ว ธ กร เส นสแตนเลสบนโครงผน งย ปซ ม

ว ธ กร เส นสแตนเลสบนโครงผน งย ปซ ม

Arunee Chaipicit Download

  • Publications :0
  • Followers :0

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-12090938-609-1079

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-12090938-609-1079

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-12090938-609-1079

“เฟอร์ริ่งไลน์ เข้าใจลูกค้าที่มาใช้บริการ พนักงานเป็นกันเอง บริการดี รวดเร็ว ให้ความช่วยเหลือทุกอย่าง แล้วก็ดูแลกันมาตลอด ถ้าใครได้มาสัมผัส มาลองใช้บริการที่นี่ ก็จะมีความคิดเหมือนผมครับ”

– คุณบุญสม ศรีอรุณกิจจา –

“เฟอร์ริ่งไลน์ มีของครบทุกอย่าง ในราคาที่มาตรฐาน มีการบริการที่เป็นกันเองกับลูกค้า เหมือนคนในครอบครัว เหมือนเพื่อน เหมือนทีมงานเดียวกัน คุณจะไม่ผิดหวังเลยถ้ามาที่ เฟอร์ริ่งไลน์”

– คุณไพโรจน์ วงศ์ธนาธิกุล –

“สินค้ามีครบ ร้านสะดวกสบาย บริการไวดี เข้ามาแล้วไม่ต้องรอนาน ซื้อสินค้าแล้วก็มีของรางวัลให้ด้วย”

– คุณสมบัติ สพานหล้า –

“เฟอร์ริ่งไลน์ ถูกกว่าร้านในท้องตลาด ถ้าซื้อร้านในท้องตลาดทั่วไป หนึ่งของแพง และไม่มีของแถม ไม่มีโปรโมชั่นอะไรให้เลย”

– คุณสมพงษ์ หาญชนะ –

“มาที่นี่แล้วได้ของที่ต้องการ ที่เดียวจบ ไม่ต้องไปหาที่อื่นอีก บริการก็ดีครับ มาทุกครั้งก็จะได้ของรางวัลกลับไปทุกครั้ง”

– คุณหลง ไตยตระกูล –

“มีสินค้าตราช้างให้เลือกเยอะมาก ตามสเปคที่เราต้องการ การบริการลูกค้าก็ดี เป็นกันเองมาก ชอบที่สุดครับ”

รายงานผลการดาเนินงาน

โครงการการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง สืบสานงานศลิ ป์ พลกิ ดนิ สู่ดาวตามแนวพระราชดาริ”

กศน.ตาบลผาบิ้ง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั สะพงุ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดเลย

สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

ตามท่ี สานักงาน กศน. ได้ให้นโยบายด้านการจัดการศึกษาที่เน้นพัฒนาคน ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้เท่า เทียมกันอย่างมีคุณภาพ และจาเป็นต้องส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ท้ังด้านทักษะวิชาการ และทักษะท่ีจาเป็นต่อการดาเนินชีวิต นโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การ พัฒนาประเทศ ข้อที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลัก ของชาติ โดยปลูกฝงั และสร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเ์ สริมสร้างความรัก และความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่าง ๆ กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ข้อที่ 4 การ จัดกิจกรรมเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงจัดโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลิกดนิ สู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” ซง่ึ เป็นการสรุปผลการ ดาเนินงานของ กศน.ตาบลผาบิ้ง อาเภอวังสะพุง จงั หวัดเลย โดยดาเนนิ การในวนั ท่ี 25 พฤศจิกายน 2565

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจ พอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” นี้ สามารถนามาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการจัด กิจกรรม กศน. ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ ซึ่งสามารถดาเนินการจัด กศน. ได้อย่างครบวงจร (PDCA)

กศน.ตาบลผาบิ้ง จึงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ที่จะบ่งบอกถึงการบรรลวุ ัตถุประสงค์ของโครงการและจะเป็น ประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม กศน. ท้ังในการบริหารงาน การพัฒนาคน และการทางานที่ตรงตามความต้องการ ของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพรต่ ่อสาธารณชนได้ และขอขอบคณุ ผ้มู สี ่วนเกยี่ วข้องและให้ ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามทุกท่านไว้ ณ โอกาสนีด้ ้วย

