ม ลน ธ สงเคราะห เด ก ศาลเยาวชนและครอบคร ว

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว 3 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์

ค�ำ น�ำ

หนังสือสิทธิและสวัสดิการสำ�หรับบุคคลที่ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง ในครอบครัวฉบับน้ี มีวัตถุประสงค์ในการจัดทำ�เพ่ือเผยแพร่ความรู้ และสิทธิประโยชน์ท่ีประชาชนพึงได้รับจากพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ.๒๕๕๐ กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ไดค้ ดั สรรเนือ้ หาท่สี �ำ คัญและมีประโยชน์ ได้แก่ สทิ ธแิ ละสวัสดิการตา่ งๆ ทบ่ี ุคคล ซง่ึ ไดร้ บั ผลกระทบจากความรนุ แรงในครอบครวั สามารถเขา้ ถงึ ได้ เชน่ สทิ ธใิ นการ ไดร้ บั การตรวจรกั ษา การบ�ำ บดั ฟน้ื ฟู การไดร้ บั เงนิ ชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ข์ เปน็ ตน้ ทั้งนี้เพื่อให้หนังสือมีความน่าสนใจ น่าอ่าน และเข้าใจง่าย จึงได้มีการปรับปรุง การออกแบบและจดั ท�ำ ภาพประกอบทส่ี วยงาม ทนั สมยั เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นมคี วามเขา้ ใจ สิทธิและสวัสดิการสำ�หรับบุคคลท่ีถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว อยา่ งลกึ ซึง้ มากยง่ิ ขนึ้ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว หวังเป็นอย่างย่ิงว่าท่านผู้อ่าน จะมีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำ�คัญของปัญหาความรุนแรงในครอบครัว การคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของบุคคลในครอบครัว ไม่เพิกเฉยเม่ือถูกกระทำ� หรือพบเห็นการกระทำ�ความรุนแรงในครอบครัว สามารถให้การช่วยเหลือ ให้คำ�แนะนำ� ปรึกษา บุคคลในครอบครัว หรือชุมชนได้ และยินดีเป็นอย่างย่ิง หากท่านจะได้ส่งผ่านความรู้นี้ไปยังบุคคลอันเป็นท่ีรักในครอบครัว หน่วยงาน และชุมชน ต่อไป

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัว ตลุ าคม ๒๕๖๒

4 สิทธิและสวสั ดิการ ส�ำ หรับ บคุ คลทีถ่ กู กระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั

หยดุ ความรุนแรง ในครอบครวั และสังคม ความรนุ แรงในครอบครวั ไม่ใช่เรื่องสว่ นตวั

แต่เป็นเรื่องราวของทกุ ๆ คนท่ตี อ้ งช่วยกนั หยดุ ยั้ง เพอ่ื ไม่ให้ครอบครวั และสงั คมถูกทำ�ร้าย

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว 5 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

มีหลากหลายสาเหตุที่ทำ�ให้ความรุนแรงเกิดข้ึน ไม่ว่าจะเป็นการด่ืมสุรา การเสพยาเสพตดิ การตดิ การพนนั ความเครยี ดจากการท�ำ งาน และความกดดนั ทางเศรษฐกจิ ครอบครวั แตต่ น้ เหตสุ �ำ คญั ทที่ �ำ ใหค้ วามรนุ แรงในครอบครวั ลกุ ลาม และรุนแรงมากยิ่งข้ึนน้ัน เป็นเพราะความเชื่อผิดๆ ที่ว่าความรุนแรงในครอบครัว เป็นเรื่องส่วนตัว ท�ำ ใหป้ กปดิ ปญั หาท่ีเกิดขึ้น อาจเป็นเพราะความอาย หรอื คิดว่า ไมม่ คี นอน่ื ทชี่ ว่ ยได้ และดว้ ยความเชอ่ื เชน่ นเี้ อง ท�ำ ใหค้ นรอบดา้ นไมต่ อ้ งการเขา้ ไป เกี่ยวข้องหรอื ให้การชว่ ยเหลือ แต่วันน้ี เราจะดูแลกันและกัน คุณก็เป็นส่วนร่วมท่ีสำ�คัญท่ีจะช่วยให้ ความรนุ แรงในครอบครวั ยุตลิ งได้ อย่าเพิกเฉย เม่ือถูกกระทำ�หรือพบเห็นการกระทำ�ความรุนแรง ในครอบครัวทุกคนมีหน้าท่ีแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพื่อให้การคุ้มครอง ช่วยเหลือ และให้คำ�แนะนำ� ปรึกษา รวมทั้งบำ�บัดฟ้ืนฟูพฤติกรรมผู้กระทำ� ไม่ให้กระทำ�ความรุนแรงซํ้า เพราะการที่เราเงียบเฉย จะยิ่งเป็นการส่งเสริม ให้ปญั หาความรนุ แรงในครอบครัวดำ�เนนิ ตอ่ ไป ความรุนแรงในครอบครัว ไม่ใช่เรื่องส่วนตัวแต่เป็นเรื่องของทุก ๆ คน ทตี่ ้องช่วยกันเพือ่ ใหค้ วามรุนแรงหยุดท�ำ ร้ายคณุ และสังคม

6 สิทธแิ ละสวัสดิการ สำ�หรบั บคุ คลทถ่ี ูกกระท�ำ ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว

สารบญั

๑ ค�ำ นำ� ๖ ส ิทธแิ ละสวสั ดกิ ารสำ�หรับบุคคล

ทถี่ กู กระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรง ในครอบครวั

๑๐ การค้มุ ครองผถู้ ูกกระทำ�

ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว

๑๕ สทิ ธิของผู้ถกู กระทำ�

ด้วยความรุนแรงในครอบครวั

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว 7 กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

๒๗ หน่วยงานและบคุ คลท่เี ก่ยี วข้องกับ

การคุ้มครองผูถ้ ูกกระทำ� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว

๒๘ การแจ้งเหตุ

8 สทิ ธิและสวสั ดิการ ส�ำ หรับ บคุ คลทีถ่ ูกกระท�ำ ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั

สทิ ธิและสวัสดกิ าร

ส�ำ หรบั บคุ คลทถ่ี กู กระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั

ในอดีตสังคมไทยถือว่าปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นเรื่อง ท่ีควรปกปิดโดยเห็นว่า เป็นเรื่องปกติธรรมดาท่ีอาจเกิดขึ้นได้และเป็นปัญหา ภายในครอบครัวที่บุคคลภายนอกไม่ควรก้าวล่วงเข้าไปเกี่ยวข้อง ทำ�ให้ปัญหา ดงั กลา่ วมกั ถกู เพกิ เฉย ละเลย แตใ่ นปจั จบุ นั สถานการณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ได้รบั การเปิดเผยตอ่ สาธารณชนมากขน้ึ ประกอบกบั การเปลย่ี นแปลงของโครงสรา้ ง ลกั ษณะครอบครวั ไทย ท�ำ ให้ครอบครวั ไมส่ ามารถ จัดการกับปญั หาความรุนแรง ในครอบครวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เปน็ ผลใหจ้ ำ�นวนผทู้ ี่ตกเปน็ เหยือ่ ของความรุนแรง ในลักษณะต่าง ๆ ทวจี ำ�นวนมากขึน้ ทำ�ให้ครอบครัว ไมป่ กตสิ ุขเกิดความไม่มัน่ คงของสถาบนั ครอบครวั และ ส่งผลกระทบทำ�ให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ในสังคมตามมา

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 9 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์

ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ยังทำ�ให้เกิด ภาระแก่สังคมเป็นค่าใช้จ่ายในด้านต่าง ๆ เช่น ค่าจัดการ ในกระบวนการยุติธรรม ค่ารักษาพยาบาล และการสงเคราะห์ ฟ้ืนฟู นอกจากน้ี การกระทำ�ความรุนแรงในครอบครัวยังส่ง ผลกระทบตอ่ เดก็ เยาวชน ซง่ึ เปน็ การสรา้ งวงจรแหง่ ความรนุ แรง ไม่มีที่สิ้นสุด เนื่องจากเด็กและเยาวชนเหล่าน้ันได้ซึมซับ พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง กลายเป็นผู้ท่ีมีปัญหาด้าน พฤติกรรม ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพของประชากรในที่สุด

10 สทิ ธแิ ละสวัสดิการ ส�ำ หรบั บุคคลทถี่ ูกกระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั

การใช้ความรุนแรงในครอบครัวเป็นปัญหาที่สำ�คัญของสังคม ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด อ่ อ น ซั บ ซ้ อ น เ กี่ ย ว พั น กั บ บุคคลใกล้ชิด มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการทำ�ร้ายร่างกายระหว่าง บุคคลโดยทั่วไป การใช้มาตรการทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาบังคับกับการกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว จึงไม่เหมาะสม เน่ืองจาก ก ฎ ห ม า ย อ า ญ า มี เ จ ต น า ร ม ณ์ ล ง โ ท ษ ผู้ ก ร ะ ทำ � ผิ ด ม า ก ก ว่ า ที่ จ ะ แ ก้ ไ ข ฟื้ น ฟู ผู้กระทำ�ผิด หรือปกป้องคุ้มครองผู้ท่ีถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว ดังนั้น การที่มีกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว จึงมีความเหมาะสมกว่าการใช้กระบวนการทางอาญา เพราะสามารถกำ�หนด รูปแบบ วิธีการ และขั้นตอนที่มีลักษณะแตกต่างจากการดำ�เนินคดีอาญา โดยทวั่ ไป

กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั 11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์

โดยให้ผู้ที่กระทำ�ความผิดได้มีโอกาสกลับตัว ยับยั้งการกระทำ�ผิดซํ้า และสามารถรักษความสัมพันธ์ อันดีในครอบครัวไว้ได้ เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคล ในครอบครวั มสี ทิ ธไิ ดร้ บั ความคมุ้ ครองจากรฐั ใหป้ ราศจาก การใช้ความรุนแรงและการปฏิบัติ อันไม่เป็นธรรม และ มีสิทธิได้รับการบำ�บัดฟื้นฟูในกรณีที่มีเหตุดังกล่าวด้วย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๑

12 สิทธแิ ละสวัสดิการ ส�ำ หรบั บุคคลทถี่ กู กระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครวั

การคุ้มครองผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว

การกระทำ�ท่ีจะถือว่าเป็นการกระทำ�ความรุนแรงในครอบครัว คือ การกระทำ�ท่ีเข้ากรณใี ดกรณหี น่งึ ไดแ้ ก่ การกระทำ�ใดที่มีจุดประสงค์ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย จิตใจ หรือ สุขภาพของบุคคลในครอบครวั การกระทำ�ที่มีเจตนาที่อาจเป็นอันตราย ต่อร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคล ในครอบครัว การใช้อำ�นาจบังคับให้บุคคล ในครอบครัวอย่างผิดทำ�นองคลองธรรม

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั 13 กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

บุคคลในครอบครัวท่ีอยู่ในข่ายได้รับ ความคุ้มครองตามกฎหมายฉบับนี้ ได้แก่ คู่สมรส คู่สมรสเดิม ผู้ท่ีอยู่กินหรือเคยอยู่กินฉันสามีภรรยา โดยมิได้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม สมาชิกในครอบครัว รวมท้ัง บุคคลใดๆ ท่ีต้อง พึ่งพาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน

14 สิทธิและสวัสดกิ าร สำ�หรับ บคุ คลท่ถี ูกกระท�ำ ด้วยความรุนแรงในครอบครวั

ท้ังนี้ หากผู้ใดกระทำ�ความรุนแรง ในครอบครัวต้องระวางโทษจำ�คุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๖,000 บาท หรือ ทง้ั จำ�ทัง้ ปรับ

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว 15 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

และเนื่องจากปัญหาความรุนแรงในครอบครัว มิใช่ปัญหาเฉพาะภายในครอบครัวเท่านั้น แต่เป็น ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมด้วย ดังน้ัน กฎหมาย ฉบับนี้จึงกำ�หนดให้ทุกคนในสังคมมีบทบาทร่วมกัน ในการกระทำ�ท่ีจะระงับยับยั้งปัญหาความรุนแรง ในครอบครัว

ศูนย์ช่วยเหลอื สงั คม

1300

16 สทิ ธแิ ละสวสั ดกิ าร สำ�หรับ บุคคลทถ่ี ูกกระท�ำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว

โดยให้บุคคลท่ีพบเห็นหรือทราบการกระทำ�ดังกล่าวมีหน้าท่ีแจ้งต่อ พนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อดำ�เนินการต่อไป ซึ่งอาจแจ้งโดยวาจา เป็นหนังสือ ทางโทรศัพท์ วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ในการนี้กฎหมาย ได้บัญญัติคุ้มครองผู้ที่แจ้งซ่ึงกระทำ�โดยสุจริตไว้ว่าให้ได้รับความคุ้มครอง และไม่ต้องรับผิดชอบทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว 17 กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์

สทิ ธขิ องผถู้ ูกกระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั

กฎหมายได้กำ�หนดหลักเกณฑ์และมาตรการในการคุ้มครอง ผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวในขั้นตอนต่าง ๆ ไว้ ซึ่งทำ�ให้ ผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีสิทธิต่าง ๆ ดังนี้

๑ สิทธใิ นการได้รับบริการตรวจรักษาและใหค้ ำ�ปรกึ ษา

ผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีสิทธิขอให้พนักงาน เจา้ หนา้ ทจี่ ดั ใหต้ นไดเ้ ขา้ รบั การตรวจรกั ษาจากแพทย์ และขอรบั ค�ำ ปรกึ ษาแนะน�ำ จากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ รวมท้ังท่ีพักที่เหมาะสม และปลอดภยั

* พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผถู้ กู กระท�ำ ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

18 สิทธิและสวัสดกิ าร สำ�หรับ บคุ คลทีถ่ กู กระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว

๒ สทิ ธใิ นการรอ้ งทกุ ขด์ �ำ เนนิ คดเี พอ่ื ด�ำ เนนิ คดตี อ่ ผกู้ ระท�ำ ผดิ

ฐานกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว

ในกรณีผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวประสงค์จะด�ำ เนินคดี กับผู้กระทำ�ผิดให้ร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แต่ถ้าไม่อยู่ในวิสัย หรือมีโอกาสท่ีจะร้องทุกข์ได้ด้วยตนเอง ให้แจ้งพนักงาน เจ้าหน้าท่ี เพ่ือร้องทุกข์แทนโดยต้องแจ้งหรือร้องทุกข์ภายใน ๓ เดือน มิเช่นน้ัน คดเี ปน็ อนั ขาดอายุความ

* พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผู้ถกู กระท�ำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว 19 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

๓ สทิ ธิในการร้องขอรับการคมุ้ ครองสวสั ดิภาพ

ในกรณีท่ีผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว ไม่ประสงค์ จะดำ�เนินคดีกับผู้กระทำ�ผิด แต่ยังพบว่ามีความเสี่ยงจะถูกกระทำ�ซํ้า สามารถ ร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และ วธิ พี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓

* พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐

20 สทิ ธิและสวัสดกิ าร สำ�หรับ บุคคลทถ่ี ูกกระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว

๔ สิทธใิ นการด�ำ เนินคดีตอ่ ผ้กู ระท�ำ ดว้ ยความรุนแรง

ในครอบครวั

ในกรณีที่ผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีความประสงค์ จะดำ�เนินคดีต่อผู้กระทำ�ผิด ต้องร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนภายใน ๓ เดือน นับจากผู้ถกู กระท�ำ อยู่ในวสิ ัยและโอกาสท่จี ะรอ้ งทุกข์ได้

* พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองผถู้ กู กระท�ำ ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครัว 21 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

๕ สิทธิในในการมีจิตแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์

หรือบุคคลท่ีตนร้องขอร่วมอยู่ด้วยในขณะสอบปากคำ� เพื่อ ให้ค�ำ ปรกึ ษา

* พระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองผถู้ กู กระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐

22 สิทธิและสวัสดกิ าร ส�ำ หรับ บุคคลท่ถี กู กระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครวั

๖ สิทธิในการขอต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการออกคำ�สั่ง

กำ�หนดมาตรการหรือวิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์เบ้ืองต้น เป็นการช่ัวคราวให้ผู้กระทำ�ความรุนแรงในครอบครัว กระท�ำ การ หรือละเวน้ กระท�ำ การ ดังนี้

เขา้ รับการตรวจรักษาจากแพทย์ ชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ต่อผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง ในครอบครัวตามสมควรแก่ฐานะ สำ�หรับเงินหรือทรัพย์สินใดๆ ที่ผู้ถูกกระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั สญู เสยี ไป จากผลของการกระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรง ในครอบครวั ซง่ึ รวมทง้ั รายไดท้ ส่ี ญู เสยี ไปคา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาล คา่ ใชจ้ า่ ย ในการหาทอี่ ยูใ่ หม่ และคา่ ใชจ้ า่ ยท่ีจ�ำ เปน็

หา้ มผกู้ ระท�ำ ความรนุ แรงเขา้ ไปในทพ่ี �ำ นกั ของครอบครวั หรอื เขา้ ใกล้ ตวั บุคคลใดในครอบครวั

กำ�หนดวิธีการดแู ลบตุ ร

ท้ังน้ี ผู้ฝ่าฝนื หรอื ไม่ปฏิบตั ิตามค�ำ สั่งดังกล่าว ต้องระวางโทษจ�ำ คุกไม่เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท หรือท้งั จ�ำ ทัง้ ปรับ

* พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผูถ้ ูกกระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว 23 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์

๗ สทิ ธใิ นการยอมความ ในกรณีที่ผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวประสงค์ จะยอมความถอนคำ�ร้องทุกข์ หรือถอนฟ้องไม่เอาผิด ต่อผู้กระทำ�ผิด สามารถดำ�เนินการได้ในกรณีท่ีเหตุการณ์ หรือพฤติการณ์ ผู้กระทำ�ผิด เปลีย่ นแปลงไป และมีการปฏิบตั ิตามสัญญายอมความ

* พระราชบัญญตั ิค้มุ ครองผูถ้ กู กระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐

24 สทิ ธิและสวัสดิการ ส�ำ หรับ บุคคลทีถ่ ูกกระท�ำ ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั

การพิจารณาคดีความรุนแรงในครอบครัวจะต้องคำ�นึงถึงความสุข และการอยู่ร่วมกันในครอบครัวเป็นสำ�คัญ กฎหมายจึงกำ�หนดให้ความผิด ฐานกระท�ำ ความรนุ แรงครอบครวั เปน็ ความผดิ อนั ยอมความได้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ก็ไมล่ บลา้ งความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญาหรอื กฎหมายฉบบั อนื่ ๆ เวน้ แต่ ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ ซึ่งเป็นความผิดฐาน ทำ�ร้ายร่างกายเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจผู้อ่ืนแต่ไม่ถึงกับ เปน็ อนั ตรายสาหัส จงึ จะให้เปน็ ความผิดอันยอมความได้ดว้ ย

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครวั 25 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

ในการนี้ กฎหมายได้กำ�หนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการยอมความไว้ว่า ไมว่ า่ การพจิ ารณาคดกี ารกระท�ำ ความรนุ แรงในครอบครวั จะไดด้ �ำ เนนิ การไปแลว้ ถงึ ขน้ั ใดกต็ าม ก็ใหศ้ าลพยายามเปรยี บเทยี บใหค้ คู่ วามไดย้ อมความกนั โดยมงุ่ ถงึ ความสงบสุขและการอยู่ร่วมกันในครอบครัวเป็นสำ�คัญ ท้ังน้ี โดยให้คำ�นึงถึง หลักการอันประกอบด้วย การคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง การสงวนและคุ้มครองสถานภาพการสมรสของสามีภริยา หากไม่อาจรักษา สถานภาพของการสมรสได้ ก็ให้การหย่าเป็นไปได้ด้วยความเป็นธรรม และ เสียหายน้อยท่ีสุด โดยคำ�นึงถึงสวัสดิภาพและอนาคตของบุตรเป็นสำ�คัญ การคุ้มครองและช่วยเหลือครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะท่ีครอบครัวน้ัน ต้องรับผิดชอบในการดูแล ให้การศึกษาแก่สมาชิกที่เป็นผู้เยาว์พร้อมกับ มีมาตรการต่างๆ เพ่ือช่วยเหลือสามีภริยาและบุคคลในครอบครัวให้ ปรองดองกัน และปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างกันเองและกับบุตร

* พระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองผถู้ กู กระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐

26 สิทธิและสวสั ดกิ าร ส�ำ หรับ บคุ คลทถ่ี ูกกระทำ�ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั

ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการยอมความในคดีของการกระทำ�ความรุนแรง ในครอบครัว พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือศาลอาจตั้งผู้ประนีประนอม ประกอบด้วย บคุ คลหรอื คณะบคุ คลซง่ึ เปน็ บดิ า มารดา ผปู้ กครอง ญาตขิ องคคู่ วามหรอื บคุ คล ซ่ึงเห็นสมควร เพื่อให้คำ�ปรึกษาหรือช่วยเหลือในการไกล่เกลี่ยให้คู่ความได้ยอม ความกัน หรือ อาจมอบหมายให้นักสังคมสงเคราะห์ หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ หรอื บคุ คลใดชว่ ยเหลอื ไกลเ่ กลย่ี ใหค้ คู่ วามไดย้ อมความกนั ในกรณที กี่ ารไกลเ่ กลย่ี เปน็ ผลส�ำ เรจ็ บคุ คลดงั กลา่ วจะจดั ใหม้ กี ารท�ำ สญั ญายอมความขนึ้ เมอ่ื พนกั งาน เจ้าหน้าที่หรือศาลเห็นว่าสัญญายอมความไม่ฝ่าฝืนตามกฎหมายและความสงบ เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ให้ดำ�เนินการให้เป็นไปตามสัญญา ยอมความนัน้

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครวั 27 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์

๘ สิทธิไดร้ ับความคุ้มครองมิให้ผู้ใดลงพิมพ์โฆษณา

หรอื เผยแพรต่ อ่ สาธารณชนด้วยวิธีใดๆ

เ มื่ อ ผู้ ก ร ะ ทำ � ค ว า ม รุ น แ ร ง ใ น ค ร อ บ ค รั ว มี ก า ร ร้ อ ง ทุ ก ข์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำ�ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐ แล้ว กฎหมายมีข้อกำ�หนดในการห้ามไม่ให้ผู้ใดก็ตาม นำ�ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกรณีความรุนแรงดังกล่าว ลงพิมพ์โฆษณา หรือเผยแพร่ ต่อสาธารณชนด้วยวิธีการใด ๆ ก็ตาม

* พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้ถกู กระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

28 สทิ ธิและสวัสดิการ สำ�หรับ บคุ คลทถ่ี กู กระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั

๙ สิทธิในการยื่นอุทธรณ์คำ�ส่ังของพนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือ

ศาล ให้ทบทวนคำ�ส่ัง กำ�หนดมาตรการหรือวิธีการ เพ่อื บรรเทาทุกขท์ ้ังหมด หรือแต่บางส่วน

ผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับคำ�สั่งกำ�หนดมาตรการหรือวิธีการ เพื่อบรรเทาทุกข์ท้ังหมดหรือแต่บางส่วน เก่ียวกับคำ�สั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือศาล สามารถย่ืนอุทธรณ์คำ�สั่งเป็นหนังสือขอให้ศาลทบทวนคำ�สั่งได้

ภายใน ๓๐ วนั นับแตท่ ราบคำ�ส่ัง

* พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผ้ถู ูกกระทำ�ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครวั 29 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวขอ้ งกับการคมุ้ ครอง ผถู้ ูกกระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว

หากพบเห็น หรือประสบเหตุความรุนแรงในครอบครัว สามารถติดต่อ ที่กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่งคงของมนุษย์ สำ�หรับความผิดท่ีเกิดในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ ความผิดท่ีประมวลกฎหมายอาญาให้ถือว่าเกิดในราชอาณาจักรและไม่อยู่ ในเขตจังหวัด หรือสามารถแจ้งได้ที่สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษยจ์ งั หวัด ส�ำ หรับความผดิ ทีเ่ กิดในเขตจังหวดั น้ัน

30 สทิ ธแิ ละสวสั ดกิ าร สำ�หรบั บคุ คลท่ีถกู กระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั

การแจง้ เหตุ

พบเหน็ ความรุนแรงในครอบครวั สามารถแจง้ เหตุ/ขอความช่วยเหลอื /คำ�แนะน�ำ ไดท้ ี่ ๑. ศนู ย์ปฏิบตั ิการเพื่อปอ้ งกันการกระทำ�ความรนุ แรงในครอบครัว กรงุ เทพฯ : กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว โทร. ๐-๒๖๔๒-๕๐๔๘ ส่วนภมู ภิ าค : สำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ๗๖ จงั หวดั ๒. OSCC ศูนยช์ ่วยเหลอื สังคม โทร. ๑๓๐๐ ๓. สถานตี ำ�รวจ/โรงพยาบาล ๔. ศาลากลางจังหวดั /ท่ีว่าการอ�ำ เภอ ๕. บา้ นพักเด็กและครอบครัว หรอื หน่วยงานภาครัฐ หรือองคก์ รที่มีพนักงาน เจา้ หน้าท่ีตามกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ๖. ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครวั ในชมุ ชน/องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ๗. ท่ีท�ำ การก�ำ นนั /ผู้ใหญบ่ ้าน

รวบรวมโดย

กองนติ กิ ร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ เลขท่ี ๑๐๓๕ ถนนกรุงเกษม แขวงมหานาค เขตปอ้ งปราบศัตรพู า่ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๓๐๖-๘๖๘๙ โทรสาร ๐-๒๓๐๖-๘๖๙๐

พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผู้ถูกกระทำ� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

32 พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผถู้ ูกกระทำ� ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐

ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๔ ตอน ๔๑ ก วันที่ ๑๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

มผี ลบงั คบั ใช้วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัว 33 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์

พระราชบัญญัติ ค้มุ ครองผู้ถกู กระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว

พ.ศ. ๒๕๕๐

ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เปน็ ปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปจั จุบัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศวา่ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงใน ครอบครัว จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ้ ดยคำ� แนะนำ� และยนิ ยอม ของสภานติ บิ ัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญตั นิ เี้ รียกวา่ “พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผู้ถูกกระทำ� ด้วย ความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญตั นิ ีใ้ หใ้ ชบ้ งั คับเม่อื พน้ ก�ำหนดเก้าสิบวันนบั แต่วนั ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป

ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนท่ี ๔๑ ก หน้า ๑ ๑๔ สงิ หาคม ๒๕๕๐

34 พระราชบัญญตั ิคุ้มครองผูถ้ ูกกระทำ� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตนิ ี้ “ความรุนแรงในครอบครวั ” หมายความวา่ การกระท�ำใด ๆ โดยมงุ่ ประสงคใ์ ห้เกิด อันตรายแก่ร่างกาย จติ ใจ หรอื สขุ ภาพ หรอื กระท�ำโดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่อใหเ้ กดิ อันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับหรือใช้อ�ำนาจ ครอบง�ำผิดคลองธรรมให้บุคคลในครอบครัวต้องกระท�ำการ ไม่กระท�ำการ หรือยอมรับ การกระท�ำอย่างหนึ่งอยา่ งใดโดยมชิ อบ แต่ไม่รวมถงึ การกระทำ� โดยประมาท “บุคคลในครอบครวั ” หมายความวา่ คสู่ มรส คสู่ มรสเดิม ผทู้ ่ีอย่กู นิ หรอื เคยอยู่กิน ฉันสามภี รยิ า โดยมิได้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม สมาชกิ ในครอบครวั รวมทั้ง บุคคลใด ๆ ที่ตอ้ งพ่ึงพาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกนั “ศาล” หมายความว่า ศาลเยาวชนและครอบครัวตามกฎหมายว่าด้วยการจัดต้ัง ศาลเยาวชนและครอบครวั และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว “เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์” หมายความว่า ค่าทดแทนความเสียหายเบ้ืองต้น สำ� หรบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ใด ๆ ทผ่ี ถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั สญู เสยี ไป โดยผล ของการกระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั และใหห้ มายความรวมถงึ รายไดท้ สี่ ญู เสยี ไป คา่ ใชจ้ ่ายในการรักษาพยาบาล ค่าใชจ้ ่ายในการหาที่อยู่ใหม่ และค่าใชจ้ ่ายอ่นื ท่ีจำ� เป็น “นกั จติ วทิ ยา”หมายความวา่ นกั จติ วทิ ยาตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา “นักสังคมสงเคราะห์” หมายความว่า นักสังคมสงเคราะห์ตามประมวลกฎหมาย วธิ ีพจิ ารณาความอาญา “พนกั งานเจา้ หนา้ ท”ี่ หมายความวา่ ผซู้ ง่ึ รฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั ใหป้ ฏบิ ตั กิ ารตามพระราช บญั ญตั นิ แี้ ละใหห้ มายความรวมถงึ พนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตำ� รวจตามประมวลกฎหมาย วธิ พี ิจารณาความอาญา “พนักงานสอบสวน” หมายความว่า พนักงานเจ้าหน้าท่ีซ่ึงได้รับมอบหมายจาก รฐั มนตรี ใหเ้ ปน็ พนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ในทอ้ งที่ ใดไม่มีพนักงานเจ้าหน้าท่ี ซ่ึงได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรี ให้พนักงานสอบสวนตาม ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา เปน็ พนักงานสอบสวนตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ “รฐั มนตร”ี หมายความว่า รฐั มนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ผูใ้ ดกระทำ� การอนั เป็นความรุนแรงในครอบครวั ผู้น้นั กระทำ� ความผดิ ฐานกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั ตอ้ งระวางโทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ หกเดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หกพันบาท หรอื ท้ังจ�ำทง้ั ปรับ

กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครวั 35 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

ให้ความผดิ ตามวรรคหนึ่ง เปน็ ความผิดอนั ยอมความได้ แตไ่ มล่ บล้างความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญาหรอื กฎหมายอน่ื หากการกระทำ� ความผดิ ตามวรรคหนงึ่ เปน็ ความ ผดิ ฐานทำ� ร้ายร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ ด้วย ให้ความผดิ ดังกล่าว เปน็ ความผดิ อันยอมความได้ มาตรา ๕ ผู้ถกู กระทำ� ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว หรอื ผู้ท่ีพบเหน็ หรอื ทราบการ กระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว มีหน้าท่ีแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพ่ือด�ำเนินการ ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี การแจง้ ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ ามวรรคหนงึ่ เมอ่ื ไดก้ ระทำ� โดยสจุ รติ ยอ่ มไดร้ บั ความ คมุ้ ครองและไม่ต้องรบั ผิดท้งั ทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง มาตรา ๖ การแจง้ ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี ามมาตรา ๕ อาจกระทำ� โดยวาจา เปน็ หนงั สอื ทางโทรศพั ท์ วิธกี ารทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื วธิ ีการอืน่ ใด เมอ่ื พนกั งานเจา้ หนา้ ทไ่ี ดพ้ บเหน็ การกระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั หรอื ไดร้ บั แจ้งตามมาตรา ๕ แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ�ำนาจเข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ ท่ีเกิดเหตุเพื่อสอบถามผู้กระท�ำความรุนแรงในครอบครัว ผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรง ในครอบครัวหรือบุคคลอ่ืนที่อยู่ในสถานท่ีนั้นเกี่ยวกับการกระท�ำท่ีได้รับแจ้ง รวมท้ังให้มี อ�ำนาจจัดให้ผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัวเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์ และขอรับคำ� ปรึกษาแนะน�ำจากจิตแพทย์ นักจติ วทิ ยา หรอื นกั สงั คมสงเคราะห์ ในกรณีท่ี ผูถ้ กู กระทำ� ด้วยความรุนแรงในครอบครวั ประสงค์จะด�ำเนินคดี ใหจ้ ดั ใหผ้ นู้ ัน้ ร้องทุกข์ตาม ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา แตถ่ า้ ผนู้ นั้ ไมอ่ ยใู่ นวสิ ยั หรอื มโี อกาสทจี่ ะรอ้ งทกุ ข์ ไดด้ ว้ ยตนเองใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทเ่ี ป็นผู้ร้องทกุ ข์แทนได้ หลักเกณฑ์และวิธีการด�ำเนินการตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี ประกาศก�ำหนด มาตรา ๗ ถา้ มไิ ดม้ กี ารแจง้ ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี ามมาตรา ๕ หรอื มไิ ดม้ กี ารรอ้ งทกุ ข์ ตามมาตรา ๖ ภายในสามเดอื นนับแตผ่ ูถ้ ูกกระทำ� ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั อยู่ในวสิ ยั และมีโอกาสท่จี ะแจ้งหรอื ร้องทุกข์ได้ ใหถ้ ือว่าคดเี ปน็ อันขาดอายคุ วาม แตไ่ ม่ตดั สิทธิผ้ถู ูก กระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัวหรือผู้มีส่วนได้เสียจะร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพตาม กฎหมายวา่ ดว้ ยการจดั ตง้ั ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั

36 พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองผู้ถูกกระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

มาตรา ๘ เมอ่ื มกี ารรอ้ งทกุ ขภ์ ายในอายคุ วามตามมาตรา ๗ แลว้ ใหพ้ นกั งานสอบสวน ทำ� การสอบสวนโดยเรว็ และสง่ ตวั ผู้กระทำ� ความรนุ แรงในครอบครัว ส�ำนวนการสอบสวน พร้อมทั้งความเห็นไปยังพนักงานอัยการเพื่อฟ้องคดีต่อศาลภายในส่ีสิบแปดชั่วโมงนับแต่ ได้ตัวผู้กระท�ำความรุนแรงในครอบครัว แต่หากมีเหตุจ�ำเป็นท�ำให้ไม่อาจยื่นฟ้องได้ทัน ภายในกำ� หนดเวลาดงั กลา่ ว ใหข้ อผดั ฟอ้ งตอ่ ศาลไดค้ ราวละไมเ่ กนิ หกวนั แตท่ งั้ นี้ ตอ้ งไมเ่ กนิ สามคราวโดยให้น�ำกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาใน ศาลแขวงมาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ในกรณที ีก่ ารกระทำ� ความผดิ ตามมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง เปน็ ความผิดกรรมเดียวกบั ความผิดตามกฎหมายอ่นื ให้ด�ำเนินคดีความผิดตามมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง ตอ่ ศาลรวมไป กับความผดิ ตามกฎหมายอ่นื นน้ั เวน้ แต่ความผิดตามกฎหมายอนื่ นั้นมอี ัตราโทษสูงกวา่ ให้ ดำ� เนนิ คดตี อ่ ศาลทม่ี อี ำ� นาจพจิ ารณาความผดิ ตามกฎหมายอนื่ นนั้ โดยใหน้ ำ� บทบญั ญตั ทิ ง้ั หลายแหง่ พระราชบัญญัติน้ีไปใชบ้ งั คับโดยอนุโลม ในการสอบปากคำ� ผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พนกั งานสอบสวนตอ้ ง จดั ใหม้ จี ติ แพทย์ นกั จติ วทิ ยา นกั สงั คมสงเคราะห์ หรอื บคุ คลทผ่ี ถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรง ในครอบครวั ร้องขอรว่ มอยู่ด้วยในขณะสอบปากค�ำเพ่ือใหค้ ำ� ปรกึ ษา ในกรณีจ�ำเป็นเร่งด่วน ซึ่งมีเหตุอันควรไม่อาจรอจิตแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคม สงเคราะห์ หรือบุคคลท่ีผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัวร้องขอ ให้พนักงาน สอบสวนทำ� การสอบปากค�ำไปก่อนโดยไมต่ อ้ งมบี ุคคลดังกล่าวร่วมอยดู่ ้วย แต่ตอ้ งบันทึก เหตทุ ่ไี มอ่ าจรอบุคคลดงั กล่าวไวใ้ นส�ำนวนการสอบสวน หลักเกณฑ์และวิธีการด�ำเนินการของพนักงานสอบสวน ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี รฐั มนตรี ประกาศกำ� หนด มาตรา ๙ เมื่อมีการแจ้งตามมาตรา ๕ หรือมีการร้องทุกข์ตามมาตรา ๖ แล้ว ห้ามมิให้ผู้ใดลงพิมพ์โฆษณา หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนด้วยวิธีใด ๆ ซึ่งภาพ เรื่องราว หรอื ขอ้ มลู ใด ๆ อนั นา่ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกผ่ กู้ ระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั หรอื ผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัวในคดตี ามพระราชบัญญัติน้ี ผู้ใดฝ่าฝืนบทบัญญัติในวรรคหน่ึง ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับ ไม่เกนิ หกหมน่ื บาทหรือทัง้ จำ� ท้ังปรับ

กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว 37 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

