกับ ติดตามการเรียนการสอนก่อนเปิดภาคการศึกษา ระหว่างการศึกษา และหลังภาคการศึกษา เพ่ือตรวจสอบการประเมินการเรียนรู้ของ นักศกึ ษาในปกี ารศึกษา 2564

72 3. การกำกับการประเมินการจดั การการเรยี นการสอน และประเมนิ หลกั สตู ร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) มีผลการดำเนินงาน ดังน้ี เปา้ หมาย: หลักสูตรมีการกำกบั การประเมินการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า Plan: การวางแผนการดำเนินงาน 1. ประธานหลกั สูตรกำกบั ให้อาจารย์ผสู้ อนมกี ารประเมินการเรียนการสอน และส่ง รายงานผลการเรียนภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด 2. ประชุมคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรเพื่อช้แี จงรายวิชาทเี่ ปิดสอนในปีการศกึ ษา 2561 กำหนดเวลาการจัดสง่ มคอ.5 และ มคอ.7 3. ประชมุ คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา เพือ่ กำหนดรายละเอยี ด ในการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ และการประเมินหลกั สูตร ดงั น้ี 3.1 กำหนดวัตถุประสงค์ในการทวนสอบ เพ่อื ประเมนิ ความสอดคล้องของการ จัดการเรยี นการสอนกับผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั และเนื้อหาของหลักสูตร ซึง่ แสดงใน มคอ.3 3.2 กำหนดหลกั เกณฑ์ วิธกี ารในการทวนสอบ และเอกสารท่ใี ชใ้ นการทวนสอบ 4. อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตรจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร มคอ. 7 ภายในสิ้นปกี ารศกึ ษา Do: ผลการดำเนนิ งาน ในปกี ารศึกษา 2563 มีผลการดำเนนิ งานในการประเมินการจัดการเรยี นการสอน และประเมินหลักสูตร ดังน้ี 1. อาจารย์ผู้สอนได้ส่งผลการเรียนภายในระยะเวลาท่ีกำหนด และจัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 ในแต่ละภาคการศึกษาครบทุกรายวิชา ทั้งน้ีเป็นไปตามคู่มือการจัดทำ มคอ. 3 – 7 ของสำนกั สง่ เสริมวิชาการและงานทะเบยี น การกำกบั ผูก้ ำกบั ติดตาม วิธีการ ระยะเวลา การประเมิน มคอ.5 ประธาน ประชุมเพื่อพิจารณาผล ภายใน 30 วนั หลกั สูตร การจัดการเรียนการสอน หลังส้ินภาค คณะกรรมการ และผลการเรียน รู้ของ การศกึ ษา ทวนสอบฯ นั กศึ กษ าตามที่ ระบุ ไว้ หลักสูตร รวมถึงปัญหา แ ล ะข้ อ เส น อ แ น ะ ข อ ง รายวชิ า มคอ.6 ประธาน ประชุมเพื่อพิจารณาผล ภายใน 30 วนั หลกั สตู ร การจัดการเรียนการสอน หลังสิน้ ภาค คณะกรรมการ และผลการเรียน รู้ขอ ง การศึกษา

73 ทวนสอบฯ นั กศึ กษ าตามท่ี ระบุ ไว้ หลักสูตร รวมถึงปัญหา แ ล ะข้ อ เส น อ แ น ะ ข อ ง รายวชิ า มคอ.7 คณบดี ประชุมเพ่ือพิจารณาผล ภายใน 60 วนั คณะกรรมการ การจัดการเรียนการสอน หลงั สิ้นสุดปี บรหิ ารวชิ าการ ข อ ง ทุ ก วิ ช า ใ น ห ลั ก สู ต ร การศึกษา ร ว ม ถึ ง ปั ญ ห า แ ล ะ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา หลกั สูตร 2. ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามแผน พบว่า รายวิชาส่วนใหญ่ได้จัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 และส่งตามกำหนดเวลา จากการทวน สอบในระดับรายวิชา พบว่า บางรายวิชามีความสอดคล้องและสะท้อนผลการเรียนรู้ที่ กำหนดใน มคอ.3 และสอดคล้องกับ มคอ. 2 โดยจากผลการทวนสอบพบว่า ทุก รายวิชาท่ีมีการทวนสอบมีสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ใน มคอ.2 และมีการ จดั การเรยี นการสอนเปน็ ไปตามแผนท่ีกำหนด 3. นำผลจากการทวนสอบที่ได้รวมท้ัง มคอ.5 และ มคอ.6 ในปีการศึกษา 2563 เสนอต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปรับปรุงสำหรับมาใช้ในการวางแผนปีการศึกษา 2563 และใช้พฒั นาหลกั สตู ร 4. ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพ่ือร่วมกันจัดทำการประเมินหลักสูตร มคอ.7 Check: การประเมนิ กระบวนการ จากการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร เพื่อทบทวนกระบวนการกำกบั การ ประเมนิ การจดั การเรียนการสอน พบวา่ หลกั สูตรควรมีการประชมุ เพื่อร่วมกนั พิจารณา เกณฑแ์ ละวิธกี ารประเมนิ ของผลรายวิชาให้สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ทีต่ อ้ งการ Act: การปรับปรงุ พัฒนา ในปกี ารศึกษา 2564 หลกั สูตรจดั ประชุมเพื่อกำกับติดตามการจดั การเรียนการ สอนให้เปน็ ไปตาม มคอ.2

74 2. การประเมนิ คณุ ภาพหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ฯิ (ตวั บง่ ช้ี 5.4) 2.1 ตัวบ่งช้ผี ลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ของหลักสตู ร ดัชนบี ่งช้ผี ลการดำเนินงาน 2560 2561 2562 2563 2564 (1) อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อ      วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดำเนนิ งานหลกั สตู ร (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน      คุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ หรือมาตรฐานคณุ วฒุ สิ าขา/สาขาวิชา (ถา้ มี) (3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)      ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค การศกึ ษาใหค้ รบทุกรายวชิ า (4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินงาน      ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสดุ ปีการศกึ ษา (5) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน      หลงั สน้ิ สุดปกี ารศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ท่กี ำหนดใน      มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ ละปกี ารศึกษา (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยทุ ธ์การสอน หรือการประเมินผล      การเรียนรู้จากผลการประเมนิ การดำเนนิ งานท่รี ายงานใน มคอ.7 ปที แ่ี ลว้ (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการ      เรียนการสอน (9) อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่าง      น้อยปีละ 1 ครง้ั (10) จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาทาง      วิชาการ และ/หรือวชิ าชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ตอ่ ปี (11) ระดบั ความพงึ พอใจของนักศกึ ษาปีสุดทา้ ย/บัณฑิตใหมท่ ีม่ ีตอ่ คุณภาพหลกั สูตร  เฉลย่ี ไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0 (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51  จากระดบั 5.0 รวมตัวบง่ ช้ที ่ีตอ้ งประเมิน 10 10 10 11 12

75 2.2 รายงานผลการดำเนนิ งานตามดชั นีบ่งช้ี ผลการดำเนนิ งาน ดชั นีบ่งชี้ เปน็ ไป ไมเ่ ปน็ ไป รายละเอียด เอกสารหลักฐาน ตาม ตาม เกณฑ์ เกณฑ์ (1) อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย ✓ ในปกี ารศกึ ษา 2563 อาจารย์ 1. รายงานการประชมุ ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม ประจำหลักสตู รได้เขา้ ร่วม คณะกรรมการบริหาร เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการ ประชุมคณะกรรมการบรหิ าร หลักสตู ร ดำเนนิ งาน หลักสตู ร จำนวน 9 คร้งั ครงั้ ที่ 1 วนั ท่ี 8 ม.ิ ย. 2563 ครั้งท่ี 2 วนั ท่ี 30 ก.ค. 2563 ครั้งที่ 3 วันท่ี 9 ก.ย. 2563 คร้งั ที่ 4 วันท่ี 11 พ.ย. 2563 ครงั้ ท่ี 5 วนั ที่ 25 ธ.ค. 2563 คร้งั ท่ี 6 วันท่ี 22 ม.ค. 2564 ครง้ั ท่ี 7 วันท่ี 24 ก.พ. 2564 ครั้งที่ 8 วันท่ี 30 ม.ี ค. 2564 ครั้งท่ี 9 วนั ที่ 21 พ.ค. 2564 (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ ✓ รายละเอียดของหลักสูตร 1. รายละเอยี ดของหลักสตู ร มคอ.2 ท่ีสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน (มคอ. 2) สอดคล้องกับกรอบ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคณุ วุฒิ สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน มาตรฐานคุณวฒุ ิสาขา/สาขาวิชา (ถา้ ม)ี ระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 โดยไดร้ ับการอนุมัติจากสภา 2. แบบรายงานข้อมลู การ มหาวิทยาลยั เมอื่ วันท่ี 23 พจิ ารณารายละเอียดของ มิถนุ ายน 2560 และผา่ นการ หลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน รับทราบจาก สกอ. เมอื่ วนั ที่ 16 คณุ วุฒิ ระดับปริญญาตรี ธนั วาคม 2563 (3) มี ราย ล ะ เอี ย ด ข อ งราย วิช าแ ล ะ ✓ มี มคอ.3 และ มคอ.4 1. แบบสรุปรายวิชาทเ่ี ปิด ราย ล ะ เอี ย ด ข อ งป ระ ส บ ก ารณ์ ครบทกุ รายวชิ าโดย ในปกี ารศกึ ษา 2562 ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 ประธานหลกั สตู รลงนาม 2. แบบสรุปการนำสง่ และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิด และส่งมอบใหแ้ กค่ ณะ มคอ.3, มคอ.4 สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุก รายละเอยี ดดังน้ี 3. เอกสาร มคอ.3, มคอ.4 รายวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 - มคอ.3 วันที่ 24 ม.ิ ย. 2563 - มคอ.4 วนั ท่ี 17 ม.ิ ย. 2563 ภาคการศึกษาที่ 2 - มคอ.3 วนั ท่ี 23 พ.ย. 2563 - มคอ.4 วันที่ 16 พ.ย.2563

76 ผลการดำเนินงาน ดชั นีบ่งชี้ เปน็ ไป ไมเ่ ป็นไป รายละเอียด เอกสารหลักฐาน ตาม ตาม เกณฑ์ เกณฑ์ (4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของ ✓ มี มคอ.5 และ มคอ.6 1. แบบสรปุ การนำสง่ ร า ย วิ ช า แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ครบทุกรายวชิ าโดย มคอ.5, มคอ.6 ด ำ เนิ น งา น ข อ งป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ประธานหลักสตู รลงนาม 2. เอกสาร มคอ.5, มคอ.6 ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และสง่ มอบใหแ้ กค่ ณะ ภาค และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสนิ้ สุด การศึกษาท่ี 1 ในวันท่ี 28 ภาคการศึกษาท่ีเปิดสอนให้ครบทุก พ.ย. 2563 และภาค รายวิชา การศึกษาท่ี 2 ในวนั ท่ี 5 พ.ค. 2564 (5) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของ ✓ หลกั สตู รได้จัดทำรายงานผล 1. เอกสาร มคอ.7 หลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 การดำเนินการของหลกั สูตร วันหลงั สน้ิ สุดปกี ารศกึ ษา ตามแบบ มคอ.7 โดยคณบดี ลงนาม (6) มี ก าร ท ว น ส อ บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง ✓ รอ้ ยละ 27.78 ของรายวชิ า 1. คำส่งั แตง่ ตงั้ กรรมการ นกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรทู้ ี่ ทัง้ หมดที่เปิดสอน ทวนสอบ กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) 2. สรุป/รายงานผลการทวน อย่างน้อย ร้อยละ 25 ของรายวิชาที่ สอบ เปิดสอนในแตล่ ะปกี ารศึกษา (7) มกี ารพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียน ✓ มีการพฒั นา/ปรบั ปรุงการ 1. มคอ.3 มคอ.4 การสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ จัดการเรยี นการสอน มคอ.5 และ มคอ.6 ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ จ า ก ผ ล ก า ร กลยทุ ธ์การสอน เชน่ การ 2. รายงานการประชุม ประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน เพิม่ คำศพั ทภ์ าษาอังกฤษ คณะกรรมการบรหิ าร มคอ.7 ปีทแ่ี ล้ว เป็นต้น หรือการประเมินผล หลักสูตรสาธารณสขุ ศาสตร การเรียนรจู้ ากผลการ บณั ฑิต ประเมินการดำเนนิ งานที่ รายงานใน มคอ.7 ปที ่ีแลว้ (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการ ✓ ในปกี ารศกึ ษา 2563 1. คำสัง่ ให้บุคลากรเข้ารว่ ม ปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการ หลกั สูตรมอี าจารย์รายงาน ปฐมนิเทศ จัดการเรียนการสอน กลบั มาปฏบิ ัตงิ าน จำนวน 1 คน คอื อ.นฤมล เวชจักร เวร ซงึ่ ไดร้ บั การปฐมนเิ ทศ จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ และมีอาจารย์พี่เลี้ยงให้ คำแนะนำ

77 ผลการดำเนินงาน ดชั นีบ่งชี้ เปน็ ไป ไม่เปน็ ไป รายละเอยี ด เอกสารหลกั ฐาน ตาม ตาม เกณฑ์ เกณฑ์ (9) อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนา ✓ ในปกี ารศกึ ษา 2563 อาจารย์ 1. รายงานผลการเขา้ รว่ ม ทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่าง ประจำทุกคนไดร้ ับการพัฒนา พฒั นาด้านวชิ าการ/วชิ าชีพ นอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง ทางวชิ าการ/วชิ าชีพ มากกวา่ ของบคุ ลากรสายวชิ าการ 1 ครง้ั ต่อปี (10) จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนการ ✓ หลกั สตู รมบี ุคลากรสาย 1. รายงานผลการเขา้ รว่ ม เรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนา สนับสนุน จำนวน 1 คน คือ พฒั นาดา้ นวชิ าการ/วชิ าชีพ ทางวชิ าการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อย คณุ ธดิ ารตั น์ ณ จัตุรัส ตำแหนง่ ของบคุ ลากรสายสนับสนนุ กว่าร้อยละ 50 ตอ่ ปี นกั วิชาการศกึ ษา และไดร้ ับการพัฒนาทาง วิชาการ/วิชาชีพ คดิ เป็นร้อย ละ 100 (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ✓ นักศกึ ษามีความพึงพอใจตอ่ 1. รายงานผลการประเมิน ปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพ คณุ ภาพของหลกั สูตรอยู่ใน ความพงึ พอใจนักศึกษาปี หลักสูตร เฉล่ียไม่น้อยกว่า 3.51 จาก ระดบั มาก (คะแนนเฉลย่ี สดุ ท้ายต่อการบรหิ าร คะแนนเตม็ 5.0 4.31 ± 0.66) หลกั สตู ร (12) ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บัณฑติ ท่ีมี ✓ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ 1. รายงานผลการสำรวจ ต่อบัณฑิตใหม่ เฉล่ียไม่น้อยกว่า 3.51 บณั ฑติ ท่ีมีต่อบณั ฑิตใหม่ ความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ัณฑติ จากระดบั 5.0 อยู่ในระดบั มาก (คะแนนเฉล่ีย = 4.73) รวมตัวบ่งช้ีท่ไี ด้ประเมิน 12 รอ้ ยละของตัวบ่งช้ีที่ได้ประเมิน 100 จำนวนตัวบง่ ช้ีในปนี ีท้ ดี่ ำเนนิ การผ่าน 12 ร้อยละของตัวบ่งช้ที งั้ หมดในปีน้ี 100

78 3. ปัญหาในการบริหารหลักสตู ร ปัญหาในการบริหารหลักสตู ร ผลกระทบของปัญหาตอ่ สัมฤทธิผล แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไข ตามวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร ปญั หาในอนาคต 1. ปัญหาด้านทรัพยากร 1. เกิดอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการ 1. เสนอต่อคณะ และมหาวทิ ยาลัยพจิ ารณา จัดสรรงบประมาณเพอื่ จดั หาส่ิงอำนวยความ แ ล ะ สิ่ งอ ำ น ว ย ค ว า ม สอน สะดวกและปรบั ปรุงแก้ไข สะดวกใน อาคาร 1. เสนอให้ทางคณะ และมหาวิทยาลัย ปฏิบัติการยังมีไม่เพียงพอ พิจารณา 2. หารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนให้ ร ว ม ไ ป ถึ ง สั ญ ญ า ณ ผู้เรยี นมีสว่ นร่วม ถ่ายทอดองคค์ วามรูแ้ ละ อินเตอรเ์ นต็ ที่ไมเ่ สถียร ทกั ษะปฏิบตั ิผา่ นการเรยี นออนไลน์ รวมไปถึง ปรับวิธกี ารวัดผลและประเมินผล 2. เกดิ การระบาดของโรค 1. ตอ้ งปรบั เปลยี่ นวิธจี ดั การเรียนการ COVID-19 ทำให้ส่งผลกระทบ สอนเปน็ รปู แบบออนไลน์ ซึง่ พบ 1. วางระบบและกลไกในการควบคมุ การ ปฏบิ ัติงานของเจ้าหนา้ ท่ีให้เปน็ ระบบและ ต่อการจดั การเรยี นการสอนใน ปัญหาและอุปสรรคในเร่ืองสัญญาณ รัดกุมมากยงิ่ ขนึ้ รายวชิ าทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ อินเตอร์เน็ต ความเข้าใจในเนือ้ หา นักศึกษาไมไ่ ด้ฝึกปฏิบัตใิ นบางหัวข้อ การมีสว่ นร่วมของนกั ศึกษา รวมไปถงึ การวัดผลและ ประเมินผล 3. ขาดระบบการจัดการ 1. อาจารยต์ อ้ งเตรียม Lab เอง ทำให้ เจา้ หนา้ ท่ีในการชว่ ยเตรยี ม Lab กระทบต่อภาระงานด้านอืน่ ๆ 4. สงิ่ สนบั สนุนการเรียนรู้ ตวั บ่งชี้ ผลการดำเนนิ งาน สิง่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ มผี ลการดำเนนิ งานในระดับ 4 (ตัวบง่ ชี้ 6.1) เปา้ หมาย: 1. หลกั สตู รมีจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรยี นรทู้ ่เี พมิ่ ขึ้น 2. หลกั สูตรมกี ารประชมุ เพอ่ื พจิ ารณาใหม้ ีสิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้ อยา่ งนอ้ ย 1 ครงั้ ตอ่ ปกี ารศกึ ษา 3. นักศึกษาและอาจารยม์ ีระดบั ความพึงพอใจต่อส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้อยู่ใน ระดบั มาก 1) ระบบการดำเนินงานของหลักสูตร โดยมีส่วนร่วมของอาจารยป์ ระจำหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่ง สนบั สนนุ การเรยี นรู้ มผี ลการดำเนินงาน ดงั นี้ หลกั สตู รมกี ารประชมุ หลกั สูตรเพอื่ สำรวจความตอ้ งการส่ิงสนับสนุนการเรยี นรู้ทจี่ ำเป็น ตอ่ การจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวชิ า รวมถงึ แหล่งเรียนรู้ให้เหมาะสมต่อการจัดการศึกษา กอ่ นเปิดภาคเรยี นที่ 1 - ในกรณีท่ีเป็นวัสดุการเรียนการสอนจะเสนอของบประมาณผ่านโครงการจัดหาวัสดุการ เรียนการสอนของหลกั สูตร หรอื การจัดหาวัสดุของแตล่ ะรายวชิ า - ในกรณที ี่เป็นครุภัณฑ์ จะเสนอต่อคณะฯ เพอ่ื จดั หาตอ่ ไป