จดั ทาโดย กศน.ตาบลผาบ้ิง

สารบัญ

คานา หน้า สารบญั ก บทท่ี 1 บทนา ข บทที่ 2 เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง 1 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนนิ การ 3 บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน 17 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 20 ภาคผนวก 23

- โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงาน ศลิ ป์ พลกิ ดินสูด่ าวตามแนวพระราชดาริ”

- บัญชีลงเวลาผเู้ ขา้ ร่วมโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจ พอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลกิ ดนิ สูด่ าวตามแนวพระราชดาริ”

- แบบประเมินความพึงพอใจโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกจิ พอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลกิ ดนิ สดู่ าวตามแนวพระราชดาริ”

- รูปภาพกิจกรรมโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจ พอเพยี ง สืบสานงานศลิ ป์ พลิกดนิ ส่ดู าวตามแนวพระราชดาริ” คณะผู้จดั ทา

1

บทท่ี 1 บทนา

1.1 ความเปน็ มา ด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560 – 2579) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขจุดอ่อน และเสริมจุดแข็งให้

เอื้อต่อการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสร้างและรักษาไว้ซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติ ในการท่ีจะให้ ประเทศไทยมีความม่ันคงในทุกด้าน คนในชาติมีคุณภาพชีวิตท่ีดี และประเทศสามารถพัฒนาไปได้อย่างย่ังยืน จากยุทธศาสตร์ จานวน 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งสอดคล้องจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยทุกช่วงวัยให้ เป็นคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินัย มีจติ สานึกที่ดีต่อสังคมสว่ นรวม มีทกั ษะความรู้และ ความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษาให้ตรงตาม ความต้องการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิต และสังคม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพปญั หาความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซ่ึงเปน็ ผ้มู คี วามรู้ประสบการณจ์ ากการทางาน และ การประกอบอาชีพ ให้ความสาคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่ไปกับการ พัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ท้ังภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยี เพื่อให้ ผ้เู รยี นสามารถปรับตัว อยู่ในสังคมทมี่ ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมคิ ุ้มกนั ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั้งคานึงถึง ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ท่ีอยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้า ของเทคโนโลยแี ละการสอ่ื สาร

กศน.ตาบลผาบิ้ง เห็นความสาคัญของการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ชุมชน โดยวธิ ีการ แลกเปล่ียนเรียนรู้จากภูมิปัญญา การสร้างองค์ความรู้สู่กระบวนการคิดแก้ปัญหาจากสภาพที่เกิดข้ึนจริง นาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีความสุข จึงจัดกิจกรรมโครงการ การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง “กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง สบื สานงานศลิ ป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” ข้ึน

1.2 วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ใหป้ ระชาชนในตาบลวังสะพงุ ไดเ้ รยี นรูเ้ กย่ี วกบั ฐานการเรยี นรตู้ า่ งๆ เกี่ยวกบั เศรษฐกจิ พอเพียง 2. ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับฐานการเรยี นร้ตู า่ งๆ เพ่ือนาไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวันได้

1.3 กลมุ่ เปา้ หมาย

เชิงปริมาณ

ประชาชนท่วั ไปในตาบลผาบงิ้ จานวน 3 คน

เชิงคณุ ภาพ

ประชาชนทั่วไปในตาบลวังสะพุง ได้เรียนรู้เก่ียวกับฐานการเรียนรู้ต่างๆ เก่ียวกับเศรษฐกิจ

พอเพียง และได้ฝึกปฏิบตั ิเกย่ี วกบั ฐานการเรยี นรูต้ ่างๆ เพอ่ื นาไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้

2

1.4 ขอบเขตในการทากิจกรรม

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พนื้ ทดี่ าเนินการ ระยะเวลา บคุ ลากร 27 คน 1.ประชุมบุคลากรผูท้ ่ี ขอมติทป่ี ระชุม กศน.อาเภอ 7 พ.ย.