มาตรา ๑๐ ในการด�ำเนินการตามมาตรา ๘ ใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ท่ซี ง่ึ มีฐานะเทียบ ได้ไม่ต่�ำกว่าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจชั้นผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาและได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีมีอ�ำนาจออกค�ำสั่งก�ำหนดมาตรการหรือ วิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์ให้แก่บุคคลผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัวเป็นการ ชั่วคราว ไม่ว่าจะมีค�ำร้องขอจากบุคคลดังกล่าวหรือไม่โดยให้มีอ�ำนาจออกค�ำส่ังใด ๆ ได้ เทา่ ทจ่ี ำ� เปน็ และสมควร ซงึ่ รวมถงึ การใหผ้ กู้ ระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั เขา้ รบั การตรวจ รักษาจากแพทย์ การให้ผ้กู ระทำ� ความรนุ แรงในครอบครัวชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ เบ้ืองต้นตามสมควรแก่ฐานะการออกค�ำสั่งห้ามผู้กระท�ำความรุนแรงในครอบครัวเข้าไป ในท่ีพ�ำนักของครอบครัวหรือเข้าใกล้ตัวบุคคลใดในครอบครัว ตลอดจนการก�ำหนดวิธี การดูแลบตุ ร เมอ่ื พนกั งานเจา้ หนา้ ทอ่ี อกคำ� สงั่ กำ� หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารเพอื่ บรรเทาทกุ ขอ์ ยา่ ง ใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้เสนอมาตรการหรือวิธีการเพ่ือบรรเทา ทุกข์ต่อศาลภายในส่ีสิบแปดช่ัวโมงนับแต่วันออกค�ำส่ังก�ำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อ บรรเทาทุกข์ หากศาลเห็นชอบกับค�ำสั่งก�ำหนดมาตรการหรือวิธีการ.เพ่ือบรรเทาทุกข์ ดังกล่าว ใหค้ ำ� ส่งั กำ� หนดมาตรการหรือวิธีการเพ่อื บรรเทาทกุ ขม์ ีผลตอ่ ไป ในกรณที ศ่ี าลไมเ่ หน็ ชอบดว้ ยกบั คำ� สง่ั กำ� หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารเพอ่ื บรรเทาทกุ ข์ ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือมีข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์เปล่ียนแปลงไป ให้ศาลท�ำการ ไต่สวนและมีค�ำสั่งโดยพลันหากข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์เพียงพอแก่การวินิจฉัยออก ค�ำสัง่ ศาลอาจแก้ไขเพม่ิ เตมิ เปล่ียนแปลง หรือเพกิ ถอนคำ� สงั่ ก�ำหนดมาตรการหรอื วิธีการ เพ่ือบรรเทาทกุ ขห์ รือออกคำ� สัง่ ใด ๆ รวมทั้งกำ� หนดเงือ่ นไขเพ่ิมเติมกไ็ ด้ ผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับค�ำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือศาลตามมาตราน้ี สามารถ ยนื่ อทุ ธรณค์ ำ� สงั่ เปน็ หนงั สอื ขอใหศ้ าลทบทวนคำ� สง่ั ไดภ้ ายในสามสบิ วนั นบั แตท่ ราบคำ� สงั่ ใหค้ �ำพิพากษาหรือคำ� ส่ังของศาลเป็นทส่ี ุด ผใู้ ดฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทหี่ รอื ศาล ตอ้ งระวางโทษจำ� คุกไม่เกินสามเดอื น หรือปรบั ไมเ่ กินสามพันบาท หรอื ท้ังจ�ำทัง้ ปรับ มาตรา ๑๑ ในระหวา่ งการสอบสวนหรอื การพจิ ารณาคดี ใหศ้ าลมอี ำ� นาจออกคำ� สงั่ ก�ำหนดมาตรการหรือวธิ ีการเพ่ือบรรเทาทกุ ขต์ ามมาตรา ๑๐ หรอื ออกคำ� สง่ั ใด ๆ ได้ตาม ทีเ่ หน็ สมควร

38 พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผ้ถู ูกกระทำ� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

ในกรณที เี่ หตกุ ารณห์ รอื พฤตกิ ารณเ์ กยี่ วกบั ผกู้ ระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั หรอื ผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั เปลย่ี นแปลงไป ศาลมอี ำ� นาจแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ เปลย่ี นแปลง หรือเพิกถอนคำ� สั่งก�ำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ หรือค�ำส่ังใด ๆ รวมท้ัง กำ� หนดเง่อื นไขเพม่ิ เตมิ ก็ได้ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่งศาล ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรบั ไม่เกินหกพนั บาท หรือทง้ั จ�ำทงั้ ปรบั มาตรา ๑๒ ในกรณีที่ศาลพิพากษาว่า ผู้กระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั มีความผิด ตามมาตรา ๔ ศาลมีอ�ำนาจก�ำหนดให้ใช้วิธีการฟื้นฟู บ�ำบัดรักษา คุมความประพฤติ ผู้กระท�ำความผิดให้ผู้กระท�ำความผิดชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ท�ำงานบริการ สาธารณะ ละเว้นการกระท�ำอันเป็นเหตุให้เกิดการใช้ความรุนแรงในครอบครัว หรือท�ำ ทณั ฑ์บนไว้ ตามวิธีการและระยะเวลาทศี่ าลกำ� หนดแทนการลงโทษผู้กระท�ำความผิดก็ได้ ในกรณีที่มีการยอมความ การถอนค�ำร้องทุกข์ หรือการถอนฟ้องในความผิดตาม มาตรา ๔ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี จัดให้มีการท�ำบันทึกข้อตกลง เบอ้ื งตน้ กอ่ นการยอมความการถอนคำ� รอ้ งทกุ ข์ หรอื การถอนฟอ้ งนน้ั และกำ� หนดใหน้ ำ� วธิ กี าร ตามวรรคหน่ึงเป็นเงื่อนไขในการปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวโดยอนุโลมโดยอาจ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผเู้ สยี หายหรอื บคุ คลในครอบครวั ประกอบดว้ ยกไ็ ด้ หากไดป้ ฏบิ ตั ติ าม บนั ทกึ ขอ้ ตกลงและเงอ่ื นไขดงั กลา่ วครบถว้ นแลว้ จงึ ใหม้ กี ารยอมความ การถอนคำ� รอ้ งทกุ ข์ หรอื การถอนฟอ้ งในความผดิ ตามมาตรา ๔ ได้ หากผตู้ อ้ งหาหรอื จำ� เลยฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิ ตามเงื่อนไขดังกลา่ วใหพ้ นกั งานสอบสวนหรือศาลมอี �ำนาจยกคดีข้ึนด�ำเนนิ การต่อไป หลกั เกณฑแ์ ละวิธดี �ำเนินการตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบยี บที่ อธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางประกาศก�ำหนดในราชกิจจานุเบกษา หรือรัฐมนตรปี ระกาศกำ� หนด แล้วแตก่ รณี มาตรา ๑๓ ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จัดให้มี ระบบงานเพอื่ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานและการบงั คบั ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ โดยกำ� หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๔ วิธีพจิ ารณา การยืน่ และการรบั ฟังพยานหลกั ฐาน หากพระราชบัญญตั ิ นมี้ ไิ ดบ้ ญั ญตั ไิ วโ้ ดยเฉพาะ ใหน้ ำ� กฎหมายวา่ ดว้ ยการจดั ตง้ั ศาลเยาวชนและครอบครวั และ วิธพี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครวั มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว 39 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์