79 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน - หากหลักสูตรพบว่า สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เกิดการชำรุด ไม่สามารถใช้การได้ จะทำการแจ้งนักวิชาการศึกษาและประธานหลักสูตร เพื่อประสานให้คณะฯ ในการแก้ไข ตอ่ ไป 2. หลักสูตรร่วมกนั พิจารณาการจัดลำดับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จำเป็น 3. หลักสูตรร่วมประชมุ เพ่อื จดั ทำแผนการจัดหาสง่ิ สนบั สนุนการเรยี นรูท้ ีจ่ ำเปน็ 4. หลักสูตร มีการจัดหาส่ิงสนับสนุนท่ีจำเป็น จากการสำรวจ พ้ืนที่/สถานท่ี สำหรับนักศึกษา และอาจารย์ได้พบปะ สังสรรค์สนทนาหรือทางานร่วมกัน มีการดูแล รักษาสภาพแวดลอ้ ม และทรัพยากร ทเี่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 5. ประเมินความพึงพอใจต่อส่งิ สนบั สนุนการเรียนรูจ้ ากอาจารย์และนกั ศกึ ษา 6. หลักสูตรจัดทำระบบฐานข้อมูล การดูแลรักษาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ การ จัดระเบียบคมู่ อื การใชง้ าน และสมดุ ยมื – คืน อปุ กรณ์ต่าง ๆ 7. หลกั สูตรประชุมประเมนิ กระบวนการและนำผลมาปรบั ปรงุ กระบวนการ Plan: การวางแผนการดำเนินงาน 1. อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาพิจารณาผลการประเมินความพึงพอใจ และข้อเสนอแนะของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2562 แล้วร่วมกัน พิจารณาถึงความต้องการของนักศึกษา และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จะช่วยปรับปรุง/ พัฒนาการเรยี นการสอน เพอื่ เสนอโครงการในการจัดหาสิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรแู้ ละจดั ซื้อวัสดุ อุปกรณ์การสอนประจำห้องปฏิบัติการและรายวิชาต่างๆ ให้มีจำนวนเพียงพอและมี ประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดการเรียนการสอน โดยได้จัดประชุมคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร คร้ังที่ 6/2563 วันที่ 8 มิถุนายน 2563 เพื่อเสนอโครงการจัดหาสิ่งสนับสนุนการ เรยี นร้ใู นการจดั การเรยี นการสอนในปีการศกึ ษา 2563 2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีการประชุมเพื่อวางแผนการเสนอโครงการตาม แผนปฏิบัติการงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2563 ตามความต้องการและข้อเสนอแนะ ของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา โดยข้อเสนอแนะจากนักศึกษา มีดังนี้ การปรับปรุงห้องปฏิบัติการให้มีประสทิ ธิภาพ มีอุปกรณ์อย่างเหมาะสมและเพียงพอ เพ่ือเสนอ โครงการจัดหาส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2563 รวมไป ถงึ หลักสูตรไดพ้ ิจารณาข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการตรวจประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2562 ในเรื่องของการวิเคราะห์ความต้องการสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้จากนักศึกษาและอาจารย์เพ่ือขอสนับสนุนงบประมาณ จากทางคณ ะ และจัดหา สถานที่ฝึกปฏิบตั งิ านสาธารณสขุ ทกุ ชนั้ ปีที่เพม่ิ ข้นึ 3. หลักสูตรเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณในการจัดซ้ือครุภัณฑ์ในท่ีประชุม คณะกรรมการจดั ทำแผนระดบั คณะ 4. คณะเสนอของบประมาณ ประจำปี 2564 ตอ่ มหาวทิ ยาลัย 5. หลกั สูตรไดร้ บั จดั สรรงบประมาณเพ่อื จดั ซือ้ วัสดอุ ุปกรณใ์ นการเรยี นการสอน ประจำปกี ารศึกษา 2563 Do: ผลการดำเนินงาน 1. ผู้รับผดิ ชอบเสนอโครงการแกค่ ณะ เพอื่ ขออนุมตั ิโครงการ

80 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน 2. ผรู้ ับผิดชอบได้ดำเนนิ การจัดซ้ือวสั ดอุ ุปกรณ์เพื่อใชป้ ระกอบการเรียนการสอน ดงั น้ี 1) จดั ซือ้ ครุภณั ฑ์ตามแผนปฏิบตั ิการประจำปขี องคณะ จำนวน 2,218,046 บาท 2) จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์ปฐมพยาบาล จำนวน 16,000 บาท 3) พัฒนาสอ่ื การเรียนการสอนและทักษะทางปรสิตวิทยา จำนวน 24,000 บาท 4) พัฒนาสือ่ การเรียนการสอนและทักษะทางโภชนาการ จำนวน 40,000 บาท 5) พัฒนาความรแู้ ละทักษะการคัดกรองเบอื้ งต้น จำนวน 32,000 บาท นอกจากน้ี หลักสตู รยังได้จัดหาวสั ดุอปุ กรณ์และเอกสาร ประกอบการเรยี นการสอน โดยไดร้ บั จดั สรรงบประมาณ ดงั นี้ 1) จดั หาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรยี นการสอน จำนวน 112,000 บาท 2) จัดทำเอกสารประกอบการเรยี นการสอน จำนวน 160,000 บาท 3. ผู้รบั ผดิ ชอบไดด้ ำเนินการจดั โครงการท่ีเสริมสร้างประสบการณ์นักศึกษาในด้าน สาธารณสุข ดังน้ี 1) โครงการดแู ลสขุ ภาพทีบ่ ้านเพอ่ื เสริมสรา้ งสขุ ภาวะ จำนวน 24,000 บาท ในชุมชน 2) โครงการอนามยั โรงเรียนสญั จร จำนวน 20,000 บาท 3) โครงการพัฒนาทกั ษะนักศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสขุ ภาพชุมชน จำนวน 24,000 บาท 5) โครงการอนามัยสิง่ แวดลอ้ มสัญจร จำนวน 24,000 บาท Check: การประเมินกระบวนการ หลกั สตู รไดท้ ำการประเมนิ ระบบและกลไกการจัดสิ่งสนบั สนนุ การเรียนรู้ โดยมกี ารสำรวจ รายการ จำนวน และสภาพของส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ในห้องปฏิบัติการของหลักสูตรจาก อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อย่างไรก็ตามหลักสูตรยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ครบถ้วนแม้ว่าจะมี การกำกบั ตดิ ตาม หลกั สูตรไดม้ กี ารจัดประชุมเพอ่ื พิจารณาให้มจี ำนวนสง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ที่ เพมิ่ ขึน้ ในปกี ารศกึ ษา 2563 ในปีการศึกษา 2563 พบว่าผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรและส่ิง สนับสนุนการเรียนรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.22±0.66) สำหรับความพึงพอใจของ อาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ พบว่า ผลประเมินอยู่ในระดับมาก (4.33 ± 0.65) เช่นเดียวกนั Act: การปรับปรุงพัฒนา หลักสูตรได้ประชมุ เพอ่ื พิจารณาการจัดหาส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้งบประมาณปี 2564 เพอื่ ชนิดใหม่ทีจ่ ำเป็นต่อการจัดการเรยี นการสอน 2) ส่งิ สนับสนนุ การเรียนรู้ทเี่ พียงพอและเหมาะสมต่อการจดั การเรยี นการสอน มีผลการ ดำเนินงาน ดงั นี้ Plan: การวางแผนการดำเนินงาน 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความต้องการส่ิงสนับสนุน การเรยี นรจู้ ากนักศึกษาท่ีมีต่อการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชา

81 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน 2. หลักสูตรเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในที่ ประชมุ คณะกรรมการจัดทำแผนระดับคณะ 3. คณะเสนอของบประมาณ ประจำปี 2564 ตอ่ มหาวิทยาลัย Do: ผลการดำเนนิ งาน 1.1 สภาพแวดลอ้ มในการเรยี นการสอน คณะสาธารณสุขศาสตร์ได้จัดสภาพสิ่งแวดล้อมภายในสถาบันให้มีบรรยากาศที่ สวยงาม เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยมีพนักงานทำความสะอาดทุกวัน ตลอดจนมีพนักงานรักษา ความปลอดภยั ดแู ลตลอดเวลาทำการ 1.2 หอ้ งเรยี น นักศึกษาทุกช้ันปีของหลักสูตรจะใช้บริการห้องเรียนที่อาคาร 38 ซึ่งทุกห้องจะมีโต๊ะ เกา้ อีบ้ ริการให้เพียงพอต่อจำนวนนกั ศกึ ษา มอี ปุ กรณอ์ ำนวยความสะดวกต่อการจัดการเรยี นรู้ อาทิ โปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียง และพัดลม ท้ังน้ีทุกอาคารจะมีพนักงานทำความสะอาดคอย ดแู ลทำความเรยี บร้อยของห้องเรียนทุกวนั 1.3 ห้องปฏบิ ัติการ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน มีห้องปฏิบัติการจำนวน 4 ห้อง ดังน้ี คือ ห้องหมายเลข 38.4.16 ห้องปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์และสาธารณสุข ศาสตร์ หอ้ งหมายเลข 38.4.17 ห้องปฏิบัติการอาหารและโภชนาการ ห้องหมายเลข 38.4.20 ห้องปฏิบัติการปฐมพยาบาลและบำบัดโรคเบ้ืองต้น ห้อง 38.4.21 เป็นห้องปฏิบัติการดูแล สุขภาพท่ีบ้าน ทั้งน้ีมีโปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียง โต๊ะ เก้าอ้ีให้บริการอย่างเพียงพอกับจำนวน นักศึกษา และมีพนักงานทำความสะอาดประจำอาคาร คอยดูแลทำความสะอาดห้องเรียนทุก วัน นอกจากนี้คณะสาธารณสุขศาสตร์ได้จัดทำประกาศ หลักสูตรได้มอบหมายให้ น.ส. ธิดา รัตน์ ณ จัตุรัส นักวิชาการศึกษา ทำหน้าท่ีอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนการสอน คอยดูแลตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการรวมไปถึงอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ตลอดจน ดำเนินการแจง้ และสง่ ซอ่ มอปุ กรณ์ทช่ี ำรดุ ให้อยู่ในสภาพดีพรอ้ มใช้งานได้ตลอดเวลา 1.4 หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน หลักสูตรมีการจัดทำเอกสารประกอบการสอนให้แก่นักศึกษาทุกรายวิชาเพ่ือให้ผู้เรยี น ใช้ศึกษาเพิ่มเติมในภายหลัง และมีการพัฒนาคุณภาพเอกสารประกอบการสอนให้เป็นตำรา เพ่ือใช้จัดการเรียนรู้ในหลักสูตรเพ่ิมขึ้น อาทิ เช่น รายวิชาโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อทาง สาธารณสุข, วิทยาการระบาด เป็นต้น นอกจากน้ีที่สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ยังได้จัดให้คณาจารย์และนักศึกษาในหลักสูตรสามารถเสนอขอจัดซ้ือหนังสือ เพอ่ื ใช้ประกอบการเรียนการสอน โดยให้บริการหนังสือ/ตำรา และมีการจัดซ้ือเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี เพ่ือบริการแก่นักศึกษาและคณาจารยใ์ ห้เพยี งพอตอ่ ความต้องการ 1.5 ระบบอินเตอร์เน็ต และการสบื ค้นข้อมลู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไร้สาย (WIFI) สำหรับ นักศึกษาได้สามารถเข้าถึงระบบได้ทุกพื้นท่ีภายในมหาวิทยาลัยสำหรับใช้ในการศึกษาค้นคว้า ขอ้ มูลตา่ งๆ ได้อย่างสะดวก 1.6 หอ้ งเรยี นรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์

82 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ได้จัดให้ ห้องหมายเลข 38.4.15 เป็นห้องเรียนรู้สาธารณสุข ศาสตร์ เพื่อให้บริการแก่นักศึกษาได้ใช้ในการศึกษาค้นคว้างานวิจัย ซ่ึงภายในห้องมีงานวิจัย วารสาร และตำราสำหรับค้นคว้าเพ่ิมเติมในการทำวิจัย นอกจากนี้ มีการสนับสนุน งบประมาณในการทำวิจัยให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ลงทะเบียนในรายวิชาการศึกษา ค้นควา้ อิสระ 1.7 คอมพิวเตอร์โนตบ๊คุ คณะสาธารณสุขศาสตร์ได้รับจัดสรรโนตบุ๊คสำหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อใช้ ยมื เรยี นออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 จำนวน 12 เครื่อง Check: การประเมินกระบวนการ จากการทบทวนระบบและกลไก พบวา่ สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้เหมาะสมตอ่ การจดั การ เรียนการสอน แตย่ งั ไม่เพยี งพอในบางรายวิชา เชน่ วชิ าโภชนศาสตร์ ทน่ี กั ศกึ ษาต้องการใหม้ ี โมเดลอาหารประกอบการเรียนการสอน เป็นตน้ Act: การปรบั ปรุงพัฒนา หลักสูตรได้ประชุมเพื่อพิจารณาการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ขาดแคลนและจำเป็น ตอ่ การจดั การเรยี นการสอน เพ่อื เสนองบประมาณประจำปี 2565 3) กระบวนการปรบั ปรงุ ตามผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาและอาจารย์ ตอ่ สิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี Plan: การวางแผนการดำเนนิ งาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้ร่วมกันพิจารณาผลการประเมินความพึงพอใจของ นักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เป็นประจำและต่อเนื่องทุกปี โดยหลักสูตรได้ นำข้อเสนอแนะจากปีการศึกษา 2562 มาเป็นแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อให้ นักศึกษาและอาจารย์สามารถสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ สงู สุด Do: ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตาม ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาในปีการศึกษา 2562 จึงพบว่า ผลประเมินความพึงพอใจของ นักศึกษาและอาจารย์ต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ ในปีการศึกษา 2563 อยู่ในระดับมาก โดยมี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.22 โดยนักศึกษาต้องการให้หลักสูตรจัดหาส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มเติม เช่น โมเดลอาหาร โมเดลกายวิภาคศาสตร์ ห้องสำหรับทำงานวิจัยสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี เป็นต้น รวมไปถึงสัญญาณอินเตอร์เน็ตที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา ซ่ึงในส่วนของสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้รับการตรวจสอบและแก้ไขแล้ว ขณะท่ีส่ิงสนับสนุนการ เรียนรู้ในรายวิชาอยู่ระหว่างการจัดหาตามแผนปฏิบัติการงบประมาณ สำหรับผลประเมิน ความพึงพอใจของอาจารย์ต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก 4.33 แต่อาจพบปัญหา เร่ืองความพร้อมของเคร่ืองเสียง โปรเจคเตอร์ และอากาศร้อนในอาคารเรียนรวม 38 ซึ่งได้รับ การตรวจสอบและแก้ไขจากมหาวิทยาลยั

83 ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน Check: การประเมินกระบวนการ จากการทบทวนระบบและกลไก พบว่าผลการประเมินความพงึ พอใจของนักศกึ ษาและ อาจารยต์ อ่ สงิ่ สนับสนนุ การเรียนรู้อย่ใู นระดบั มาก ปญั หาที่พบในปีการศึกษา 2563 บางปัญหา ได้รับการแก้ไขแลว้ และบางปัญหาอยรู่ ะหว่างการแก้ไข อย่างไรก็ตามสิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้ สำหรับบางรายวิชายังไมม่ ีเพียงพอ หลกั สูตรต้องเสนอขอรบั การพิจารณาในแผนปฏิบัติ การงบประมาณหนา้ นอกจากน้ียังมีสิง่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ท่สี ามารถใชร้ ่วมกนั ได้หลายรายวชิ า ซึ่งหลกั สตู รยัง ไมม่ ีระบบและกลไกในการบริหารจดั การที่เปน็ รปู ธรรม เชน่ อปุ กรณป์ ฐมพยาบาล เปน็ ตน้ Act: การปรับปรุงพัฒนา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ นำผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและ อาจารย์ต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ในแต่ละภาคการศึกษา มาวิเคราะห์กระบวนการปรับปรุง และเสนอแผนการปรับปรุงส่ิงสนับสนุนเรียนรู้ฯ เพื่อวางแผนจัดสรรงบประมาณในปกี ารศึกษา ถัดไป รวมไปถึงหลักสูตรควรพิจารณาเรื่องการวางระบบและกลไกการจัดการส่ิงสนับสนุนการ เรยี นรู้ทตี่ ้องใชร้ ว่ มกัน