เกีย่ วขอ้ ง วังสะพงุ 2565

2.เขยี นโครงการเสนอ ขออนมุ ตั โิ ครงการ เจ้าหน้าที่งาน 1 คน กศน.อาเภอ 8 พ.ย. ขออนมุ ัติ บคุ ลากร 26 คน วงั สะพุง 2565

3.แต่งตัง้ คณะทางาน มอบหมายงาน กศน.อาเภอ 15 พ.ย. วังสะพุง 2565

4.จดั เตรียมสถานท่ี จัดเตรียมเอกสารทใี่ ชใ้ น บคุ ลากร 26 คน กศน.อาเภอ 24 พ.ย. วสั ดุ สอื่ และอปุ กรณ์ โครงการฯ สถานที่ วัสดุ ประชาชนใน 5.ดาเนินการตาม อุปกรณ์ ตามหน้าที่ ตาบลผาบ้งิ วังสะพุง 2565 โครงการฯ ตามกาหนดการที่ 1. เพอ่ื ให้ประชาชนใน - ผู้นเิ ทศตดิ ตาม 3 คน โครงการพฒั นา 25 พ.ย. แนบ ตาบลวงั สะพุง ได้เรียนรู้ - ครู กศน.ตาบล เก่ียวกบั ฐานการเรียนรู้ - ครู ศรช. พืน้ ท่ีเพอ่ื 2565 6.ตดิ ตามประเมนิ ผล ตา่ งๆ เก่ยี วกับเศรษฐกิจ / สรปุ รายงาน พอเพียง เทิดพระเกียรติ 2. ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม ได้ฝึก ปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั ฐานการ สมเดจ็ พระนางเจา้ เรยี นรตู้ ่างๆ เพื่อนาไปปรับ ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ สิริกติ ์ิ

ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน พระบรมราชนิ ีนาถ เมือ่ แลว้ เสรจ็ ผาบา่ ว-ผาสาว

อาเภอวังสะพุง

จงั หวดั เลย

1 คน กศน.ตาบล 1 ธ.ค.

1 คน ผาบง้ิ 2565

1 คน

1.5 ขอบเขตพื้นท่ีการจดั กจิ กรรม โครงการพัฒนาพนื้ ทเี่ พ่ือเทิดพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ผาบ่าว-ผาสาว

ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพุง จงั หวดั เลย

1.6 ขอบเขตระยะเวลาการจัดกจิ กรรม วนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 07.00 น. - 17.00 น.

1.7 เครือข่าย 1. โครงการพฒั นาพื้นทีเ่ พื่อเทดิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ ผาบา่ ว-ผาสาว

ตาบลเขาหลวง อาเภอวงั สะพงุ จังหวัดเลย 2. ภูมปิ ัญญาในพน้ื ท่ี ฯลฯ

3

บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง

2.1 ทอผา้ ไหม การทอผ้านั้นต้องอาศัยฝีมือและความรู้ความชานาญของผู้ทอเป็นอย่างมาก เป็นงานศิลปะท่ีมีอยู่เพียง

ช้นิ เดียวในโลก เพราะแต่ละคนท่ีทาแต่ละข้ันตอน จะมีความแตกต่างกัน เส้นไหมท่ีสาวได้แต่ละช่วงเวลาหรือแต่ ละระยะของฝักไหมให้ความหนาของเส้นไม่เทา่ กัน สีไม่เหมือนกัน นอกจากนั้นแล้วความสามารถในการทอ การ สอดกระสวย ความแรงในการตีกระทบหรือการฟัดทาให้ได้สีเข้มอ่อนต่างกัน การเรียงเส้นไหมให้ตรงลายจ ะ แสดงถึงความคมชัดและความชานาญของผู้ทอแต่ละคน อากาศ อุณหภูมิ หรือแม้แต่อารมณ์ความรู้สึกของผู้ทอ ส่งิ เหล่านม้ี ีผลกบั ความสวยงามของผ้าผืนน้นั ๆ จึงทาให้ผ้าทอมือแต่ละผนื ทท่ี อ มีเอกลักษณ์เป็นของตวั เองและมี เพยี งผืนเดยี วในโลกเท่านัน้

1. โครงหูกหรือโครงก่ี ประกอบด้วยเสา 4 ต้น มีรางหูกหรือรางกี่ 4 ด้าน ทั้งด้านบนและด้านล่าง เสา แต่ละดา้ ยมีไม้ยดึ ติดกนั เป็นแบบดั้งเดมิ ทน่ี ยิ มใช้กนั มาตัง้ แต่อดีตถงึ ปัจจุบัน