มาตรา ๑๕ ไมว่ ่าการพิจารณาคดกี ารกระทำ� ความรุนแรงในครอบครวั จะได้ด�ำเนิน ไปแลว้ เพยี งใด ใหศ้ าลพยายามเปรยี บเทยี บใหค้ คู่ วามไดย้ อมความกนั โดยมงุ่ ถงึ ความสงบสขุ และการอยรู่ ว่ มกนั ในครอบครวั เปน็ สำ� คญั ทง้ั น้ี ใหค้ ำ� นงึ ถงึ หลกั การดงั ตอ่ ไปนี้ ประกอบดว้ ย (๑) การคมุ้ ครองสทิ ธิของผถู้ กู กระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครวั (๒) การสงวนและคมุ้ ครองสถานภาพของการสมรสในฐานะทเี่ ปน็ ศนู ยร์ วมของชาย และหญงิ ทส่ี มคั รใจเขา้ มาอยกู่ นิ ฉนั สามภี รยิ า หากไมอ่ าจรกั ษาสถานภาพของการสมรสได้ กใ็ หก้ ารหยา่ เป็นไปดว้ ยความเปน็ ธรรมและเสียหายนอ้ ยทสี่ ดุ โดยคำ� นึงถงึ สวสั ดภิ าพและ อนาคตของบุตรเปน็ สำ� คญั (๓) การคมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื ครอบครวั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในขณะทคี่ รอบครวั นน้ั ตอ้ งรับผิดชอบในการดูแลใหก้ ารศึกษาแก่สมาชกิ ทีเ่ ป็นผู้เยาว์ (๔) มาตรการต่าง ๆ เพ่ือชว่ ยเหลือสามีภริยาและบุคคลในครอบครวั ให้ปรองดอง กนั และปรับปรุงความสมั พันธร์ ะหวา่ งกนั เองและกบั บุตร มาตรา ๑๖ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการยอมความในคดกี ารกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั พนักงานเจ้าหน้าทหี่ รือศาล แลว้ แต่กรณี อาจตัง้ ผ้ปู ระนปี ระนอมประกอบด้วยบุคคลหรือ คณะบคุ คลซงึ่ เปน็ บิดามารดา ผู้ปกครอง ญาติของคคู่ วามหรือบคุ คลทพี่ นกั งานเจ้าหนา้ ที่ หรอื ศาลเหน็ สมควรเพอื่ ใหค้ ำ� ปรกึ ษา หรอื ชว่ ยเหลอื ในการไกลเ่ กลยี่ ใหค้ คู่ วามไดย้ อมความกนั หรืออาจมอบหมายให้นักสังคมสงเคราะห์ หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ หรือบุคคลใด ชว่ ยเหลอื ไกลเ่ กล่ียให้ค่คู วามไดย้ อมความกนั กไ็ ด้ เม่ือผู้ประนีประนอมหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายตามวรรคหนึ่งได้ด�ำเนินการไกล่เกลี่ย ตามคำ� สง่ั พนกั งานเจา้ หนา้ ทหี่ รอื ศาลแลว้ ใหร้ ายงานผลการไกลเ่ กลยี่ ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี หรือศาลแล้วแต่กรณีด้วย ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยเป็นผลส�ำเร็จ บุคคลดังกล่าวจะจัดให้มี การท�ำสัญญายอมความข้ึน หรือจะขอให้เรียกคู่ความมาท�ำสัญญายอมความกันต่อหน้า พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี หรอื ศาลกไ็ ด้ เม่ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือศาลเห็นว่าสัญญายอมความไม่ฝ่าฝืนต่อกฎหมายและ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทห่ี รอื ศาลดำ� เนนิ การ ให้เป็นไปตามสัญญายอมความนนั้ มาตรา ๑๗ ใหก้ ระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ดั ท�ำรายงาน ประจำ� ปแี สดงจำ� นวนคดกี ารกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั จำ� นวนคำ� สง่ั กำ� หนดมาตรการ หรือวิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์ และจ�ำนวนการละเมิดค�ำส่ังก�ำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่

40 พระราชบัญญตั ิคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำ ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐

บรรเทาทุกข์ของพนักงานเจ้าหน้าที่และศาล และจ�ำนวนการยอมความ และรายงานต่อ คณะรฐั มนตรีและรฐั สภาเพอ่ื ทราบปลี ะคร้ัง มาตรา ๑๘ ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอ�ำนาจแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีกับออกกฎ กระทรวงและระเบียบเพอ่ื ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญัติน้ี กฎกระทรวงและระเบยี บนน้ั เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้

ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยทุ ธ์ จุลานนท์ นายกรฐั มนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากปัญหาการ แกไ้ ขการใชค้ วามรนุ แรงในครอบครวั มคี วามละเอยี ดออ่ นซบั ซอ้ นเกยี่ วพนั กบั บคุ คลใกลช้ ดิ มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการท�ำร้ายร่างกายระหว่างบุคคลโดยท่ัวไป การใช้มาตรการ ทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาบังคับกับ การกระท�ำด้วยความรุนแรงใน ครอบครวั จงึ ไมเ่ หมาะสม เนอื่ งจากกฎหมายอาญามเี จตนารมณท์ จี่ ะลงโทษผกู้ ระทำ� ความ ผดิ มากกวา่ ที่จะแกไ้ ขฟนื้ ฟผู กู้ ระทำ� ผดิ หรอื ปกปอ้ งคมุ้ ครองผทู้ ถ่ี ูกกระทำ� ดว้ ยความรนุ แรง ในครอบครัว ดังน้ัน การมีกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว จึงมีความเหมาะสมกว่าการใช้กระบวนการทางอาญา เพราะสามารถก�ำหนดรูปแบบ วธิ กี าร และขนั้ ตอนทมี่ ลี กั ษณะแตกตา่ งจากการดำ� เนนิ คดอี าญาโดยทว่ั ไป โดยใหผ้ กู้ ระทำ� ความผิดมีโอกาสกลับตัวและยับย้ังการกระท�ำผิดซ้�ำ รวมทั้งสามารถรักษาความสัมพันธ์ อันดีในครอบครัวไว้ได้ประกอบกับเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวมีสิทธิได้รับ ความคมุ้ ครองโดยรฐั จากการใช้ความรุนแรงและการปฏบิ ัตอิ ันไมเ่ ปน็ ธรรม จึงจ�ำเปน็ ต้อง ตราพระราชบญั ญตั ินี้

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั 41 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์

เบอร์ตดิ ตอ่ หนว่ ยงานดา้ นครอบครวั

๑. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ กองสง่ เสรมิ สถาบนั ครอบครวั กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ๕๓๙/๒ อาคารมหานครยปิ ซ่ัม ชนั้ ๒๓ ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ www.dwf.go.th, www.violence.in.th โทรศพั ท/์ โทรสาร ๐๒-๖๔๒-๗๗๕๐ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ปอ้ งกนั การกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั กรงุ เทพฯ โทรศัพท.์ ๐๒-๖๔๒-๕๐๔๘ (ยปิ ซ่มั ), ๐๒-๓๐๖-๘๘๑๐ (บา้ นราชวิถ)ี ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ปอ้ งกันการกระท�ำความรุนแรงในครอบครวั ส่วนภูมภิ าค พมจ ๗๖ จังหวดั บ้านพกั เด็กและครอบครวั กรุงเทพฯ โทรศัพท์. ๐๒-๓๕๔-๗๕๘๐ บา้ นพักเด็กและครอบครวั จงั หวัด สว่ นภูมิภาค ๗๖ จังหวัด ศนู ยช์ ่วยเหลือสังคม ๑๓๐๐ ๒. กระทรวงสาธารณสุข กรมสขุ ภาพจิต โทรศพั ท.์ ๐๒-๑๔๙-๕๕๕๕-๖๐ กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ โทรศพั ท์. ๐๒-๑๙๓-๗๐๐๐ กรมอนามัย โทรศัพท์. ๐๒-๕๙๐-๔๐๐๐ โทรสาร ๐๒-๕๙๐-๔๐๙๔ กรมการแพทย์ โทรศพั ท์. ๐๒-๕๙๐-๖๐๐๐