84 หมวดท่ี 6 ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั คณุ ภาพหลักสูตรจากผูป้ ระเมนิ อสิ ระ 1. ขอ้ คดิ เหน็ หรอื สาระที่ไดร้ ับการเสนอแนะจากผู้ประเมนิ และความเหน็ ของผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรตอ่ ขอ้ คิดเห็นหรอื สาระทไี่ ดร้ บั การเสนอแนะ ข้อคดิ เหน็ หรอื สาระ ความเห็นของต่อขอ้ คิดเหน็ หรือสาระ ทไี่ ด้รบั การเสนอแนะจากผปู้ ระเมิน ทไ่ี ด้รบั การเสนอแนะ 1. ควรมกี ารทบทวนข้อมูลเบอ้ื งตน้ ให้ถูกต้องตรงกันและ - หลักสูตรจะทบทวนระบบกลไกแตล่ ะตวั บ่งชี้ให้ ทบทวนระบบกลไกในแต่ละตวั บง่ ชี้ให้ชดั เจน ชัดเจน 2. ควรมกี ารกำกับตดิ ตามการจดั การเรียนการสอน เพือ่ ให้ - หลกั สูตรมีการประชุมหารอื ถงึ แนวทางในการ นักศกึ ษาสำเรจ็ การศึกษาตามเวลา กำกับตดิ ตามการจดั การเรียนการสอน 3. ควรมีการติดตามการรับทราบหลกั สตู รกบั สกอ. และ วางแผนการปรับปรงุ หลกั สูตรในรอบตอ่ ไป - หลักสตู รได้ติดตามการรบั ทราบหลกั สูตร จาก สกอ.และวางแผนการปรบั ปรงุ หลกั สูตรในรอบ 4. ช้ีแจงทำความเข้าใจกบั นักศึกษาและบณั ฑติ ให้มีความเข้าใจ ตอ่ ไป เกย่ี วกบั การมงี านทำอยา่ งถูกตอ้ ง และเพ่ิมช่องทางในการใน - หลกั สูตรกำกบั ตดิ ตามการกรอกภาวะการมงี าน การกำกับตดิ ตามบณั ฑิตและความพึงพอใจกับผ้ใู ชบ้ ัณฑติ ทำของบณั ฑติ โดยหลกั สตู รเป็นผู้เกบ็ ข้อมลู เอง 2. การนำไปดำเนนิ การเพอื่ การวางแผนหรือปรับปรุงหลกั สูตร หลักสูตรไดน้ ำข้อเสนอแนะจากผปู้ ระเมินมาจดั ทำโครงการและกจิ กรรมในปกี ารศึกษาถัดไป 3. การประเมนิ จากนักศึกษาช้นั ปีสดุ ท้าย (รายงานตามปีท่สี ำรวจ) วันท่ีสำรวจ วันที่ 10 มนี าคม 2564 3.1 ข้อวิพากษท์ สี่ ำคญั จากผลการประเมนิ ขอ้ วพิ ากษท์ สี่ ำคญั จากผลการประเมนิ ขอ้ คดิ เหน็ ของนักศึกษาชนั้ ปสี ุดทา้ ย ต่อผลการประเมนิ -- 3.2 ขอ้ เสนอการเปลยี่ นแปลงในหลกั สูตรจากผลการประเมนิ ไม่มี

85 4. การประเมนิ จากผู้มีสว่ นเกย่ี วข้อง (ผ้ใู ชบ้ ณั ฑิต) 4.1 ขอ้ วิพากษท์ ส่ี ำคญั จากผลการประเมนิ และข้อคดิ เหน็ ของผมู้ สี ่วนเกย่ี วขอ้ งต่อผลการประเมิน ข้อวพิ ากษ์ท่สี ำคัญจากผลการประเมนิ ข้อคดิ เห็นของผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ งต่อผลการประเมนิ 1. นักศึกษาควรไดร้ ับการพัฒนาองคค์ วามร้ใู นเรอ่ื ง 1. นักศึกษาควรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และฝึกทักษะ ยา การประเมนิ และบำบดั โรคเบอื้ งตน้ การเยี่ยม ในเร่ืองของการทำหัตถการ การประเมินและบำบัดโรค บา้ น การใหส้ ุขศึกษา กระบวนการพฒั นาสขุ ภาพ เบื้องต้น และการพัฒนาสุขภาพชุมชนโดยเฉพาะใน ชุมชน รวมไปถึงองค์ความรเู้ ร่ืองกฎหมาย ประเดน็ การประเมนิ ผลโครงการ สาธารณสขุ (พ.ร.บ.การสาธารณสขุ , พ.ร.บ. 2. นกั ศึกษาควรได้รบั การพฒั นาในดา้ น IT เชน่ การสร้าง เทศบาล-การจัดการขอ้ รอ้ งเรียน เหตรุ ำคาญ google form, google drive, การใช้โปรแกรม ขัน้ ตอนวธิ ีการในการจัดการดา้ นสงิ่ แวดล้อม การ คอมพิวเตอร์ในด้านสาธารณสุขให้คล่องแคล่ว สขุ าภิบาลอาหารและส่ิงแวดล้อม การจดั การขยะ) 2. นกั ศึกษาควรไดร้ ับการพัฒนาในด้าน IT เช่น การ สรา้ ง google form, google drive, การใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นดา้ นสาธารณสุข 3. นกั ศึกษาควรไดร้ ับการพัฒนาในเร่อื งการทำงาน เป็นทมี 4. นกั ศกึ ษาควรได้รับการพฒั นาความมนั่ ใจในการ ส่ือสารกับกลุ่มเปา้ หมาย การพูดในที่สาธารณะ 5. นักศกึ ษาควรได้รับการพัฒนาทักษะดา้ น ภาษาอังกฤษ การสอ่ื สารภาษาองั กฤษเบอ้ื งต้น 6. นักศกึ ษาควรได้รับการพัฒนาทักษะด้านธุรการ และการทำหนังสอื ราชการ

86 หมวดที่ 7 การเปลีย่ นแปลงทม่ี ีผลกระทบตอ่ หลกั สูตร - การเปล่ยี นแปลงภายในสถาบนั (ถ้ามี) ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ หลักสูตรในช่วง 2 ปที ่ีผา่ นมา คณะสาธารณสขุ ศาสตรไ์ ดย้ า้ ยทท่ี ำการจากอาคารเรียนรวม (อาคาร 31) มายงั อาคารปฏบิ ัตกิ ารรวม (อาคาร 38) ซึง่ สง่ ผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนทงั้ ในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เน่ืองจากสิง่ สนับสนุนการ เรียนรสู้ ว่ นใหญ่ยังไม่พร้อมใชง้ าน - การเปล่ยี นแปลงภายนอกสถาบัน (ถ้าม)ี ท่ีมผี ลกระทบตอ่ หลักสตู รในชว่ ง 2 ปที ผี่ ่านมา เกิดการระบาดของ COVID-19 ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรยี นการสอนทงั้ ในภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ทีต่ ้องปรบั รปู แบบการจัดการเรียนการสอนเปน็ รปู แบบออนไลน์ท้งั หมดหรือแบบผสมผสาน (Blended learning) ซง่ึ ไดร้ บั ข้อมลู สะทอ้ นมาว่าการจัดการเรยี นการสอนแบบในหอ้ งเรียนเขา้ ใจไดง้ า่ ยกวา่ สามารถจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนไดห้ ลากหลายกว่า นกั ศกึ ษามสี ว่ นร่วมในการเรยี นการสอนได้มากกวา่ และบางครั้ง สัญญาณอินเตอรเ์ น็ตสง่ ผลตอ่ การเรียนการสอน รวมไปถึงการวัดผลและการประเมนิ ผลในบางรายวิชาซึ่งเปน็ รายวิชานอกหลกั สตู ร กระทำการล่าช้ากว่ากำหนด ทำใหผ้ ลการเรยี นของนกั ศึกษาบางคนยังไม่ครบถ้วน หมวดที่ 8 แผนการดำเนนิ การเพือ่ พฒั นาหลักสตู ร 1. ความกา้ วหน้าของการดำเนนิ งานตามแผนท่เี สนอในรายงานของปที ่ีผ่านมา แผนดำเนนิ งาน วนั สิ้นสุด ผู้รบั ผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน เหตุผลที่ไมส่ ามารถ ตามแผน สำเรจ็ ไม่สำเร็จ ดำเนนิ การไดส้ ำเรจ็ โครงการ เสรมิ สร้างศกั ยภาพ ดร.รชานนท์ การผลิตบัณฑติ (สาธารณสขุ มิ.ย. 2564 ผศ.ดร.ปาริฉัตร ✓ ชมุ ชน) มิ.ย. 2564 ✓ 1)จัดหาวัสดุอุปกรณ์ มิ.ย. 2564 อ.ภษิ ณี ✓ ประกอบการเรยี นการสอน ม.ิ ย. 2564 ผศ.ธวัชชัย ✓ 2) จดั ทำเอกสารประกอบการ เรยี นการสอน มิ.ย. 2564 น.ส.ธดิ ารตั น์ ✓ 3) คู่มือนักศึกษา ส.บ. 4) จัดหาวัสดอุ ปุ กรณ์ปฐม พยาบาลเบื้องต้น (กระเปา๋ เย่ยี มบา้ น) 5) จัดทำคมู่ ือจิตอาสา

87 แผนดำเนนิ งาน วนั ส้ินสดุ ผู้รับผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน เหตุผลที่ไม่สามารถ ตามแผน อ.ฐติ มิ า สำเรจ็ ไม่สำเร็จ ดำเนนิ การได้สำเรจ็ 6) เตรยี มความพร้อมนักศึกษา ม.ิ ย. 2563 ใหม่ ✓ 7) อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการใช้ ม.ิ ย. 2563 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดร.รชานนท์ ✓ สำเร็จรูปวิเคราะหข์ ้อมลู ทาง ก.ค. 2563 สถติ ิเบื้องต้น รศ.ดร.ธนดิ า ✓ 8) อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารการ ก.พ. 2564 สืบค้นวรรณกรรมทเี่ ก่ียวขอ้ ง อ.วราภรณ์ ✓ เพ่ือการวจิ ัยทางสาธารณสขุ ก.พ. 2564 9) พัฒนาศักยภาพนกั ศึกษา ก.ค. 2564 อ.วราภรณ์ ✓ ให้มคี ุณลักษณะตามมาตรฐาน ต.ค. 2563 การเรียนรู้ ธ.ค. 2563 อ.ฐติ มิ า ✓ 10) แลกเปล่ยี นเรียนรู้ดา้ น วชิ าชีพสาธารณสุข พ.ย 2563 ดร.พัชรี ✓ 11) การฝึกปฏบิ ตั ิการบรกิ าร ก.พ. 2564 ผศ.ดร.จารวุ รรณ ✓ ปฐมภูมิ ต.ค. 2563 12) อนามัยโรงเรียนสญั จร ม.ิ ย. 2563 รศ.ดร.ธนดิ า ✓ 13) บรกิ ารวชิ าการเพือ่ ก.ค. 2564 ✓ เสรมิ สรา้ งโภชนาการท่ีดแี ก่ ก.ย. 2564 ดร.ทวิ ากรณ์ ✓ หญงิ ตั้งครรภแ์ ละหญิงให้นม อ.ฐติ ิมา บุตร ส.ค. 2564 ✓ 14) ดูแลสุขภาพทีบ่ ้านเพอ่ื มิ.ย. 2564 ผศ.ดร.จารวุ รรณ ✓ การเสรมิ สรา้ งสุขภาวะชมุ ชน 15) อนามัยสงิ่ แวดล้อมสัญจร ผศ.ดร.อรรถวิทย์ ✓ 16) การพฒั นาทักษะนกั ศกึ ษา เพอื่ พฒั นาสุขภาพชุมชน น.ส.ธิดารตั น์ 17) พฒั นาความรูแ้ ละทักษะ การคัดกรองสขุ ภาพเบื้องต้น อ.ฐิตมิ า ✓ 18) การฝกึ ปฏิบัตกิ ารพัฒนา อ.ฐิตมิ า ✓ สุขภาพชมุ ชน 19) การประชุมเพอ่ื พัฒนา ระบบและกลไกการบรหิ าร หลกั สตู ร 20) จดั ทำรายงานการประเมิน ตนเองระดบั หลักสูตร 21) ทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิ

88 แผนดำเนินงาน วนั สิ้นสดุ ผ้รู ับผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน เหตุผลท่ีไมส่ ามารถ ตามแผน สำเร็จ ไม่สำเรจ็ ดำเนินการได้สำเรจ็ ทางการศกึ ษาของหลกั สูตร 22) พฒั นาแหล่งฝึก ม.ค. 2564 ผศ.ธวชั ชัย ✓ ประสบการณ์วิชาชีพ สาธารณสุข 2. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร 2.1 ข้อเสนอแนะการปรบั โครงสร้างหลกั สตู ร (จำนวนหนว่ ยกติ รายวิชาแกน รายวิชาเลือกฯ) รายวชิ า 413106 การทันตสาธารณสขุ 2(2-0-4) เสนอใหเ้ พม่ิ ชัว่ โมงปฏิบัติ นอกจากน้นั เมื่อหลักสูตร พิจารณารว่ มกบั รา่ ง มคอ.1 เหน็ ควรให้มีการปรบั ให้มีการเพมิ่ ชวั่ โมงฝกึ ปฏบิ ัตอิ กี 15 รายวชิ า 2.2 ข้อเสนอในการเปล่ยี นแปลงรายวชิ า ขอ้ เสนอในการเปลย่ี นแปลงรายวชิ า รหสั และชื่อรายวิชา ภาคการศกึ ษาที่ 1 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรีรวิทยา จดั ประสบการณ์ทที่ ำใหผ้ เู้ รยี นสามารถเชอื่ มโยงความรู้กบั รายวชิ าอนื่ ๆ หรอื ไปใชใ้ น 1 413104-60 ของมนุษย์ 1 ชีวิตประจำวัน หรือการปฏิบตั ิงานโดยยกตัวอยา่ งโรคทพี่ บบอ่ ยในระบบต่างๆ อนามัยส่งิ แวดล้อม หวั ข้อการจดั การ เร่ืองร้องเรียน เหตุรำคาญและกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง อาจจะเชญิ 2 413211-60 วทิ ยากรจากหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องมาบรรยาย หรอื จัดกิจกรรมให้นักศกึ ษาดงู านสถานที่ จรงิ 3 413322-60 ระเบียบวิธีวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์ ปรับสือ่ การเรียนการสอนให้มคี วามน่าสนใจเพอ่ื ใช้ในการสอนรูปแบบออนไลน์ สุขภาพ ภาคการศึกษาท่ี 2 ปรับวิธกี ารสอนโดยตกลงการจดั กิจกรรมกับผ้เู รียนตามความตอ้ งการและความสนใจ 1 413105-60 กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วทิ ยา ของผูเ้ รยี น ของมนุษย์ 2 ปรบั ปรงุ เน้ือหาและจดั ทำสือ่ นำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ หัวข้อ “โรคเกย่ี วกบั มลพิษ 2 413214-60 โรคตดิ ตอ่ และไม่ติดต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม” ปรบั ปรุงเนื้อหาให้มคี วามง่ายขน้ึ ใช้การถามตอบเพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักศกึ ษา 3 413222-60 เภสชั วทิ ยาเบ้ืองต้น อาจลดเน้อื บางสว่ นลง จัดใหม้ ีกิจกรรมสอดแทรกการใชเ้ ทคโนโลยอี อนไลน์รว่ มกับการจดั การเรยี นการสอน 4 413223-60 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ เช่น KAHOOT สาธารณสขุ ควรเพ่มิ หนว่ ยกิตของรายวิชา เน่อื งจากมีเน้ือหามากและเปน็ วิชาท่มี คี วามสำคญั ในการ ปฏบิ ัติงานของนักศกึ ษาในอนาคต เพื่อใหน้ ักศึกษาไดเ้ รียนรคู้ รอบคลุมเนอ้ื หาทุกอย่างท่ี 5 413324-60 การประเมนิ ภาวะสุขภาพและ ต้องใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน การบำบัดโรคผสู้ งู อายุ ปรับปรงุ เอกสารการสอนและเพ่ิมเนือ้ หาให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ป้จจุบนั 6 413329-60 การศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ

89 2.3 กจิ กรรมการพัฒนาคณาจารยแ์ ละบุคลากรสายสนับสนนุ ชื่อ – สกุล กิจกรรม อ.ฐิติมา โพธิ์ชยั 1) การเสวนาวชิ าการเพ่ือส่งเสรมิ การเผยแพร่งานวจิ ัยในระดบั นานาชาติ (Journal club) 2) โครงการพัฒนาศักยภาพนกั วิจัยใหเ้ ผยแพร่ผลงานวิจัยในฐาน TCI 1 หรือ ระดับชาติหรือนานาชาติ 3) โครงการส่งเสริมบคุ ลากรเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางวิชาการและตำแหนง่ ที่ สูงขึน้ 4) การฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี น การสอนให้เหมาะกับศตวรรษท่ี 21 5) การฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เรอ่ื ง การพฒั นาวิทยากรยา 8 ขนาน 6) การประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร เร่อื ง การทบทวนแผนยทุ ธศาสตร์ การศึกษา ดงู าน และพัฒนาองคก์ ร ประจำปีงบประมาณ 2564 7) การอบรมโครงการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนโดยใชภ้ าษาอังกฤษ สำหรบั บุคลากรสายวชิ าการ 8) การประชุมวิชาการสาธารณสขุ ไทย-ลาว คร้งั ท่ี 6 ผศ.ดร.ปาริฉตั ร เกิดจันทึก 1) กิจกรรมส่งเสรมิ การพฒั นาบทความวิจยั เพือ่ เผยแพรใ่ นฐานข้อมูล วารสารวชิ าการ TCI 1 2) โครงการพฒั นาศกั ยภาพนักวจิ ยั ให้เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ในฐาน TCI 1 หรือ ระดับชาตหิ รอื นานาชาติ 3) โครงการสง่ เสริมบคุ ลากรเขา้ สู่ตำแหน่งทางวชิ าการและตำแหนง่ ท่ี สงู ขึน้ 4) การฝกึ อบรมเชิงปฏิบัติการ เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบการจัดการเรียน การสอนให้เหมาะกบั ศตวรรษท่ี 21 5) การฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่อง การพฒั นาวิทยากรยา 8 ขนาน 6) การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การทบทวนแผนยทุ ธศาสตร์ การศึกษา ดงู าน และพัฒนาองค์กร ประจำปงี บประมาณ 2564 ผศ.ดร.จารวุ รรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ 1) กจิ กรรมสง่ เสริมการพฒั นาบทความวิจัยเพื่อเผยแพรใ่ นฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1 2) โครงการพัฒนาศักยภาพนกั วิจัยใหเ้ ผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ในฐาน TCI 1 หรือ ระดับชาตหิ รอื นานาชาติ 3) โครงการสง่ เสริมบคุ ลากรเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางวิชาการและตำแหนง่ ท่ี สูงขึ้น 4) การฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เรอ่ื ง การพฒั นารปู แบบการจัดการเรยี น การสอนให้เหมาะกบั ศตวรรษที่ 21 5) การฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ เรื่อง การพัฒนาวิทยากรยา 8 ขนาน 6) การประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร เรอ่ื ง การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ การศกึ ษา ดงู าน และพัฒนาองค์กร ประจำปงี บประมาณ 2564