2. ฟืม หรอื ฟันหวี มีฟันเป็นซ่ี คล้ายหวี ใช้สาหรับสอดเส้นไหมยืนเพื่อจัดเส้นไหมใหอ้ ยู่หา่ งกัน และใช้ กระทบไหมเส้นพุ่งให้สานขัดกับไหมเส้นยืนที่อัดแน่นเป็นเนื้อผ้า ฟันฟืมอาจจะทาด้วยไม้ หรือเหล็ก หรือสแตน เลสก็ได้ มีหลายขนาด ขึ้นกับว่าผู้ใช้จะต้องการผ้ากว้างขนาดเท่าใด เช่น ฟืมอาจมี 35-50 หลบ หรือมากกว่านี้ แต่ละหลบมี 40 ช่องฟัน แต่ละช่องจะสอดเส้นไหมยืน 2 เส้น ดังน้ันการทอผ้าครั้งหน่ึง ๆ อาจจะใช้เส้นไหมยืน ประมาณ 2800-4000 เสน้ ชาวบา้ นสมพรรตั น์จะนิยมใชฟ้ มื 50 หรอื 60

3. เขาหูก หรือตะกอ คือ เชือกทาด้วยด้ายไนลอนที่ร้อยคล้องไหมยืน เพื่อแบ่งเส้นไหมเป็นหมวดหมู่ ตามที่ต้องการเมื่อยกเขาหูกหรือตะกอขึ้น ก็จะดึงเส้นไหมยืนเปิดเป็นช่อง สามารถพุ่งกระสวยเข้าไปให้เส้นไหม พุ่งสานขัดกับเส้นไหมยืนได้ เวลาสอดเส้นไหมยืนต้องสอดสลับกันไปเส้นหนึ่งเว้นเส้นหน่ึง และมีเชือกผูกเขาหูก แขวนไว้กับโครงก่ีด้านบนสามารถเลื่อนไปมาได้ ส่วนด้านล่างผูกเชือกติดกับคานเหยียบ เมื่อต้องการดึงแยกเส้น ไหมให้เป็นช่องจะใช้เท้าเหยียบที่คานเหยียบทาให้เขาหูกเล่ือนขึ้น-ลง เกิดเป็นช่องสาหรับใส่เส้นไหมพุ่ง หาก ต้องการทอผ้าเป็นลวดลายท่ีงดงาม จะต้องใช้ตะกอและคานเหยียบจานวนหลายอัน วิธีการเก็บตะกอหรือเก็บ เขาจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของผ้าและลวดลายของผ้าท่ีจะทา การทอผ้าของชาวบ้านสมพรรัตน์ส่วนใหญ่ จะใช้แบบ 2 ตะกอ

4. กระสวย ใช้บรรจุหลอดเส้นไหมพุ่ง มีหลายแบบ อาจจะทาจากไม้ไผ่ ไม้เนื้อแข็ง หรือพลาสติกให้มี น้าหนักพอประมาณจะได้ไม่พลิกเวลาพุ่งกระสวย มีความลื่นและไม่มีเส้ียน ขนาดกว้างประมาณ 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เจาะรูตรงกลาง ทาปลายทั้งสองด้านให้งอนเล็กน้อย เพื่อให้ลอดผ่านเส้นไหมยนื ได้ ง่ายขน้ึ

5. ไมห้ นา้ หูก คอื ไม้ท่ีอย่สู ว่ นหน้าสดุ ของหกู สาหรบั ผูกขึงลูกต้งุ ทาดว้ ยไมไ้ ผ่ท้ังลา 6. ไม้รางหูก คอื ไมท้ ่ีพาดขวางโครงหูก ส่วนบนทาดว้ ยไมไ้ ผ่ท้ังลามี 3-4 ท่อน ใช้สาหรับผูกแขวนลูกตุ้ง ไมข้ ้างเขา และฟมื 7. กระดานม้วนหูก เป็นไม้กระดานท่ีใช้สาหรับม้วนปลายด้านหน่ึงของเส้นไหมยืน ซึ่งม้วนเก็บและจัด เสน้ ยนื ใหเ้ ป็นระเบยี บ นอกจากนยี้ ังชว่ ยใหเ้ ส้นไหมในหูกตงึ โดยท่ปี ลายอกี ด้านหน่ึงผกู ติดหรอื พันไวก้ ับมว้ นผา้ 8. ลูกตุ้ง คือไม้ที่สอดค้างกระดานม้วนหูก มี 2 ลูก ทาด้วยไม้เน้ือแข็ง ส่วนหัวของลูกตุ้งเจ้าสาหรับ แขวนไว้กับรางหูกและต้องผกู ยดึ ติดลกู ต้งุ ไว้กับไม้หนา้ หูก เพอื่ ไม่ใหไ้ มล้ ูกต้งุ แกวง่ ไปมา