42 พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผู้ถกู กระท�ำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

๓. กระทรวงยุติธรรม กรมคมุ้ ครองสิทธแิ ละเสรีภาพ สายด่วนยุตธิ รรม ๑๑๑๑ กด ๗๗ โทรสาร. ๐๒-๑๔๓-๙๖๘๑ ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง โทรศพั ท์. ๐๒-๒๗๒-๕๒๐๑, ๐๒-๒๗๒-๕๒๒๓-๕ , ส่วนมาตราการพเิ ศษและคุ้มครองสวัสดภิ าพ โทรศพั ท.์ ๐๒-๒๗๒๕๒๔๘ ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั ส่วนภูมิภาค ๗๖ จังหวดั ๔. กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง โทรศัพท.์ ๐๒-๒๒๑-๐๑๕๑-๘ กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ เลขหมายโทรศัพท์กลาง สถ. โทรศัพท์. ๐๒-๒๔๑-๙๐๐๐ ๕.สำ� นกั งานอัยการสงู สุด สำ� นักงานคุ้มครองสทิ ธิและชว่ ยเหลอื ทางกฎหมายแก่ประชาชน (ส่วนกลาง) อาคารศูนยร์ าชการฯ อาคารราชบรุ ีดเิ รกฤทธ์ิ ชัน้ ๒ โทรศพั ท์ : ๐๒-๑๔๒-๕๑๒๘, ๐๒-๑๔๒-๒๐๗๖-๗๗, ๐๒-๑๔๒-๒๐๙๙ ปรกึ ษาปญั หากฎหมาย : ๐๒-๑๔๒-๒๐๓๔ โทรสาร : ๐๒-๑๔๓-๙๑๖๙ อาคารถนนรชั ดาภเิ ษก ช้นั ที่ ๓ ปรึกษากฎหมาย : ๐๒-๕๑๕-๔๐๔๒, ผูจ้ ัดการมรดก : ๐๒-๕๑๕-๔๐๕๔, ๐๒-๕๑๕-๔๐๖๑ ส�ำนักงานคดเี ยาวชนและครอบครวั โทรศพั ท์. ๐๒-๒๒๔-๐๐๙๓ สำ� นกั งานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัด ๗๖ จงั หวดั

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั 43 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์

๖. สำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ โรงพยาบาลต�ำรวจ ศูนยพ์ ึ่งได้ โทรศัพท์. ๐๒-๒๐๗-๖๓๐๓ กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล โทรศพั ท์. ๐๒-๒๘๒-๘๒๐๙ กองบญั ชาการตำ� รวจสอบสวนกลาง โทรศัพท์กลาง : ๐๒-๒๐๕-๑๗๘๑ โทรสาร : ๐๒-๒๕๕-๑๙๑๐ กองบังคบั การปราบปรามการค้ามนษุ ย์ โทรศพั ท์. ๑๑๙๑ กองกำ� กับการสวัสดภิ าพเด็กและสตรี (กก.ดส.) โทร ๐๒-๒๘๒-๓๘๙๒ ต�ำรวจภูธร ภาค ๑ (ภ.๑) โทรศัพท์ . ๐๒-๕๓๗-๘๕๘๕-๙ ตำ� รวจภธู รภาค๒(ภ.๒)โทรศพั ท.์ ๐๓๘-๒๗๕-๐๒๑-๒,๐๓๘-๒๗๕-๐๒๘-๓๐ ต�ำรวจภูธร ภาค ๓ (ภ.๓) โทรศัพท์. ๐๔๔-๒๕๕-๒๗๗ ตำ� รวจภธู ร ภาค ๔ (ภ.๔) โทรศพั ท.์ ๐๔๓-๒๔๕-๑๖๖ , ๐๔๓-๒๔๗-๑๒๐ ตำ� รวจภธู ร ภาค ๕ (ภ.๕) โทรศัพท.์ ๐๕๓-๑๔๐ ๐๐๐ ตำ� รวจภูธร ภาค ๖ (ภ.๖) โทรศพั ท์. ๐๕๕-๓๖๘-๑๑๔ - ๙ ต�ำรวจภธู ร ภาค ๗ (ภ.๗) โทรศพั ท์. ๐๓๔-๒๔๓-๗๕๑-๙ ตำ� รวจภูธร ภาค ๘ (ภ.๘) โทรศพั ท.์ ๐๗๖-๓๓๘-๓๘๘ ต�ำรวจภธู ร ภาค ๙ (ภ.๙) โทรศพั ท์. ๐๗๔-๓๑๑-๑๖๑

๗. หน่วยงานเอกชน มลู นธิ เิ ครือขา่ ยครอบครวั โทรศพั ท์. ๐๒-๙๕๔-๒๓๔๖

44 พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผู้ถกู กระท�ำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ โทรศัพท.์ ๐๒-๓๕๔-๗๕๖๓ สมาคมสง่ เสริมสถานภาพสตรใี นพระอุปถมั ภ์พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ โทรศัพท์. ๐๒-๖๗๑-๔๐๔๕-๘ สมาคมวางแผนครอบครวั แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี โทรศัพท.์ ๐๒-๙๔๑-๒๓๒๐ สมาคมบณั ฑติ สตรที างกฎหมายแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ โทรศพั ท์. ๐๒-๒๔๑-๐๗๓๗ มูลนิธผิ ู้หญิง โทรศพั ท.์ ๐๒-๔๓๕-๑๒๔๖ มลู นธิ ิเพือ่ นหญงิ โทรศพั ท์. ๐๒-๕๑๓-๑๐๐๑ มูลนธิ ิปวณี าหงสกลุ เพอื่ เดก็ และสตรี โทรศัพท์. ๐๒-๕๗๗-๐๕๐๑ มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ โทรศัพท์. ๐๒-๒๗๗-๗๖๙๙ ,๐๒-๒๗๗-๘๘๑๑ มูลนธิ หิ ญงิ ชายก้าวไกล โทรศพั ท.์ ๐๒-๕๑๓-๒๘๘๙ มลู นธิ ศิ ูนยพ์ ิทกั ษ์สทิ ธิเดก็ โทรศัพท์. ๐๒-๔๑๒-๑๑๙๖ มูลนธิ สิ ง่ เสริมความเสมอภาคทางสงั คม โทรศัพท์. ๐๒-๙๓๐-๐๕๓๓

ออกแบบและจัดท�ำ โดย กลุ่มคมุ้ ครองและพิทักษส์ ทิ ธิ กองสง่ เสรมิ สถาบนั ครอบครวั กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว

พิมพค์ รัง้ ท่ี ๙ เดอื นตลุ าคม ๒๕๖๒

จ�ำ นวนทพี่ ิมพ์ ๓๐,๐๐๐ เลม่

จำ�นวนหนา้ ๔๔ หนา้

พมิ พท์ ่ี บริษทั รำ�ไทยเพรส จ�ำ กดั

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

๒๕๕ ถนนราชวิถี แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ ฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๔๒ ๗๗๕๐ โทรสาร ๐ ๒๖๔๒ ๗๗๕๐ www.dwf.go.th, www.violence.in.th

เพิ่มความรกั ให้ครอบครวั ... ลดความรุนแรงในสังคม

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)

255 ถนนราชวถิ ี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2642 7750 โทรสาร 0 2642 7750

www.violence.in.th http://www.dwf.go.th facebook : white Ribbon Team