ผศ.ธวัชชัย เอกสันติ 90 อ.นฤมล เวชจักรเวร 7) การประชมุ วิชาการสาธารณสขุ ไทย-ลาว ครง้ั ท่ี 6 น.ส.ธิดารตั น์ ณ จตั ุรัส 1) กิจกรรมสง่ เสรมิ การพฒั นาบทความวจิ ัยเพ่ือเผยแพร่ในฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1 2) โครงการพฒั นาศักยภาพนักวิจัยให้เผยแพรผ่ ลงานวิจยั ในฐาน TCI 1 หรือ ระดบั ชาติหรือนานาชาติ 3) โครงการสง่ เสรมิ บุคลากรเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางวิชาการและตำแหนง่ ท่ี สงู ข้นึ 4) การฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ เร่อื ง การพัฒนารูปแบบการจดั การเรียน การสอนให้เหมาะกับศตวรรษท่ี 21 5) การฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบัติการ เรื่อง การพฒั นาวิทยากรยา 8 ขนาน 6) การประชมุ เชิงปฏบิ ัติการ เรือ่ ง การทบทวนแผนยทุ ธศาสตร์ การศกึ ษา ดูงาน และพฒั นาองคก์ ร ประจำปงี บประมาณ 2564 7) การเสวนาวิชาการเพื่อสง่ เสรมิ การเผยแพรง่ านวิจยั ในระดบั นานาชาติ (Journal club) 7) การประชมุ วิชาการสาธารณสขุ ไทย-ลาว คร้งั ที่ 6 1) กิจกรรมสง่ เสริมการพัฒนาบทความวิจัยเพ่ือเผยแพรใ่ นฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1 2) โครงการพฒั นาศกั ยภาพนกั วจิ ยั ให้เผยแพรผ่ ลงานวิจัยในฐาน TCI 1 หรือ ระดบั ชาติหรอื นานาชาติ 3) โครงการส่งเสริมบคุ ลากรเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางวชิ าการและตำแหนง่ ท่ี สูงขึน้ 4) การฝึกอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การพัฒนาวิทยากรยา 8 ขนาน 5) การเสวนาวชิ าการเพ่ือสง่ เสริมการเผยแพรง่ านวจิ ัยในระดับนานาชาติ (Journal club) 1) การฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร เรอ่ื ง การพฒั นาวิทยากรยา 8 ขนาน 2) การประชมุ วิชาการสาธารณสขุ ไทย-ลาว คร้งั ท่ี 6

91 3. แผนปฏบิ ตั ิการใหมส่ ำหรับปีการศกึ ษาถัดไป จากผลการดำเนินงานของปกี ารศกึ ษา 2563 พบว่ามีบางโครงการที่ยังไม่ได้เสนอของบประมาณ นอกจากนั้นเมือ่ พจิ ารณาถงึ ข้อเสนอแนะจากนกั ศกึ ษา อาจารย์ และคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา ในระดบั หลักสตู ร หลักสตู รจงึ ได้มกี ารเสนอของบประมาณในปกี ารศึกษา 2564 ดังต่อไปนี้ แผนการดำเนนิ งาน วนั ทคี่ าดวา่ จะ ผูร้ บั ผดิ ชอบ สิ้นสดุ แผน 1) การประชุมเพ่ือพัฒนาระบบและกลไกการบริหาร ก.ย. 64 น.ส.ธดิ ารตั น์ หลักสูตร ส.บ. 2) จดั ทำรายงานการประเมินตนเอง อ.ฐติ ิมา 3) ทวนสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการศึกษา ส.บ. อ.ฐิตมิ า 4) บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างโภชนาการท่ีดีแก่หญิง ผศ.ดร.จารุวรรณ ต้ังครรภแ์ ละหญิงให้นมบตุ ร 5) พฒั นาสอื่ การเรียนการสอนและทกั ษะทางปรสิตวทิ ยา ผศ.ดร.จารุวรรณ 6) จัดหาส่ือการเรียนการสอนและพัฒนาทักษะทาง อ.ฐติ ิมา โภชนาการ 7) เตรยี มความพรอ้ มนกั ศึกษาใหม่ อ.ฐติ มิ า 8) คมู่ ือนักศกึ ษา ส.บ. อ.นฤมล 9) พัฒนาความรู้และทักษะการตรวจคัดกรองสุขภาพ ผศ.ดร.จารุวรรณ เบ้ืองตน้ 10) อนามัยสง่ิ แวดลอ้ มสญั จร ผศ.ดร.ทวิ ากรณ์ 11) อนามัยโรงเรียนสญั จร ดร.พชั รี 12) อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเรจ็ รปู วิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถติ เิ บื้องตน้ ดร.รชานนท์ 13) พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามกรอบ มาตรฐานการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 อ.วราภรณ์ 14) การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะหัตถการใน งานสาธารณสุข อ.นฤมล 15) ดูแลสุขภาพทบ่ี ้านเพ่อื เสริมสรา้ งสขุ ภาวะชมุ ชน 16) อบรมเชิงปฏิบัติการการสืบค้นสารสนเทศสุขภาพและ รศ.ดร.ธนิดา สืบคน้ วรรณกรรมทเ่ี ก่ียวข้อง รศ.ดร.ธนดิ า 17) การพฒั นาทกั ษะนกั ศึกษาเพื่อพฒั นาสขุ ภาพชุมชน 18) เตรยี มฝึกประสบการณว์ ิชาชพี หลกั สูตร ส.บ. อ.ฐิติมา 19) การปฐมนิเทศและนิเทศงานแหล่งฝึกประสบการณ์ ผศ.ดร.ปาริฉตั ร วชิ าชพี สาธารณสขุ 20) จดั หาวสั ดุอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ผศ.ธวัชชยั ผศ.ธวัชชัย

92 21) ฝกึ ปฏบิ ตั ิการพัฒนาสขุ ภาพชมุ ชน ผศ.ดร.อรรถวทิ ย์ 22) ฝกึ ปฏบิ ัติการบรกิ ารปฐมภูมิ อ.ฐิตมิ า 23) การพฒั นานวตั กรรมเพ่ือพฒั นาสขุ ภาพชุมชน 24) จดั ทำเอกสารประกอบการสอน น.ส.ธิดารตั น์ 26) แลกเปลีย่ นเรียนร้ดู า้ นวชิ าชพี ผศ.ดร.ปาริฉัตร 27) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน อ.วราภรณ์ 28) พฒั นาแหล่งฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี สาธารณสขุ ดร.รชานนท์ ผศ.ธวชั ชัย

93 อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลักสตู ร : อ.ฐิติมา โพธชิ์ ยั ลายเซ็น : อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร : ผศ.ดร.ปาริฉตั ร เกิดจนั ทกึ ลายเซ็น : อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร : ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตรทพิ ย์สมบัติ ลายเซ็น : อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร : อ.นฤมล เวชจกั รเวร ลายเซน็ : อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร : ผศ.ธวัชชยั เอกสันติ ลายเซน็ : ประธานหลักสตู ร : อาจารยฐ์ ติ ิมา โพธช์ิ ยั ลายเซน็ : วนั ทรี่ ายงาน : 17 กรกฎาคม 2564 เหน็ ชอบโดย : รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิพงศ์ สตั ยวงศ์ทพิ ย์ (คณบดคี ณะสาธารณสุขศาสตร์) ลายเซน็ : วันท่ี :

95 ตารางที่ 1 จำนวนอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผูช้ ่วย รอง ศาสตราจารย์ รวม ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ คณุ วฒุ ิการศึกษา - - - ปริญญาตรี 2 - - - 3 ปริญญาโท - 1 - - 2 ปรญิ ญาเอก 2 2 - 3 รวม ข้อมลู ณ วันท่ี 15 กรกฎาคม 2564

96 ตารางที่ 2 คุณสมบัตอิ าจารยป์ ระจำและอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร ชอ่ื – สกลุ / วุฒิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าท่จี บ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก การศึกษา ปีที่ตพี ิมพ์เผยแพร่ วิชาการ การศึกษา/ ผู้รับผิดชอบหลักสตู ร / ผศ. รศ. ศ. สถาบนั ทจ่ี บการศกึ ษา 1 นางสาวฐิติมา โพธ์ิชัย อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร วท.ม. (โภชนศาสตร์)/ 2550 ธนดิ า ผาติเสนะ และฐติ มิ า โพธชิ์ ยั . (2562). การฟ้ืนฟู สืบสานและสรา้ ง มหาวทิ ยาลยั มหิดล มูลคา่ เพมิ่ แก่ทุนวฒั นธรรมอาหาร ไท-ยวน เพอ่ื เสริมสรา้ งสุขภาวะ 2 นางสาวจารวุ รรณ / ปร.ด. (ชวี เวชศาสตร์) / และเศรษฐกิจชมุ ชนเชิงสรา้ งสรรค์ ไตรทพิ ยส์ มบัติ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ อำเภอสคี ว้ิ จงั หวดั นครราชสีมา. วารสารชมุ ชนวิจยั . 13(2): 15-26. ภษิ ณี วิจันทกึ , ฐติ มิ า โพธิช์ ยั , กันยา รตั น์ จ่างโพธ์ิ, ดารณุ ี ประเสรฐิ สงั ข์, ศศวิ มิ ล พิมพใ์ หม,่ อญั ชลี เพียรการ และอมุ าพร โมบขนุ ทด. (2561). ภาวะโภชนาการและ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของ นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาตอน ปลาย: กรณศี กึ ษาโรงเรยี นในเขต อำเภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา. หนังสือประมวลการ ประชุมวชิ าการ (Proceeding) การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 5 (National Conference on Education 2018 (NICE) Education) ณ จังหวดั ภูเกต็ วันที่ 5-7 กรกฎาคม 2561, 1571- 1577. ฐติ ิมา โพธิ์ชัย. (2560). พฤตกิ รรมการ บรโิ ภคอาหารและภาวะ โภชนาการของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา. หนังสอื ประมวลการ ประชุมวิชาการ (Proceeding) การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ นครปฐม. จัดโดยมหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏนครปฐม. ณ จงั หวดั นครปฐม วนั ท่ี 29 – 30 มีนาคม 2561. 2555 จารวุ รรณ ไตรทิพย์สมบตั ,ิ นาฏตยิ า ศลิ คุ้ม, มกุ ดา พศิ จำรญู , สธุ ิดา พล กอง, สุนิสา สังขส์ ุข และสพุ ตั รา ชาติอดุลย์. (2563). ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งความรู้ ทศั นคติ และ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของ นักเรยี นระดบั ชั้นประถมศกึ ษาทม่ี ี ภาวะนำ้ หนกั เกินและอว้ น. วารสารสำนักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 7 ขอนแกน่ , ปีท่ี 27 ฉบบั ที่ 2. พฤษภาคม - สงิ หาคม 2563, หน้า 92-102.

97 ชื่อ – สกุล / วฒุ กิ ารศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าท่ีจบ ปที จี่ บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศกึ ษา ปีที่ตีพมิ พเ์ ผยแพร่ สถาบันทจี่ บการศึกษา ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัต.ิ (2562). ความสมั พันธร์ ะหว่างความรู้ การ รบั รู้ด้านสุขภาพ และพฤตกิ รรม การปอ้ งกนั มะเรง็ เตา้ นมในสตรี กลุ่มเสย่ี ง. วารสารสำนกั งาน ป้องกนั ควบคุมโรคท่ี 7 ขอนแก่น, ปที ่ี 26 ฉบับที่ 3. กันยายน - ธนั วาคม 2562, หนา้ 13-24 สำเรงิ ดดั ตนรมั ย์ และจารวุ รรณ ไตร ทพิ ยส์ มบัติ. (2562). การ พัฒนาการมีสว่ นร่วมของชมุ ชนใน การปอ้ งกนั การต้งั ครรภไ์ ม่พรอ้ มใน วัยรุ่น ตำบลบุกระสงั อำเภอหนอง ก่ี จงั หวดั บุรรี ัมย์. วารสาร สำนักงานป้องกนั ควบคมุ โรคที่ 9 นครราชสีมา, ปีที่ 25 ฉบับท่ี 2. เมษายน - กันยายน 2562, หนา้ 79-87. จารวุ รรณ/ไตรทพิ ย์สมบตั ิ. การตดิ ตาม ผลของโปรแกรมสขุ ศึกษาโดยการ ประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีแรงจงู ใจเพื่อ ป้องกันโรคร่วมกบั แรงสนับสนุน ทางสังคมต่อการควบคมุ ระดับ ความดันโลหิตในประชากรกลุม่ เสยี่ ง. ศรีนครนิ ทร์เวชสาร 2561; 33(6): 543-50 สรารัตน์ ตระกูลรัมย์, จารุวรรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ. ผลของโปรแกรม สง่ เสริมการตรวจเตา้ นมดว้ ยตนเอง ของสตรอี ายุ 45-54 ปี ในเขต ชุมชน บา้ นหว้ ยจระเข้ ตำบลหนิ ดาด อำเภอด่านขนุ ทด จังหวัด นครราชสมี า. วารสารวชิ าการ สำนักงานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี 9 นครราชสีมา 2561; 24(2): 46-56. ดิเรก อาสานอก, จารวุ รรณ ไตรทพิ ยส์ มบตั ิ. ผลของโปรแกรม การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจำ หมบู่ ้านที่มีภาวะอ้วนลงพงุ ตำบล ทุง่ กระเตน็ อำเภอหนองก่ี จังหวัด บรุ ีรัมย.์ วารสารวชิ าการสำนักงาน ปอ้ งกันควบคมุ โรคที่ 9 นครราชสีมา 2561; 24(2): 90-9. จารวุ รรณ ไตรทพิ ย์สมบัต,ิ ปยิ ธิดา บุราณผาย, อภิชาติ ป้อง ทองหลาง, วิไลรตั น์ โรจน์ฉิมพลี, กนกรัตน์ ปรีชาพูด, จริ ศักดิ์ อินออ่ น. ความรแู้ ละเจตคติของ นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์

98 ช่ือ – สกลุ / วฒุ ิการศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าทจ่ี บ ปที ่ีจบ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปีท่ตี ีพิมพเ์ ผยแพร่ สถาบนั ทจ่ี บการศึกษา ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. 3 นางสาวนฤมล เวชจักรเวร / วท.ม. ต่อการบรจิ าคเลอื ด. วารสาร (สาธารณสขุ ศาสตร)์ / วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี มหาวิทยาลยั มหิดล นครราชสีมา 2561; 24(1): 104- 16. สภุ ารตั น์ สดี า และจารวุ รรณ ไตรทพิ ย์ สมบตั .ิ (มกราคม-มนี าคม 2559). “ผลของโปรแกรมสขุ ศกึ ษาต่อการ ควบคุมระดับความดนั โลหิตในกลมุ่ เสยี่ งโรคความดันโลหิตสูง ตำบล โคกสนวน อำเภอชำนิ จังหวัด บรุ รี ัมย”์ . วารสารวิจัยสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . 9(1) : 40-47. จารวุ รรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ และนันทนา คะลา. (2559). “การปฏิบัตติ น ทางดา้ นโภชนาการและสขุ ภาพ ของนักศกึ ษา ท่มี ภี าวะน้ำหนกั เกิน มาตรฐานและอว้ น”. ศรนี ครนิ ทร์ เวชสาร. 31(4) : 224-230. 2552 วราภรณ์ ชาติพหล, นฤมล เวชจักรเวร, เบญญา หม่ืนไธสง, นิรชา น้ำกระ โทก และณฐั ริกา เรยี งจอหอ. การศกึ ษาพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพ ตนเองของผ้สู งู อายตุ ามหลัก 3อ.2ส. ตำบลโพธ์กิ ลาง อำเภอเมอื ง นครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า. วารสารวิชาการ สำนกั ปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 9 จังหวดั นครราชสมี า. 27(2) (กมุ ภาพันธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54. Lainampetch J., Panprathip P., Phosat C., Chumpathat N., Prangthip P., Soonthornworasiri N., Puduang S., Wechjakwen N., Kwanbunjan K. (2019). Association of Tumor Necrosis Factor Alpha, Interleukin 6, and C-Reactive Protein with the Risk of Developing Type 2 Diabetes: A Retrospective Cohort Study of Rural Thais. Journal of diabetes research. Aug 2019. (Pubmed) Kwanbunjan, K., Panprathip, P., Phosat, C., Chumpathat, N., Wechjakwen, N., Puduang, S., et al. (2018). Association of retinol binding protein 4 and transthyretin with triglyceride

99 ชื่อ – สกลุ / วฒุ ิการศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาทีจ่ บ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปที ต่ี ีพิมพเ์ ผยแพร่ สถาบันทจี่ บการศกึ ษา ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร / ผศ. รศ. ศ. levels and insulin resistance 4 นางสาวปารฉิ ตั ร เกิดจนั ทกึ / ปร.ด. (การบริบาลทาง 2552 in rural thais with high type 2 / เภสชั กรรม) / diabetes risk. BMC Endocrine 5 นายธวัชชัย เอกสันติ / มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น Disorders. 18(1), May 2018. (Pubmed) วท.ม. (สาธารณสขุ ศาสตร์) 2554 ภัทรา พลู ทอง และปารโิ มก เกิดจันทึก. / มหาวิทยาลยั มหิดล การพฒั นาเคร่ืองมอื คดั กรองความ เสยี่ งในการมียาเหลือใชใ้ นผูป้ ่วย เบาหวานท่ใี ชย้ าเบาหวานชนิด รับประทาน. วารสารเภสชั ศาสตร์ อีสาน. ปีท่ี 15 ฉบบั ที่ 4. ตลุ าคม – ธันวาคม 2562. สรุ ยิ นต์ มง่ิ ขวญั และปารโิ มก เกดิ จัน ทกึ . การพฒั นาแบบประเมนิ ความ เส่ียงตอ่ การเกดิ โรคปอดอักเสบตดิ เชื้อในผู้ป่วยโรคปอดอุดกนั้ เรื้อรัง. เภสชั ศาสตรอ์ ีสาน 2560; 13(3): 14-24. ธวัชชัย เอกสันติ, ภวู ดล พลศรปี ระดษิ ฐ์ , เพลนิ พศิ พรหมมานอก และ พชั รนิ ทร์ ยพุ า. (2563). รปู แบบ การพฒั นาโครงการส่งเสรมิ กิจกรรมทางกายดว้ ย ศิลปวัฒนธรรมไทยในทอ้ งถ่นิ ชมุ ชนบา้ นหนองมว่ งสอง ตำบล หนองมะนาว อำเภอคง จังหวดั นครราชสีมา. การนำเสนอ ผลงานวิจยั ระดบั ชาติ มสธ. ครัง้ ท่ี 10. มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. 27 พฤศจิกายน 2563, หนา้ 962 – 974. ธวัชชัย เอกสนั ติ, มะลิ โพธพ์ิ มิ พ,์ ภูวดล พลศรีประเสรฐิ , อรสา โนนทอง, จนุ หน่อแกว้ และวลญั ช์ชยา เขตบำรงุ . “การพัฒนาและ ขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะเพอื่ สขุ ภาพด้วยธรรมนญู ตำบล จังหวดั นครราชสมี า” ใน การประชุม วชิ าการและเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 7 นวัตกรรมเพอื่ สขุ ภาพและสงั คม ในยคุ ดิจิตอล” นครราชสีมา: วนั ท่ี 23 พฤษภาคม 2563. วิทยาลยั นครราชสมี า. น. 1155-1167. วรลกั ษณ์ สมบูรณน์ าด,ี ธวชั ชยั เอก สันติ และกนกพร ฉมิ พลี. (2561). “ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม สุขภาพของเกษตรกรผู้ปลกู ข้าวตอ่ การปลูกขา้ วปลอดภยั ในพน้ื ที่ทุ่ง

100 ช่อื – สกุล / วุฒกิ ารศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาทจี่ บ ปีทจี่ บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปที ต่ี ีพิมพ์เผยแพร่ สถาบันที่จบการศึกษา ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. 2544 สัมฤทธิ์ จังหวดั นครราชสมี า”. ใน การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ 6 นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศท์ ิพย์ อาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร วิทยาลัยนครราชสมี า ประจำปี / / ปร.ด. (ประชากรศาสตร)์ 2561 ครั้งท่ี 5 วนั ที่ 31 มีนาคม 2561. หนา้ 428-437. นครราชสีมา /มหาวิทยาลยั มหิดล : วทิ ยาลัยนครราชสมี า. ธวชั ชยั เอกสันติ, พัชรนิ ทร์ ยพุ า, วรลักษณ์ สมบรู ณ์นาดี, ธนิดา ผาติ เสนะ และสุภาพ หวงั ขอ้ กลาง. (2559). “สถานการณ์และแนวโนม้ การใชช้ ีวติ ด้านสุขภาพ ด้านการ เรียนรู้ และด้านสงั คมของเด็กและ เยาวชนในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื กรณีศึกษาเขตสขุ ภาพที่ 9 นครชยั บรุ ินทร์”. ใน การประชมุ วิชาการ และเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครั้งท่ี 3 กา้ วสทู่ ศวรรษท่ี 2 บูรณา การงานวิจยั ใช้องคค์ วามรู้ สคู่ วาม ยง่ั ยนื . หน้า 384-392. นครราชสมี า : วทิ ยาลัยนครราชสมี า. สมเกยี รติ อนิ ทะกนก, พฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศท์ ิพย์, อรรถวิทย์ สงิ หศ์ าลา แสง, รชานนท์ งว่ นใจรัก, ชูสงา่ สสี ัน, ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ.์ (2564). การพฒั นาศกั ยภาพ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหมู บานในการจัดการโรคไมตดิ ตอเร้อื รัง: กรณีศกึ ษาพื้นทรี่ บั ผิดชอบของ โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตาํ บล น้าํ ซบั อําเภอปกธงชยั จงั หวัด นครราชสมี า. วารสารวชิ าการ สำนกั งานป้องกันควบคมุ โรคที่ 9 นครราชสมี า ปีที่ 27 ฉบบั ท่ี 1. หน้า 56-67. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์, พฒุ พิ งศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อรรถวทิ ย์ สงิ ห์ ศาลาแสง, รชานนท์ งว่ นใจรกั . (2563). การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ ในการจัดการคณะที่สอดคล้องกบั บริบทชมุ ชน จังหวดั นครราชสมี า. วารสารสง่ เสริมสขุ ภาพและ อนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม ปีที่ 43 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2563. หน้า 64-76. อรรถวทิ ย์ สิงหศ์ าลาแสง, ทองทพิ ย์ สละวงษ์ลักษณ์, พฒุ พิ งศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์, รชานนท์ ง่วนใจรกั และ ศิริพร พง่ึ เพ็ชร์. (2562). คณุ ภาพ ชวี ิตของผู้สูงอายุทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม

101 ชื่อ – สกุล / วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาท่จี บ ปีท่จี บ ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศกึ ษา ปีที่ตพี มิ พ์เผยแพร่ สถาบันทจี่ บการศกึ ษา ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. ในโรงเรยี นผสู้ งู อาย.ุ ในการ ประชมุ วชิ าการและนำเสนอ ผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 11 “ถักทองานวิจยั ทอ้ งถิ่น...ก้าวไกลสู่ สากล” (Connecting Local Research to International Perspectives) มหาวทิ ยาลยั ราช ภฏั นครราชสมี า. 6-7 สงิ หาคม 2562. (หนา้ 1111-1120). นครราชสมี า: มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า. อรรถวทิ ย์ สงิ ห์ศาลาแสง อรรถวทิ ย์ สิงห์ศาลาแสง, ทองทิพย์ สละวงษ์ ลกั ษณ์, พฒุ ิพงศ์ สัตยวงศ์ทพิ ย์ และทวิ ากรณ์ ราชธู ร. (2562). การพัฒนาครวั เรอื นตน้ แบบในการ จัดการขยะในครวั เรอื น ตำบล หมืน่ ไวย อำเภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสมี า. ในการ ประชุมวชิ าการระดบั ชาตเิ ครอื ขา่ ย บณั ฑติ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ภาคเหนอื ครั้งท่ี 19 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม.่ 10 พฤษภาคม 2562. (หน้า 63-74). เชยี งใหม่: มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่. พุฒิพงศ์ สตั ยวงศท์ พิ ย์, อนสุ รณ์ เปา๋ สูง เนิน และทิวากรณ์ ราชธู ร. (2560) “การพฒั นาความรู้และการปฏิบตั ิ เร่ืองการสขุ าภิบาลอาหารของ ผู้ประกอบการรถเรจ่ ำหนา่ ย อาหาร อำเภอสงู เนนิ จงั หวัด นครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์. 15(3) : 79-87. มาตภุ มู ิ พอกระโทก และพฒุ พิ งศ์ สัต ยวงศท์ พิ ย์. (2557). “การ พฒั นาการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนใน การเฝา้ ระวังและป้องกันโรค ไขเ้ ลอื ดออกโดยกระบวนการเสรมิ พลังอำนาจ ตำบลดา่ นเกวยี น อำเภอโชคชยั จังหวัด นครราชสมี า”. วารสารราชพฤกษ.์ 12(3) : 123-131. Satayavongthip B, Phatisena T, Santiwong C, Aeksanti T. (2014). “Teen-Parenting Behavior to Prevent a Teenager from Premature Pregnancy”. Review of Integrative Business and Economics Research. Vol3

102 ช่ือ – สกุล / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวชิ าทจ่ี บ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศกึ ษา ปที ี่ตีพมิ พเ์ ผยแพร่ สถาบนั ที่จบการศึกษา ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. 7 นางธนดิ า ผาติเสนะ / / ส.ด. (สุขศกึ ษา) / (NRRU) : 115-122. มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จตพุ ร เดื่อไธสง และพฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศ์ ทิพย์. (2556). “ผลการแก้ไข พฤติกรรมการใช้ยาไม่เหมาะสม ของผสู้ ูงอายุดว้ ยโปรแกรมการ ดูแลสุขภาพทบ่ี า้ นในเขตพืน้ ที่ รบั ผิดชอบของสถานีอนามัยหนอง นาพฒั นา อำเภอหว้ ยแถลง จงั หวดั นครราชสมี า”. วารสารราช พฤกษ.์ 10(3) : 27-32. ชตุ ิกาญจน์ คงพงศเ์ กษม และพุฒพิ งศ์ สัตยวงศท์ พิ ย.์ (2556). “การ พฒั นาการมสี ว่ นร่วมของชุมชนใน การฟน้ื ฟสู มรรถภาพคนพิการ โดย ใช้กระบวนการเสริมสรา้ งพลงั อำนาจ ตำบลหว้ ยแย้ อำเภอหนอง บวั ระเหว จังหวดั ชัยภมู ”ิ . วารสาร ราชพฤกษ.์ 10(3) : 31-37. สชุ าติ สนพะเนาว์ และพฒุ ิพงศ์ สัต ยวงศท์ ิพย์. (2556). “การพฒั นา ศักยภาพของอาสาสมัคร สาธารณสขุ ประจำหมบู่ า้ นในการ ตรวจคดั กรองโรคความดันโลหติ สงู ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบของศูนย์ สุขภาพชมชน ทงุ่ กระโดน จงั หวดั นครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์. 10(3) : 39-45. สรุ ะพงษ์ ฝา่ ยเคนา และพุฒพิ งศ์ สัตยวงศท์ ิพย.์ (2556). “การ พฒั นาการดแู ลสขุ ภาพคนพิการ ทางการเคลอ่ื นไหวโดยการมสี ว่ น รว่ มของชมุ ชน ในพนื้ ทร่ี บั ผิดชอบ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล บ้านใหม่ อำเภอเมอื ง จังหวัด นครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ.์ 10(3) : 46-52. ทพิ าดา ประจง และพฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศ์ ทิพย.์ (2556). “การพฒั นา รปู แบบกจิ กรรมการออกกำลงั กาย ของสมาชกิ ชมรมผสู้ ูงอายุโดยการ มีส่วนรว่ มของชุมชน เทศบาล ตำบลปรใุ หญ่ อำเภอเมอื ง นครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์. 10(2) : 96-103. 2544 บบุ ผา นรสาร และธนิดา ผาตเิ สนะ. (2563). การพฒั นาพฤติกรรมการ ออกกำลังกาย โดยกระบวนการ เสรมิ สรา้ งพลงั อำนาจในผสู้ ูงอายุ บ้าน ยองแยง ตำบลหนองระเวียง อำเภอ

103 ช่ือ – สกลุ / วุฒกิ ารศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาท่จี บ ปีทีจ่ บ ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปีทต่ี พี ิมพเ์ ผยแพร่ สถาบันทจ่ี บการศกึ ษา ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. เมือง จงั หวัดนครราชสมี า. วารสาร พยาบาลศาสตรแ์ ละสุขภาพ. 43 (1) ม.ค.-ม.ี ค.: 54-64. ศริ เิ พญ็ วารีวนิช และธนดิ า ผาติเสนะ. (2563). ผลของโปรแกรมเสรมิ สร้าง พลงั อำนาจและการเห็นคณุ คา่ ใน ตนเอง ของผู้สูงอายทุ ่มี ภี าวะซมึ เศร้า ในสถานสงเคราะหค์ นชรา. วารสาร การพยาบาลและการดแู ลสขุ ภาพ. 38 (2) เม.ย.– ม.ิ ย.: 111-118. สุภาพร ทพิ ย์กระโทก และธนิดา ผาติ เสนะ. (2563). ผลของโปรแกรมการ จัดการตนเองเพอ่ื ปรับเปลยี่ น พฤติกรรมสขุ ภาพ ค่าดชั นมี วลกาย และเส้นรอบเอวของอาสาสมัคร สาธารณสขุ ประจำหมูบ่ า้ นทมี่ ภี าวะ อ้วนลงพุง. วารสารศนู ยอ์ นามยั ท่ี 9. 14 (34) พ.ค.– ส.ค.: 210-223. ยุภดี สงวนพงษ์ และ ธนดิ า ผาตเิ สนะ. (2563). คุณภาพชวี ติ ของเดก็ ปฐมวัย อายุ 2-4 ปี ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก ตําบลนาฝาย อําเภอเมอื ง จงั หวดั ชยั ภมู .ิ วารสารศูนย์อนามยั ท่ี 9. 14 (35) ก.ย.-ธ.ค. :389-409. Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. In The 4th Rajabhat University National and International Research and Academic Conference. Buriram : Buriram Rajabhat University. อญั ญาณี สาสวน และธนดิ า ผาติเสนะ. (2558). “ผลของโปรแกรมการ เสริมสรา้ งพลงั อำนาจทม่ี ตี ่อการฟน้ื ฟู สภาพของผ้ปู ่วยหลงั ไดร้ บั การผา่ ตัด เปล่ียนขอ้ เข่าเทยี ม”. ใน รายงานการ ประชมุ วชิ าการและเสนอ ผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ สรา้ งสรรค์ และพัฒนา เพ่ือก้าวหนา้ สู่ประชาคม อาเซียน ครงั้ ท่ี 2. หนา้ 110-119. นครราชสมี า : วิทยาลยั นครราชสมี า. จันทกานต์ วลัยเสถยี ร และธนดิ า ผาติ เสนะ. (2558). “ผลของโปรแกรมการ

104 ช่อื – สกุล / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาทจ่ี บ ปที ีจ่ บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ยั / อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปที ีต่ ีพิมพเ์ ผยแพร่ สถาบนั ท่ีจบการศึกษา ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพใน บุคลากรกลมุ่ เสยี่ งโรคความดันโลหิต สูงของสำนกั งานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 5 จงั หวดั นครราชสมี า”. ใน รายงาน การประชมุ วชิ าการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศกึ ษาแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 34. หนา้ 750-759. บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. จรีวฒั นา กลา้ หาญ และธนิดา ผาตเิ สนะ. (2558). “แนวทางการพัฒนาจดั สวสั ดกิ ารสังคมสำหรับผสู้ ูงอายทุ ีร่ ับ เบ้ยี ยงั ชพี เทศบาลหนองไผ่ลอ้ ม อำเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานการประชมุ วชิ าการและ นำเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติและ นานาชาติ ครงั้ ท่ี 6. หน้า 137-146. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวน สนุ ันทา. Phatisena, T. (2015). “A Study of Health Status and Health Care for Senior Citizen at Mueang District, Nakhon Ratchasima”. Review of Integrative Business and Economics Research. Vol 4(NRRU) : 175-182. Phatisena, T. (2015). “Knowledge Management of Local Wisdom in Health Care of Parpartum Women by Tub Moa Gluea Method”. In The International conference Proceeding ASEAN Community Knowledge Networks for the Economy Society, Culture, and Environment Stability. Chiang Rai : Chiang Rai Rajabhat University. ธนิดา ผาตเิ สนะ. (2557). “การศึกษา การสรา้ งเสริมสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุ ในพ้นื ท่ีเมอื งชุมชนสามคั คี ตำบล ตลาด อำเภอเมอื ง จังหวดั มหาสารคาม”. วารสารวิจัยเพ่ือ การพัฒนาเชิงพ้นื ท.่ี 6(6) : 68- 69. Phatisena, T. (2014). “Folk Healers and Holistic Health Care : A Case Study of Polsongkram Subdistrict,

105 ชอื่ – สกลุ / วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวชิ าท่จี บ ปที จี่ บ ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/งานวจิ ยั / อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วิชาการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปที ตี่ ีพมิ พ์เผยแพร่ สถาบันท่จี บการศกึ ษา ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร / ผศ. รศ. ศ. 2553 Nonsong District, Nakhon ศษ.ด. (การบริหาร Ratchasima Province”. In 8 นางสาวทองทพิ ย์ / การศกึ ษา)/ มหาวทิ ยาลยั International Conference สละวงษล์ ักษณ์ วงษ์ชวลิตกุล Proceedings ASEAN Community Knowledge Network for the Economy, Society, Culture, and Environment Stability. P275- 281. Chiang Rai : Chiang Rai Rajabhat University. Satayavongthip B, Phatisena T, Santiwong C, Aeksanti T. (2014). “Teen-Parenting Behavior to Prevent a Teenager from Premature Pregnancy”. Review of Integrative Business and Economics Research. Vol3(NRRU) : 115-122. พรพมิ ล ประภาสริ พิ นั ธ์ุ และธนดิ า ผาติ เสนะ. (2556). “ปจั จัยทมี่ ีอทิ ธิพล ตอ่ การด่ืมเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ ของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏ นครราชสมี า”. วารสารราช พฤกษ์. 10(3) : 94-99. สมเกียรติ อินทะกนก, พฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศท์ ิพย์, อรรถวทิ ย์ สงิ ห์ศาลา แสง, รชานนท์ งว่ นใจรัก, ชูสง่า สีสนั , ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์. (2564). การพฒั นาศกั ยภาพ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาํ หมู บานในการจดั การโรคไมติดตอเร้ือ รงั : กรณีศึกษาพน้ื ทรี่ ับผิดชอบของ โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบล นํา้ ซบั อําเภอปกธงชยั จังหวัด นครราชสมี า. วารสารวชิ าการ สำนกั งานปอ้ งกันควบคมุ โรคที่ 9 นครราชสีมา ปีท่ี 27 ฉบบั ท่ี 1. หน้า 56-67. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์, พฒุ พิ งศ์ สตั ยวงศ์ทพิ ย์, อรรถวทิ ย์ สงิ ห์ ศาลาแสง, รชานนท์ งว่ นใจรกั . (2563). การพฒั นาชุมชนต้นแบบ ในการจดั การคณะท่ีสอดคล้องกบั บริบทชุมชน จังหวัดนครราชสมี า. วารสารสง่ เสรมิ สุขภาพและ อนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม ปีท่ี 43 ฉบบั ท่ี 3 กรกฎาคม - กนั ยายน 2563. หนา้ 64-76. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ์ และ อรรถ

106 ช่อื – สกลุ / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาทีจ่ บ ปที จ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศึกษา ปีท่ีตีพิมพเ์ ผยแพร่ สถาบนั ที่จบการศกึ ษา ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. วิทย์ สิงห์ศาลาแสง. (2562). การ พฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาในการ เยี่ยมบ้านคลายทุกข์ ตำบลหนอง พลวง อำเภอจกั ราช จังหวดั นครราชสีมา. ในการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ย บัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภาคเหนอื ครั้งท่ี 19 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม.่ 10 พฤษภาคม 2562. (หน้า 105-118). เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่. อรรถวทิ ย์ สงิ ห์ศาลาแสง, ทองทพิ ย์ สละวงษ์ลักษณ,์ พฒุ พิ งศ์ สตั ยวงศ์ ทพิ ย์ และทิวากรณ์ ราชูธร. (2562). การพฒั นาครวั เรอื น ต้นแบบในการจัดการขยะใน ครวั เรอื น ตำบลหมนื่ ไวย อำเภอ เมืองนครราชสมี า จังหวัด นครราชสมี า. ในการประชมุ วิชาการระดบั ชาติเครือขา่ ย บัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภาคเหนอื คร้ังที่ 19 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม.่ 10 พฤษภาคม 2562. (หน้า 63-74). เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ์, ธีระวธุ ธรรมกุล และอรรถวทิ ย์ สงิ ห์ ศาลาแสง. (2560). “การพัฒนา ศักยภาพของอาสาสมคั ร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการ จัดการปัญหาสรุ าในชมุ ชนเขต เมืองก่งึ ชนบท ตำบลตลาด อำเภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา”. ใน รายงานการ ประชุมวิชาการระดบั ชาตดิ า้ น วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ ครงั้ ที่ 1 สำนกั วิชาวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ประจำปี 2560. หน้า 1-8. เชยี งราย : มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์ และคณะ. (2559). “ปัจจัยท่ี สง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการป้องกนั โรค ความดนั โลหติ สูงของกลุ่มเสย่ี ง ตำบลหนองไข่น้ำ อำเภอเมอื ง จังหวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานการประชุมวิชาการและ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ คร้ังที่ 3 กา้ วสูท่ ศวรรษที่ 2: บรู ณาการ งานวจิ ัย ใชอ้ งคค์ วามรสู้ คู่ วาม

107 ช่อื – สกลุ / วุฒิการศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาที่จบ ปที จ่ี บ ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/งานวิจยั / อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศึกษา ปีที่ตพี มิ พเ์ ผยแพร่ สถาบันทจี่ บการศกึ ษา ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. 9 นายอรรถวทิ ย์ สงิ หศ์ าลาแสง // ส.ด. / ย่ังยืน. หน้า 378-383. มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น นครราชสมี า : วิทยาลยั นครราชสมี า. พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2559). “การ จัดการขยะมลู ฝอยในระดบั ครัวเรือนของหมู่บ้านโปง่ สุริยา ตำบลโป่งแดง อำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสมี า”. ใน รายงาน การประชุมวชิ าการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 ศาสตร์แห่งวทิ ยาการจดั การเพอื่ รับ ใช้สังคม 3 ทศวรรษแหง่ การตาม รอยแมข่ องแผน่ ดนิ . หนา้ 1116- 1122. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า. 2560 อรรถวทิ ย์ สิงหศ์ าลาแสง. (2564). การ พัฒนารปู แบบจดั การเรยี นการ สอนแบบผสมผสาน ใน สถานการณก์ ารระบาดของโรคโค วิด-19. วารสารสบื เนื่องของการ ประชุมวิชาการพะเยาวจิ ัยคร้งั ท่ี 10 วนั ท่ี 25-28 มกราคม 2564 หน้า 1500-1511. สมเกียรติ อนิ ทะกนก, พฒุ พิ งศ์ สัต ยวงศท์ ิพย์, อรรถวิทย์ สงิ หศ์ าลา แสง, รชานนท์ งว่ นใจรัก, ชสู งา่ สสี นั , ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์. (2564). การพฒั นาศกั ยภาพ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหมู บานในการจดั การโรคไมติดตอเรอื้ รงั : กรณีศกึ ษาพนื้ ทรี่ ับผิดชอบของ โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตาํ บล นํ้าซับ อาํ เภอปกธงชัย จังหวัด นครราชสีมา. วารสารวชิ าการ สำนักงานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 9 นครราชสมี า ปที ่ี 27 ฉบับท่ี 1. หนา้ 56-67. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ์, พุฒพิ งศ์ สตั ยวงศท์ พิ ย์, อรรถวทิ ย์ สิงห์ ศาลาแสง, รชานนท์ งว่ นใจรัก. (2563). การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ ในการจดั การคณะทส่ี อดคล้องกับ บรบิ ทชมุ ชน จงั หวดั นครราชสมี า. วารสารส่งเสริมสุขภาพและ อนามยั สิง่ แวดล้อม ปีที่ 43 ฉบบั ท่ี 3 กรกฎาคม - กนั ยายน 2563. หน้า 64-76. รชานนท์ ง่วนใจรัก อรรถวทิ ย์ สิงห์ ศาลาแสง และ อญั ชลีพร อิษฎา กร. (2563). ผลของโปรแกรมการ

108 ชอ่ื – สกุล / วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าทจ่ี บ ปีที่จบ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจยั / อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศึกษา ปที ตี่ ีพิมพ์เผยแพร่ สถาบันทจ่ี บการศกึ ษา ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. เรยี นรทู้ นั ตสขุ ภาพแบบผสมผสาน เพอ่ื พฒั นาการรับรปู้ ระโยชน์ใน การดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากหญิง ตั้งครรภใ์ นศูนย์อนามยั ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ งของ ไทย. วารสารทนั ตา ภบิ าล, 31(1), 100-115. อรรถวทิ ย์ สิงหศ์ าลาแสง, ทองทพิ ย์ สละวงษ์ลกั ษณ์, พฒุ พิ งศ์ สตั ยวงศ์ ทิพย์, รชานนท์ ง่วนใจรกั และ ศริ ิพร พ่งึ เพช็ ร์. (2562). คณุ ภาพ ชวี ติ ของผู้สูงอายุทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ในโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ. ในการ ประชมุ วชิ าการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ครงั้ ที่ 11 “ถักทองานวจิ ยั ทอ้ งถิน่ ...กา้ วไกลสู่ สากล” (Connecting Local Research to International Perspectives) มหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏนครราชสมี า. 6-7 สงิ หาคม 2562. (หนา้ 1111-1120). นครราชสีมา: มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครราชสมี า. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์ และ อรรถ วิทย์ สงิ ห์ศาลาแสง. (2562). การ พัฒนาศกั ยภาพนักศึกษาในการ เยีย่ มบ้านคลายทกุ ข์ ตำบลหนอง พลวง อำเภอจกั ราช จงั หวัด นครราชสีมา. ในการประชมุ วชิ าการระดับชาติ เครอื ข่าย บัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ภาคเหนอื ครัง้ ที่ 19 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม.่ 10 พฤษภาคม 2562. (หนา้ 105-118). เชยี งใหม:่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่. อรรถวทิ ย์ สิงห์ศาลาแสง, ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ์, พฒุ พิ งศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์ และทิวากรณ์ ราชธู ร. (2562). การพฒั นาครัวเรอื น ตน้ แบบในการจัดการขยะใน ครวั เรือน ตำบลหมน่ื ไวย อำเภอ เมอื งนครราชสมี า จงั หวัด นครราชสีมา. ในการประชมุ วิชาการระดับชาติเครือขา่ ย บัณฑติ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภาคเหนอื ครงั้ ท่ี 19 มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม.่ 10 พฤษภาคม 2562. (หนา้ 63-74). เชียงใหม:่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่. อรรถวทิ ย์ สงิ ห์ศาลาแสง. (2560).

109 ช่อื – สกลุ / วฒุ กิ ารศึกษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาที่จบ ปีทจี่ บ ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/งานวิจยั / อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศึกษา ปที ีต่ ีพิมพ์เผยแพร่ สถาบันทจ่ี บการศกึ ษา ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. การพัฒนาศกั ยภาพของ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำ หมู่บา้ น ในการจดั การปัญหาสรุ า ในชุมชนเขตเมืองกง่ึ ชนบท ตำบล ตลาด อำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวัดนครราชสมี า. หนังสอื ประมวลการประชมุ วิชาการ (Proceeding) การประชมุ วิชาการระดับชาติดา้ น วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ ครงั้ ท่ี 1 สำนกั วชิ าวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ประจำปี 2560. จัดโดย มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง. ณ จังหวดั เชียงราย วันที่ 7 - 8 ธนั วาคม 2560. กญั ญา ไชยโวหาร, อมั รินทร์ หวลคิด, เพชรธาดา คงชนะ และอรรถวทิ ย์ สิงห์ศาลาแสง. (2561). สถานการณ์และปจั จัยท่ีมี ความสมั พันธต์ ่อการเกดิ โรคความ ดนั โลหิตสงู ตำบลโคกสงู อำเภอ เมอื งนครราชสมี า จังหวดั นครราชสีมา. หนังสือประมวลการ ประชุมวิชาการ (Proceeding) การประชมุ วิชาการระดบั ชาตริ าช ภฏั เลย 2561. จัดโดย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย. ณ จงั หวัดเลย วันท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2561. อรรถวทิ ย์ สิงหศ์ าลาแสง และทอง ทพิ ย์ สะวงษ์ลกั ษณ.์ (2561). การ พัฒนาสมรรถนะผูน้ ำนกั เรยี น ใน การจดั การขยะในครวั เรือน. หนงั สือประมวลการประชุม วิชาการ (Proceeding) การ ประชุมวิชาการระดับชาตริ าชภัฏ เลย 2561. จดั โดยมหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย. ณ จงั หวดั เลย วันที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2561. อรรถวทิ ย์ สิงหศ์ าลาแสง และทอง ทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ.์ (2561). “การพฒั นาเครอื ขา่ ยอาสาสมคั ร สาธารณสุขในการจัดการปัญหา สุรา เขตเมอื งกึง่ ชนบท ตำบล ตลาด อำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า”. ใน การ ประชมุ วชิ าการระดับชาติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ คร้ังที่ 5. หน้า 479-492. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภฏั

110 ชื่อ – สกุล / วฒุ ิการศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาท่ีจบ ปที ี่จบ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศึกษา ปที ี่ตพี มิ พ์เผยแพร่ สถาบนั ทจ่ี บการศึกษา ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. 10 นายรชานนท์ ง่วนใจรกั / ปร.ด. (สาธารณสขุ เพชรบูรณ์. ศาสตร์) / มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 2559 สมเกียรติ อนิ ทะกนก, พุฒพิ งศ์ สัต ยวงศท์ ิพย์, อรรถวิทย์ สิงห์ศาลา แสง, รชานนท์ งว่ นใจรกั , ชูสงา่ สสี ัน, ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ.์ (2564). การพฒั นาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บานในการจดั การโรคไมตดิ ตอเรื้อ รัง: กรณีศึกษาพืน้ ทร่ี ับผดิ ชอบของ โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบล นา้ํ ซับ อาํ เภอปกธงชยั จงั หวดั นครราชสมี า. วารสารวชิ าการ สำนกั งานปอ้ งกันควบคมุ โรคที่ 9 นครราชสมี า ปีท่ี 27 ฉบบั ที่ 1. หนา้ 56-67. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์, พุฒพิ งศ์ สตั ยวงศท์ พิ ย์, อรรถวทิ ย์ สิงห์ ศาลาแสง, รชานนท์ งว่ นใจรกั . (2563). การพฒั นาชุมชนตน้ แบบ ในการจัดการคณะท่สี อดคลอ้ งกับ บรบิ ทชมุ ชน จงั หวดั นครราชสมี า. วารสารส่งเสรมิ สขุ ภาพและ อนามยั สิง่ แวดลอ้ ม ปที ่ี 43 ฉบบั ที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2563. หน้า 64-76. รชานนท์ ง่วนใจรัก, อรรถวิทย์ สิงห์ ศาลาแสง และ อญั ชลพี ร อิษฎา กร. (2563). ผลของโปรแกรมการ เรียนรทู้ นั ตสุขภาพแบบผสมผสาน เพอ่ื พฒั นาการรับร้ปู ระโยชน์ใน การดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากหญิง ตัง้ ครรภใ์ นศูนย์อนามยั ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนล่างของ ไทย. วารสารทนั ตา ภิบาล, 31(1), 100-115. ศภุ วรรณ ชาตศิ รนิ ทร์, รชานนท์ ง่วน ใจรกั . ผลของโปรแกรมสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางกายด้วยการเดินนบั กา้ วตอ่ สมรรถภาพหัวใจและหลอด เลือดของวัยผใู้ หญ่ท่ีมีนำ้ หนักเกิน. วารสารวจิ ยั สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 2562; 12(4); 40-48. อรรถวทิ ย์ สงิ หศ์ าลาแสง, ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ์, พุฒพิ งศ์ สตั ยวงศ์ ทพิ ย์, รชานนท์ ง่วนใจรกั และ ศริ พิ ร พง่ึ เพช็ ร์. (2562). คุณภาพ ชวี ติ ของผสู้ ูงอายุท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม ในโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ. ในการ ประชุมวชิ าการและนำเสนอ

111 ช่อื – สกลุ / วฒุ ิการศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าท่จี บ ปีท่ีจบ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ยั / อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศกึ ษา ปที ่ีตีพมิ พ์เผยแพร่ สถาบนั ท่ีจบการศึกษา ผูร้ ับผิดชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. ผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 11 “ถกั ทองานวจิ ยั ทอ้ งถ่นิ ...กา้ วไกลสู่ สากล” (Connecting Local Research to International Perspectives) มหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏนครราชสมี า. 6-7 สงิ หาคม 2562. (หน้า 1111-1120). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสมี า. นฤมล วงศ์วัยรักษ์, รชานนท์ งว่ นใจรัก. ผลของโปรแกรมการพฒั นาสมรรถนะ ในการป้องกนั และควบคมุ โรคติดเชื้อ ไวรัสซิกาของอาสาสมคั รสาธารณสุข ศนู ย์แพทย์ชุมชนเมือง อำเภอเมอื ง จังหวัดนครราชสมี า พ.ศ. 2560. วารสารวิชาการสำนักงานป้องกัน ควบคมุ โรคที่ 9 จังหวดั นครราชสีมา 2562; 25(3): 24-33. ทิวาพร โชตจิ ำลอง, รชานนท์ ง่วนใจรกั . ผลของโปรแกรมส่งเสรมิ สขุ ภาพตาม หลกั การยศาสตร์ในการทำงานของ พนักงานท่ีปฏิบตั งิ านด้าน คอมพวิ เตอรใ์ น โรงพยาบาล. วารสารวชิ าการ สำนกั งานป้องกนั ควบคมุ โรคที่ 9 จงั หวดั นครราชสมี า 2562; 25(3):5- 14. ชนิศา เสนคราม, รชานนท์ งว่ นใจรกั . การพฒั นาการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน และตวั แบบบคุ คลในการป้องกันและ ควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออกตำบลทงุ่ กระ ตาดพัฒนา อำเภอหนองก่ี จังหวัด บุรรี มั ย์ พ.ศ. 2560. วารสารวชิ าการ สำนักงานป้องกนั ควบคุมโรคที่ 9 จงั หวดั นครราชสีมา 2562; 25(1): 27-36. รชานนท์ งว่ นใจรัก และคณะ. (2560). การรบั รแู้ ละนสิ ยั การบริโภคอาหาร เส่ยี งตอ่ โรคพยาธิใบไมต้ ับในชมุ ชน แห่งหนึง่ ของจงั หวัดนครราชสมี า. ใน การประชุมวชิ าการ ประจำปี 2560 มหาวิทยาลยั แม่โจ้. หนา้ 546-554. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้. พัชรี ศรกี ตุ า และคณะ. (2560). “ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความรู้ ทศั นคติ ตอ่ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค อาหารของเด็กนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึง สาร อำเภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวัดนครราชสมี า”. ใน รายงาน

112 ชื่อ – สกลุ / วฒุ ิการศึกษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าทจี่ บ ปที ่ีจบ ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/งานวจิ ัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วิชาการ การศึกษา/ การศึกษา ปีท่ตี ีพิมพ์เผยแพร่ สถาบนั ท่ีจบการศกึ ษา ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร / ผศ. รศ. ศ. 2560 การประชุมวชิ าการระดับชาติ ปร.ด. (จลุ ชีววทิ ยาทาง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ ครัง้ 11 นางสาวพฤมล น้อยนรนิ ทร์ / / การแพทย์) / 2561 ที่ 4. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ.์ 12 นายทวิ ากรณ์ ราชูธร Jirapornkul C, et al. (2016). “Stroke ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์) knowledge among various มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ suburban communities in KhonKaen Province, Thailand”. J Pub Health Dev. 14(3) : 13- 27. ชนากาน สิงห์หลง, ชนญั ญา จริ ะพรกุล และรชานนท์ ง่วนใจรัก. (2558). “พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผ้สู งู อายุ ตำบลเวยี งคำ อำเภอกมุ ภวาปี จงั หวัด อุดรธาน”ี . วารสารโรงพยาบาล สกลนคร. 18(3) : 219-229. พฤมล นอ้ ยนรินทร,์ พมิ พน์ ารา ประเสรฐิ กุล พรพมิ ล แคลนกระ โทก และรชั นีกรณ์ โพธภ์ิ ยั . ความรู้ และพฤตกิ รรมการ ปอ้ งกนั โรคไข้เลอื ดออกใน อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำ หมบู่ า้ น (อสม.) ตำบลกระโทก อำเภอโชคชยั จังหวัด นครราชสมี า ในการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั ภาคตะวันออกฉยี งเหนอื ครง้ั ที่ 8 บูรณาการงานวจิ ยั และนวัตกรรม สู่สังคมยคุ New normal วันที่ 28 พฤษภาคม 2564 (หน้า 727- 735). พฤมล นอ้ ยนรนิ ทร์ และคณะ. (2560). “ความรู้และพฤตกิ รรมการใช้ สารเคมีปอ้ งกนั และกำจดั ศัตรพู ืช ของเกษตรกรผู้ปลกู มันสำปะหลงั บ้านหนองสรวงพฒั นา ตำบล หนองสรวง อำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสมี า” ใน รายงานการประชุมวิชาการเสนอ ผลงานวิจัยระดับบณั ฑติ ศึกษา แห่งชาติ คร้งั ท่ี 44. หน้า 463- 472. อุบลราชธานี : มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี. พชั รี ศรีกุตา, ปณั รดา ฐานะปัตโต,นพเกา้ บวั งาม, นรา ระวาดชัย,และทวิ ากรณ์ ราชูธร.การศกึ ษาสภาพการจดั การ สว้ มสาธารณะของมหาวิทยาลยั ความรู้ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมการใช้ สว้ มสาธารณะของนักศกึ ษาใน มหาวิทยาลยั .วารสารวชิ าการ สำนกั

113 ชื่อ – สกุล / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าท่จี บ ปีท่จี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ยั / อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วิชาการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ปีท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ สถาบนั ท่ีจบการศกึ ษา ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. ป้องกันควบคมุ โรคท่ี 9 จงั หวดั นครราชสมี า. 27(2) (กมุ ภาพนั ธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54. อรรถวทิ ย์ สิงห์ศาลาแสง, ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ,์ พฒุ พิ งศ์ สัตยวงศ์ ทพิ ย์ และทิวากรณ์ ราชูธร. (2562). การพฒั นาครัวเรอื น ตน้ แบบในการจัดการขยะใน ครัวเรอื น ตำบลหมนื่ ไวย อำเภอ เมอื งนครราชสมี า จังหวดั นครราชสีมา. ในการประชุม วชิ าการระดับชาตเิ ครือข่าย บณั ฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ภาคเหนอื ครั้งท่ี 19 มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่. 10 พฤษภาคม 2562. (หน้า 63-74). เชยี งใหม่: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่. ทองทพิ ย์ สละวงษล์ ักษณ์, พุฒพิ งศ์ สัตยวงศท์ พิ ย์, ศริ พิ ร พึ่งเพชร, ทวิ ากรณ์ ราชูธร.(2562).การ พฒั นาหลกั สูตรสง่ เสรมิ คุณภาพ ชวี ิตผสู้ งู อายแุ บบมีสว่ นรว่ มเขต พื้นท่เี ทศบาลตำบลหัวทะเล อำเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวัด นครราชสมี า.วารสารวจิ ัย สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ อุบลราชธาน.ี ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562. พฒุ ิพงศ์ สัตยวงศท์ พิ ย์, อนสุ รณ์ เปา๋ สงู เนินและทวิ ากรณ์ ราชธู ร. (2560). การพฒั นาความรู้และการ ปฏบิ ตั ิเรือ่ งการสุขาภิบาลอาหาร ของผปู้ ระกอบการรถเร่จำหนา่ ย อาหาร อำเภอสงู เนิน จังหวดั นครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 15 ฉบับท่ี 3 (กนั ยายน- ธนั วาคม 2560). 15(3),79-80. ทิวากรณ์ ราชธู ร และนรา ระวาดชยั . (2560). “ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ คณุ ภาพ น้ำดม่ื ตหู้ ยอดเหรยี ญอตั โนมัติ ชุมชน หนา้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา”. ใน การประชุม วชิ าการระดับชาตพิ บิ ลู สงคราม วจิ ยั ครั้งที่ 3 Thailand 4.0 นวัตกรรมการวจิ ยั เพ่อื การพัฒนา อย่างยง่ั ยืน วนั ที่ 23-24 ธนั วาคม 2560. หนา้ 384. พิษณโุ ลก : มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม.

114 ช่ือ – สกลุ / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาท่ีจบ ปที ีจ่ บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ วิชาการ การศึกษา/ การศกึ ษา ปที ตี่ พี ิมพ์เผยแพร่ ตรี โท เอก สถาบนั ที่จบการศึกษา ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร / ผศ. รศ. ศ. 13 นางสาวภษิ ณี วิจนั ทกึ วท.ม. (สาธารณสขุ ศาสตร์) / 2555 ภษิ ณี วจิ นั ทกึ . ปจั จยั ทำนายพฤติกรรม มหาวทิ ยาลยั มหิดล การใช้ยาปฏิชีวนะของอาสาสมคั ร สาธารณสุขประจำหมูบ่ า้ น. วารสาร พยาบาลทหารบก 2564;22(1): ภิษณี วจิ ันทึก. (2563). การศกึ ษาผลของ การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้โครงงาน เป็นฐานในรายวชิ าสมนุ ไพรและ การแพทย์แผนไทย ของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวทิ ยาลัยราช ภฏั นครราชสมี า. หนงั สอื ประมวล การประชุมวชิ าการ (Proceeding) นอร์ทเทิรน์ วิจยั ครั้งที่ 6 ประจำปี การศึกษา 2562 “นวตั กรรมเพอ่ื สขุ ภาพ ดว้ ยสมนุ ไพรไทย” ณ วิทยาลยั นอรท์ เทริ ์น วนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2563, 1238-1248. ภิษณี วจิ ันทึก. ปัจจยั ทมี่ ีความสมั พนั ธ์กบั พฤติกรรมการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์สมุนไพร ของประชาชนบ้านหนองบัวศาลา จงั หวดั นครราชสมี า. วารสาร วิทยาลยั พยาบาลพระปกเกลา้ จันทบรุ ี 2563;31:12-21. ภิษณี วิจันทกึ . ความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมการใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร ของประชาชนบา้ นหนองบวั ศาลา อำเภอเมอื ง จังหวัดนครราชสมี า. วารสารวชิ าการสาธารณสุข 2562;28(2):244-54. ภิษณี วิจนั ทกึ และมารตุ ต้ังวฒั นาชลุ ีพร. ฤทธิ์ตา้ นจลุ ชพี ของนำ้ มนั หอม ระเหยยูคาลปิ ตสั . ธรรมศาสตรเ์ วช สาร 2562;19:79-89. Wichantuk P, Diraphat P, Utrarachkij F, Tangwattanachuleeporn M, Hirunpetcharat C. Antibacterial activity of Rafflesia kerrii Meijer extracts against hospital isolates of methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA). JTIR 2018; 13: 40-45. ภิษณี วจิ ันทกึ , ฐิติมา โพธ์ชิ ยั , กนั ยารัตน์ จ่างโพธ์ิ, ดารณุ ี ประเสริฐสังข์, ศศิวมิ ล พิมพใ์ หม่, อัญชลี เพยี รการ และอมุ าพร โมบขุนทด. (2561). ภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการ บรโิ ภคอาหารของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาตอนปลาย: กรณีศกึ ษาโรงเรยี นในเขตอำเภอ เมืองนครราชสีมา จังหวัด

115 ชือ่ – สกลุ / วฒุ กิ ารศึกษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาทจี่ บ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วิชาการ การศึกษา/ การศึกษา ปีทต่ี พี มิ พ์เผยแพร่ สถาบนั ที่จบการศกึ ษา ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. 14 นายนรา ระวาดชัย / ส.ม. (อนามยั นครราชสมี า. หนังสือประมวลการ ส่ิงแวดลอ้ ม) / ประชมุ วชิ าการ (Proceeding) การ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้ังที่ 5 (National Conference on Education 2018 (NICE) Education) ณ จังหวัดภเู ก็ต วันท่ี 5-7 กรกฎาคม 2561, 1571-1577. ภิษณี วิจนั ทึก, จริ าภรณ์ เจริญสขุ , ธชิ า ภรณ์ ขุนแกว้ , วไิ ลพร แนวหาร, สริ ิวิมล แววกระโทก และสุภาพร มุ่งอยากกลาง. (2560). ความรู้ และพฤติกรรมการออกกำลงั กาย ของนกั ศกึ ษาภาคปกติ คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. หนังสอื ประมวลการประชมุ วิชาการ (Proceeding) การประชมุ วชิ าการ ระดับชาติราชภัฏเพชรบรุ ีวิจัย ศิลปวัฒนธรรม ครัง้ ท่ี 4. จดั โดย มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี. ณ จังหวัดเพชรบุรี วันที่ 3 ธนั วาคม 2560, 19 – 24. ภษิ ณี วจิ ันทกึ , นิศารัตน์ สวัสดด์ิ ล, ปยิ รัฐ เหล่าอุด, พจิ ิตรา แดงนกขุ้ม, ภัทรา มาอินทร์ และวจิ ติ รา ศรี บญุ .(2559). พฤตกิ รรมการ ส่งเสรมิ สขุ ภาพของผสู้ ูงอายุ เทศบาลตำบลดา่ นเกวยี น อำเภอ โชคชัย จงั หวัดนครราชสมี า. หนังสือประมวลการประชุม วิชาการ (Proceeding) การ ประชมุ วิชาการระดับชาตแิ ละ นานาชาติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุ ราษฎร์ธานวี จิ ยั คร้งั ท่ี 12. จดั โดย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธาน.ี ณ จังหวดั สุราษฎร์ธานี วันที่ 27- 28 ตลุ าคม 2559, 417-427. 2555 พชั รี ศรีกตุ า, ปัณรดา ฐานะปตั โต,นพเกา้ บวั งาม, นรา ระวาดชัย,และทวิ ากรณ์ ราชธู ร.การศึกษาสภาพการจดั การ ส้วมสาธารณะของมหาวทิ ยาลยั ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการใช้ ส้วมสาธารณะของนักศกึ ษาใน มหาวทิ ยาลยั .วารสารวชิ าการ สำนัก ป้องกันควบคุมโรคท่ี 9 จงั หวดั นครราชสมี า. 27(2) (กุมภาพันธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54. นรา ระวาดชัย, คมอรญั ปอ้ งนาน,ณัฐ นนท์ พระสวา่ ง,นัฐพงษ์ ศริ ิบญุ ,สุร เกยี รติ ออมอด และอภวิ ัฒน์ บวั

116 ชือ่ – สกลุ / วุฒิการศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาท่ีจบ ปที จ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วิชาการ การศึกษา/ การศึกษา ปีท่ีตพี ิมพเ์ ผยแพร่ สถาบนั ท่ีจบการศกึ ษา ผูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. 15 นางพัชรี ศรกี ุตา / ส.ด. (สาธารณสขุ ประชุม. (2560). สขุ าภบิ าลอาหาร ศาสตร)์ / และการปนเปอื้ นอาหารของตลาด มหาวิทยาลยั ขอนแก่น นดั ในเทศบาลสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสมี า. หนังสือ ประมวลการประชมุ วิชาการ (Proceeding) การประชุม วชิ าการระดับชาตวิ ิจยั รำไพพรรณี ครัง้ ที่ 11 และงานประชุมวชิ าการ ระดบั ชาตมิ หาวทิ ยาลัยราชภฏั กลมุ่ ศรอี ยธุ ยา ครงั้ ท่ี 8. จดั โดย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รำไพพรรณ.ี ณ จงั หวดั จนั ทบรุ ี วันท่ี 19 - 20 ธนั วาคม 2560. ทิวากรณ์ ราชธู ร และนรา ระวาดชยั . (2560). ปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ คณุ ภาพ นำ้ ด่มื จากตูห้ ยอดเหรยี ญอัตโนมัติ ชมุ ชนหน้ามหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา. หนังสอื ประมวลการ ประชุมวิชาการ (Proceeding) การนำเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ พบิ ลู สงครามวิจัย ครง้ั ท่ี 3 จดั โดย มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม ณ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก วนั ท่ี 23-24 มีนาคม 2560, 179-185. พชั รี ศรกี ุตา, รชานนท์ ง่วนใจรัก, นรา ระวาดชัย และคณะ. (2560). ความสมั พันธ์ระหวา่ งความรู้ ทัศนคติ ตอ่ พฤติกรรมการบรโิ ภค อาหารของเดก็ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4-6 โรงเรียน บา้ นบงึ สาร อำเภอเมอื ง จังหวดั นครราชสีมา. หนังสอื ประมวลการ ประชุมวิชาการ (Proceeding) การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ ครง้ั ที่ 4 งานวิจยั เพอ่ื พฒั นา ท้องถิน่ . จดั โดยมหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏเพชรบูรณ์ ณ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ วันท่ี 10 มีนาคม 2560, 328-336. 2558 พัชรี ศรกี ตุ า, ปณั รดา ฐานะปตั โต,นพเกา้ บัวงาม, นรา ระวาดชัย,และทิวากรณ์ ราชธู ร.การศกึ ษาสภาพการจัดการ สว้ มสาธารณะของมหาวทิ ยาลัย ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการใช้ ส้วมสาธารณะของนักศกึ ษาใน มหาวิทยาลยั .วารสารวิชาการ สำนัก ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 9 จงั หวดั นครราชสมี า. 27(2) (กุมภาพนั ธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54.

117 ชอ่ื – สกุล / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวิชาที่จบ ปีท่จี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวจิ ัย/ อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศึกษา ปที ี่ตีพิมพ์เผยแพร่ สถาบันท่จี บการศึกษา ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. พชั รี ศรีกุตา, ณัฐธดิ า พิมพท์ อง, วราภรณ์ ขานสนั เทยี ะ, สกุลรตั น์ ใสพลกรัง, สดุ ารคั น์ ลศิ นันท์ และสนุ ิสา หยดุ กระโทก .(2561). สภาพปัญหา สขุ าภบิ าลของตลาดสดดา้ นกายภาพ และดา้ นการคมุ้ ครองผบู้ ริโภคของ ตลาดประเภทที่ 1 ในเขตเทศบาล นครนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา “ในการประชมุ วชิ าการระดับชาติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ครัง้ ท่ี 10 นอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา สู่การ วจิ ัยและพัฒนาท้องถน่ิ อยา่ งย่งั ยนื ”. 29-30 มนี าคม 2561.(หนา้ 1996- 2006). นครปฐม: มหาวทิ ยาลัยราช ภัฏนครปฐม. พัชรี ศรกี ุตา และคณะ. (2560). “สภาพ ปญหาสุขาภบิ าลของตลาดสดดาน กายภาพและดานการคมุ ครองผู บรโิ ภคของตลาดประเภทท่ี 1 ในเขต เทศบาลนครนครราชสมี า จงั หวัด นครราชสีมา”. ใน รายงานการ ประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. หนา้ 1996-2006. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. พชั รี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสมั พันธร์ ะหวา่ งความรู้ ทัศนคติ ตอ่ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค อาหารของเดก็ นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 โรงเรยี นบา้ นบงึ สาร อำเภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานการ ประชมุ วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครัง้ ท่ี 4. หนา้ 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์. พัชรี ศรีกตุ า และคณะ. (2559). “การ จดั การขยะมลู ฝอยในระดับครัวเรอื น ของหมู่บา้ นโปง่ สรุ ยิ า ตำบลโปง่ แดง อำเภอขามทะเลสอ จงั หวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานการ ประชมุ วชิ าการและนำเสนอ ผลงานวจิ ยั ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 ศาสตร์แห่งวทิ ยาการจดั การเพื่อรบั ใชส้ ังคม 3 ทศวรรษแห่งการตาม รอยแมข่ องแผ่นดนิ . หน้า 1116- 1122. นครราชสีมา : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. ทองทพิ ย์ สละวงษ์ลกั ษณ์ และคณะ.

118 ชื่อ – สกุล / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าทจี่ บ ปที ีจ่ บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจยั / อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศึกษา ปที ่ตี พี มิ พ์เผยแพร่ สถาบันทจ่ี บการศกึ ษา ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. 16 นางสาวปณั รดา ฐานะปัตโต / วท.ม. (โภชนศาสตร์)/ (2559). “ปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรม 17 นางสาววราภรณ์ ชาติพหล มหาวิทยาลยั มหดิ ล การป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงของ กลุ่มเสย่ี งตำบลหนองไขน่ ้ำ อำเภอ / ส.ม. (การพัฒนาสขุ ภาพ เมือง จังหวดั นครราชสมี า”. ใน ชุมชน) /มหาวิทยาลยั รายงานการประชุมวิชาการและ ราชภฏั นครราชสมี า เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 กา้ วสู่ทศวรรษท่ี 2: บรู ณาการ งานวิจัย ใช้องคค์ วามรู้ส่คู วาม ยงั่ ยืน. หน้า 378-383. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. 2552 พชั รี ศรีกุตา, ปณั รดา ฐานะปตั โต,นพ เกา้ บัวงาม, นรา ระวาดชัย,และ ทวิ ากรณ์ ราชูธร.การศกึ ษาสภาพ การจัดการส้วมสาธารณะของ มหาวทิ ยาลยั ความรู้ ทศั นคติ และ พฤตกิ รรมการใช้สว้ มสาธารณะ ของนกั ศกึ ษาในมหาวิทยาลยั . วารสารวชิ าการ สำนกั ปอ้ งกัน ควบคุมโรคท่ี 9 จงั หวดั นครราชสมี า. 27(2) (กุมภาพันธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54. วราภรณ์ ชาตพิ หล, สิรสิ ุดา ฐานะปัตโต, กรองกาญจน์ จันทรโ์ พธ,ิ์ ชลติ กานต์ เพชรรตั น์ และเบญจวรรณ ชลอกลาง. (2561). “ปจั จยั ทีม่ ี ความสมั พันธ์กับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารของนกั เรยี นชั้น ประถมศึกษาตอนปลาย ของ โรงเรยี นแหง่ หนง่ึ ในจังหวดั นครราชสีมา”. ใน รายงานการ ประชุมวชิ าการระดับชาติ วิทยาลยั นครราชสมี า ครัง้ ที่ 5 ประจำปี 2561. หน้า 406-418. นครราชสีมา : วิทยาลยั นครราชสมี า. 2559 วราภรณ์ ชาติพหล, นฤมล เวชจักรเวร, เบญญา หมื่นไธสง, นิรชา น้ำกระ โทก และณฐั ริกา เรยี งจอหอ. การศกึ ษาพฤติกรรมการดแู ลสุขภาพ ตนเองของผูส้ งู อายตุ ามหลัก 3อ.2ส. ตำบลโพธิ์กลาง อำเภอเมอื ง นครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา. วารสารวิชาการ สำนกั ป้องกัน ควบคมุ โรคท่ี 9 จงั หวัด นครราชสมี า. 27(2) (กมุ ภาพนั ธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54. วราภรณ์ ชาตพิ หล, สริ สิ ุดา ฐานะปัตโต, กรองกาญจน์ จันทรโ์ พธ,ิ์ ชลติ กานต์ เพชรรตั น์ และเบญจวรรณ ชลอกลาง. (2561). “ปัจจัยท่มี ี ความสมั พันธ์กับพฤตกิ รรมการ

119 ชื่อ – สกุล / วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวชิ าท่ีจบ ปีทีจ่ บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจยั / อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศกึ ษา ปีทตี่ พี ิมพเ์ ผยแพร่ สถาบนั ที่จบการศกึ ษา ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ผศ. รศ. ศ. 18 นางสาววรลักษณ์ / วท.ม. (สขุ ศาสตร์ บรโิ ภคอาหารของนักเรยี นช้ัน สมบรู ณน์ าดี อตุ สาหกรรมและความ ประถมศึกษาตอนปลาย ของ ปลอดภยั ) / โรงเรยี นแหง่ หนึ่งในจงั หวดั 19 นางสาวนพเกา้ บัวงาม มหาวิทยาลยั มหดิ ล นครราชสีมา”. ใน รายงานการ ประชุมวชิ าการระดับชาติ / ส.ม. (อนามยั วิทยาลยั นครราชสมี า ครั้งท่ี 5 สิ่งแวดลอ้ ม) ประจำปี 2561. หน้า 406-418. มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ นครราชสีมา : วิทยาลยั นครราชสีมา. วราภรณ์ ชาตพิ หล. (2559). “ปจั จัยที่ มคี วามสมั พันธก์ ับพฤตกิ รรมเสย่ี ง ทางเพศของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาตอนต้นในจงั หวัด นครราชสมี า”. ใน รายงานการ ประชุมวชิ าการระดับชาติและ นานาชาติ ราชภัฏวิจัย คร้ังที่ 4. หนา้ 128-137. บรุ ีรมั ย์ : มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย.์ 2551 วรลกั ษณ์ สมบรู ณ์นาดี, ธวชั ชัย เอก สนั ติ และกนกพร ฉมิ พลี. (2561). “ความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมสขุ ภาพของเกษตรกรผู้ ปลกู ข้าวต่อการปลกู ข้าวปลอดภยั ในพน้ื ทท่ี งุ่ สัมฤทธ์ิ จังหวัดนครราชสมี า”. ใน รายงานการประชมุ วชิ าการ ระดับชาติ วิทยาลยั นครราชสมี า ครัง้ ท่ี 5 ประจำปี 2561. หนา้ 438-445. นครราชสีมา : วทิ ยาลยั นครราชสมี า. ธวชั ชยั เอกสนั ติ, พัชรินทร์ ยพุ า, วรลักษณ์ สมบูรณน์ าดี, ธนดิ า ผาตเิ สนะ และสภุ าพ หวงั ข้อ กลาง. (2559). “สถานการณแ์ ละ แนวโนม้ การใช้ชีวิตดา้ นสุขภาพ ดา้ นการเรยี นรู้ และด้านสังคม ของเดก็ และเยาวชนในภาคตัน ออกเฉยี งเหนอื กรณีศึกษาเขต สุขภาพที่ 9 นครชยั บุรนิ ทร์”. ใน รายงานการประชุมวชิ าการและ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครั้ง ท่ี 3 ก้าวสูท่ ศวรรษที่ 2 บูรณา การงานวิจัย ใช้องคค์ วามรู้สู่ ความย่งั ยืน. หนา้ 384-392. นครราชสมี า : วิทยาลยั นครราชสมี า. 2560 พัชรี ศรีกุตา, ปณั รดา ฐานะปตั โต, นพเกา้ บัวงาม, นรา ระวาดชยั ,และ ทวิ ากรณ์ ราชูธร.การศึกษาสภาพ

120 ช่อื – สกุล / วุฒิการศกึ ษา ตำแหนง่ ทาง สาขาวชิ าทจ่ี บ ปที ่ีจบ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจยั / อาจารยป์ ระจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศึกษา ปีทต่ี ีพิมพเ์ ผยแพร่ สถาบนั ท่จี บการศึกษา ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. 20 นางสาวอุษาวดี ไพราม / วท.ม.สขุ ศาสตร์ การจดั การสว้ มสาธารณะของ อุตสาหกรรมและความ มหาวทิ ยาลยั ความรู้ ทัศนคติ และ ปลอดภัย พฤตกิ รรมการใชส้ ว้ มสาธารณะของ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล นักศึกษาในมหาวิทยาลยั . วารสารวชิ าการ สำนักปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 9 จงั หวดั นครราชสมี า. 27(2) (กมุ ภาพนั ธ-์ พฤษภาคม 2564): 43-54. พนดิ า เทพชาลี และนพเกา้ บัวงาม. (2561). “การบริหารจดั การ กระบวนการสหกจิ ศกึ ษา : กรณศี กึ ษา สาขาอาชวี อนามยั และ ความปลอดภยั คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า”. ใน รายงานสืบ เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและ นำเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ คร้ัง ท่ี 10 วันที่ 7-8 สิงหาคม 2561. นครราชสีมา : มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครราชสีมา. 2557 อษุ าวดี ไพราม. รปู แบบการเรยี นร้ดู า้ น อาชีวอนามยั และความปลอดภยั ต่อ ความเข้าใจและความพึงพอใจของ พนกั งาน ณ บริษัทแหง่ หนึ่ง. ในการ ประชมุ วิชาการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกฉยี ง เหนือ ครั้งที่ 8 บูรณาการงานวจิ ยั และนวตั กรรมสสู่ ังคมยุค New normal วนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2564 (หนา้ 748-754) ณชิ ารัศม์ ปญั จโพธิวฒั น,์ อุษาวดี ไพ ราม, ณพสษิ ฐ์ จักรพาณชิ ย และ ปฐมพงศ์ มโนหาญ (2564). การศึกษาปญั หาและ อปุ สรรคต่อการเขา้ ถึงบริการ สุขภาพของแรงงานตา่ งด้าวในพนื้ ท่ี เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษจงั หวัด เชียงราย อำเภอแมส่ าย เชยี งแสน และเชยี งของ.วารสารพยาบาล ศาสตร์และสขุ ภาพ ปที ่ี 44 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2564) หน้า 88-99. อุษาวดี ไพราม, ชวิน ถาวงค์, ดวงใจ แกว้ พรรณา, ธนาภรณ์ คงใจดี, พทุ ธ ธิดา เตนพเก้า, รชั นกี ร หมอ่ มปลดั วันวพิ า บญุ ใจ และศริ ิพร ไกซิง. การศกึ ษาการวเิ คราะห์งานเพอื่ ความปลอดภยั มผี ลตอ่ พฤติกรรม ดา้ นความปลอดภยั ของพนกั งาน ณ บริษทั ผลิตนำ้ มนั จากพืชแห่งหนึง่ . ในการประชมุ วชิ าการระดับชาติ

121 ช่อื – สกลุ / วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหน่งทาง สาขาวิชาท่ีจบ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/งานวิจัย/ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก วิชาการ การศกึ ษา/ การศึกษา ปีท่ตี พี มิ พเ์ ผยแพร่ สถาบันท่จี บการศกึ ษา ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ผศ. รศ. ศ. วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย ครงั้ ที่ 2 นวัตกรรม เพอ่ื สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและความ ปลอดภยั ของผสู้ งู วยั ไทยแลนด์ 4.0 วันที่ 7-8 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 (หน้า 494-501). ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2564

122 ตารางที่ 3 คุณสมบัตอิ าจารยผ์ สู้ อนระดบั ปริญญาตรี ชื่อ – สกุล อาจารยผ์ ูส้ อน วฒุ กิ ารศึกษา ตำแหน่งทา สาขาวิชาทจี่ บการศกึ ษา สถาบนั ที่จบการศกึ ษา ปที ่จี บ วิชาการ การศกึ ษา ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) มหาวิทยาลยั มหดิ ล 1. นายพุฒพิ งศ์ สตั ยวงศ์ทพิ ย์ ตรี โท เอก ผศ. รศ. ศ. ส.ด. (สขุ ศึกษา) มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2544 2. นางธนดิ า ผาตเิ สนะ ศษ.ด. (การบรหิ าการศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกุล 2544 3. นางสาวทองทพิ ย์ สละวงษล์ กั ษณ์ ✔✔ ปร.ด. (ชวี เวชศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2553 4. นางสาวจารุวรรณ ไตรทพิ ยส์ มบตั ิ ✔✔ ปร.ด. (การบรบิ าลทางเภสัชกรรม) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 2555 5. นางสาวปารฉิ ัตร เกดิ จันทึก ✔✔ ส.ด. มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2552 6. นายอรรถวทิ ย์ สิงหศ์ าลาแสง ✔✔ ปรด. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2561 7. นายรชานนท์ งว่ นใจรกั ✔✔ ปร.ด. (จลุ ชวี วทิ ยาทางการแพทย์) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 2559 8. นางสาวพฤมล นอ้ ยนรนิ ทร์ ✔✔ ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2560 9. นายทิวากรณ์ ราชธู ร ✔ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2561 10. นายธวัชชยั เอกสันติ ✔ วท.ม. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลยั มหดิ ล 2554 11. นางสาวฐิตมิ า โพธชิ์ ยั ✔ วท.ม. (สาธารณสขุ ศาสตร์) มหาวิทยาลยั มหิดล 2550 12. นางสาวภษิ ณี วจิ ันทึก ✔✔ ส.ม. (อนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 2555 13. นายนรา ระวาดชยั ✔ ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์)/ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 2555 14. นางพชั รี ศรกี ตุ า ✔ วท.ม. (โภชนศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั มหิดล 2558 15. นางสาวปณั รดา ฐานะปตั โต ✔ ส.ม. (การพฒั นาสขุ ภาพชุมชน) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 2552 16. นางสาววราภรณ์ ชาติพหล ✔ วท.ม. (สุขศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2559 17. นางสาววรลักษณ์ สมบรู ณ์นาดี ✔ และความปลอดภยั ) 2551 ✔ ส.ม. (อนามยั สิง่ แวดลอ้ ม) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ✔ วท.ม. (สขุ ศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั มหิดล 2560 และความปลอดภยั ) 2557 18. นางสาวนพเก้า บวั งาม ✔ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 19. นางสาวอษุ าวดี ไพราม ✔ 2552 20. นางสาวนฤมล เวชจกั รเวร ✔

123 ตารางที่ 7 การปรบั ปรุงหลกั สูตรตามรอบระยะเวลาทก่ี ำหนด หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน รอบระยะเวลา ปกี ารศึกษาท่ี ปกี ารศึกษาทีใ่ ช้ การพจิ ารณา หลักสตู ร พัฒนา จัดการศกึ ษา หลกั สตู รเดิม 2554 2555-2559 หลักสูตรมีการปรับปรุงทุกรอบ 5 ปี โดยผ่านการ อนุมัติจากสภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย และการ รบั ทราบหลกั สูตรจาก สกอ. และสามารถจัดการเรียน การสอนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ หลกั สตู รปจั จุบนั 2559 2560-2564 กระบวนการปรบั ปรุง ผลการดำเนนิ งาน กระบวนการ (อธบิ ายผลการดำเนนิ งานในแต่ละกระบวนการ) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรฯ 1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกันพิจารณาเสนอโครงการ ปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2560 ตามรอบ 5 ปี ของระยะเวลาในการจัดการ 2. วิเคราะห์ความตอ้ งการใช้บัณฑิต/ เรยี นการสอน ตลาดแรงงาน ความพร้อมของคณะ คแู่ ขง่ และจดุ เด่นของหลักสูตร เพือ่ จดั ทำกรอบ 2) หลักสูตรเสนอขออนุมัติโครงการปรับปรุงหลักสูตร และ แนวคิด มหาวทิ ยาลยั อนุมตั ิเม่อื วนั ท่ี 24 มถิ ุนายน 2559 3. จดั ทำ (ร่าง) หลกั สูตร มคอ.2 และเสนอ สสว. ตรวจสอบ (ร่าง) หลักสูตร 3) คณะแต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตร เพื่อดำเนินการยกร่าง หลักสตู รและจดั ทำ มคอ. 2 ตามคำสัง่ คณะสาธารณสขุ ศาสตรท์ ี่ 134/2559 ในการปรับปรุงหลักสูตรคณะกรรมการร่างหลักสูตรร่วมกันวิเคราะห์ ความต้องการใช้บัณฑิต/ตลาดแรงงาน ความพร้อมของคณะ คู่แข่ง และ จุดเด่นของหลักสูตร เพ่ือจัดทำกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรให้มี เน้ือหาสาระที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตและ ความก้าวหน้าทางวิชาการท่เี ปลยี่ นแปลงไป 1) คณะกรรมการร่างหลักสูตรดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร และจัดทำ รา่ ง มคอ. 2 ในระหวา่ งเดือน พฤศจกิ ายน 2559 – มกราคม 2560 2) แต่งต้ังคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร. วิทยา อยู่สุข รอง ศาสตราจารย์ ดร. ยุวดี รอดจากภัย รองศาสตราจารย์ ดร. จุฬาภรณ์ โสตะ และคณ ะกรรมการบริหารหลักสูตรรวมจำนวน 17 คน ตามคำส่ัง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี าท่ี 5130/2559

124 กระบวนการ ผลการดำเนนิ งาน (อธบิ ายผลการดำเนนิ งานในแตล่ ะกระบวนการ) 4. สสว. นำเสนอ (รา่ ง) หลักสตู รต่อ คณะกรรมการประจำคณะ 3) เสนอร่างหลักสูตร ต่อคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร เพ่ือ พิจารณาปรับปรุง แก้ไขร่าง มคอ. 2 โดยมีการประชุมเพื่อวิพากษ์หลักสูตร 5. สสว. นำเสนอ (ร่าง) หลักสูตรตอ่ สภา เมอื่ วันท่ี 13 มกราคม 2560 วิชาการเพ่ือให้ความเหน็ ชอบ 6. สสว. นำเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อ 4) แก้ไขร่างหลกั สตู รตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ในระหว่าง สภามหาวิทยาลัยเพื่ออนุมตั ิ เดอื น มกราคม–มีนาคม 2560 7. สสว. เสนอหลักสตู รตอ่ สำนักงาน 5) เสนอร่างหลักสูตรที่ผ่านการแก้ไขแล้วต่อสำนักส่งเสริมวิชาการและ คณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) งานทะเบียนเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง และปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะ เพ่อื รบั รอง ครั้งท่ี 1 วันท่ี 14 กุมภาพันธ์ 2560 คร้ังท่ี 2 วันที่ 29 มีนาคม 2560 และ คร้งั ท่ี 3 วนั ที่ 18 เมษายน 2560 เสนอร่างหลักสูตรต่อสภาวิชาการ เม่ือคราวประชุมคร้ังที่ 6/2560 วันท่ี 9 มถิ นุ ายน 2560 และดำเนินการแก้ไขรา่ งหลักสตู รตามขอ้ เสนอแนะ เสนอร่างหลักสูตรต่อสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อขอ อนุมัติหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยฯ เม่ือวันที่ 16 มิถุนายน 2560 และ สภามหาวิทยาลัยฯ อนุมัติหลักสูตร เมื่อคราวประชุมครั้งท่ี 5/2560 วันที่ 23 มิถนุ ายน 2560 1) สำนักส่งเสริมวิชาการส่งข้อเสนอแนะจากสำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษาแก่หลักสตู ร ในวันท่ี 20 เมษายน 2561 2) หลักสูตรดำเนินการแก้ไขหลักสูตรตามข้อเสนอแนะของสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และส่งสำนักส่งเสริมวิชาการเพ่ือเสนอ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณา ในวันท่ี 27 เมษายน 2561 ท้ังน้ี ผ่านการพิจารณารับทราบจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในวันท่ี 16 ธนั วาคม 2563

125 ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตร ปี พ.ศ.2563 ค่า ชือ่ เจ้าของผลงาน ช่ืองานสร้างสรรค์/ แหล่งเผยแพร่/ตีพมิ พ์ หมายเหตุ นำ้ หนกั ช่อื ผลงานทางวชิ าการ TCI 2 0.6 ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตร ความสมั พนั ธ์ระหว่างความรู้ วารสารสำนกั งานป้องกันควบคุม ทพิ ย์สมบตั ิ ทัศนคติ และพฤตกิ รรมการ โรคท่ี 7 ขอนแก่น, ปีท่ี 27 ฉบบั ท่ี บริโภคอาหารของนักเรียน 2. พฤษภาคม - สิงหาคม 2563, ระดับชั้นประถมศึกษาทีม่ ี หน้า 92-102. ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน 0.2 ผศ.ธวัชชัย เอกสันติ รปู แบบการพัฒนาโครงการ การนำเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ สง่ เสริมกิจกรรมทางกาย มสธ. ครง้ั ที่ 10. ดว้ ยศลิ ปวฒั นธรรมไทยใน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. ทอ้ งถ่ินชมุ ชนบ้านหนองมว่ ง 27 พฤศจกิ ายน 2563, หนา้ 962 สอง ตำบลหนองมะนาว – 974. อำเภอคง จงั หวดั นครราชสีมา. ข้อมลู ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2564