4

9. ไม้ค้างเขาหรือไม้ค้างตะกอ เป็นไม้ 2 อันสาหรับแขวนเขาหูกหรือตะกอ ส่วนปลายทั้งสองด้าน จะ เจาะรูผูกเชอื กแขวนไว้กับไมท้ ่ีพาดขวางรางหูก

10. คานแขวน เป็นไม้หาบหูก โดยสอดกับเชือกที่ผูกกับเขาด้านบน เพ่ือให้หูกยึดติดกับก่ี โดยไม้หาบ หกู จะมีอันเดยี วไม่ว่าจะใชฟ้ มื ทม่ี ีเขา 2 เขา 3 เขา หรือ 4 เขา

11. ตีนฟืม หรือตีนเหยียบ หรือคานเหยียบ คือ ไม้ 2-4 อัน ขึ้นกับจานวนเขาหรือตะกอ โดยตีน เหยียบนี้จะผูกเชือกเช่ือมโยงกับเขาหูก เพื่อใช้สาหรับเหยียบดึงเขาหูก 2-4 ตับ ให้รั้งเส้นไหมยืนข้ึนหรือลง สลับกันและเปิดช่องว่างให้กระสวยพุ่งผ่าน ตีนฟืมจะมีลักษณะกลม ยาวประมาณ 1.5-2 เมตร และจะวางขวาง กบั โครงหูก

12. ไมม้ ้วนผา้ หรอื ไม้พันผา้ หรอื ไมค้ า้ พนั คือ ไม้ทใี่ ช้ผูกปลายด้านหน่ึงของไหมยืน ซ่ึงสอดผ่านฟนั หวี แลว้ ใชผ้ า้ ไหมท่ีทอเป็นเนื้อผา้ แลว้ โดยสว่ นใหญไ่ มม้ ้วนผ้าทาดว้ ยไม้เหลี่ยมยาวประมาณ 120-180 เซนตเิ มตร

13. บ่ากี่ คือไม้ที่ใช้รองรับส่วนปลายสองด้านของไม้ม้วนผ้ามี 2 หลัก แต่ละหลักมีระยะห่างกันตาม ความกวา้ งของหกู

14. ไม้น่งั เป็นไม้กระดานทใี่ ชส้ าหรับนัง่ ทอผ้า ความยาวของไมน้ งั่ เท่ากับความกว้างของโครงหูก 15. ผงั เปน็ ไม้ทใ่ี ชข้ ึงไวต้ ามความกว้างของริมผ้าที่ทอ เพอ่ื ให้หน้าผ้าตึงพอดีกับฟมื ปลายทัง้ สองของผัง อาจเหลาแหลมเปน็ 2 แฉกหรือเปน็ ทองเหลอื งที่มี 2 แฉกสวมท้ังสองข้าง หลกั การทางานของก่ีทอผา้ นวลแข ปาลิวนชิ (2542) ใหข้ ้อมลู เก่ยี วกับหลกั การทางานของก่ีทอผา้ ไว้ ดงั นี้ 1. ทาให้เกิดช่องว่าง (shedding) โดยสับตะกอยกแล้วแยกไหมเส้นยืนออกเป็น 2 หมู่ โดยหมู่หน่งึ ข้ึน และหมูห่ น่งึ ลงเพื่อใหเ้ กดิ ช่องว่างใหส้ อดเส้นไหมพุ่งผา่ น 2. การสอดไหมเสน้ พุ่ง (picking) จะใช้กระสวยส่งไหมเส้นพุ่ง สอดไหมเส้นพุ่งให้พงุ่ ผ่านช่องว่างที่เปิด เตรยี มไว้ 3. การกระทบไหมเสน้ พุ่ง (battering) เมือ่ สอดไหมเส้นพุ่งผ่านแล้วจะต้องใช้ตัวฟืมกระทบไหมเส้นพุ่ง ให้เรียงสานขดั กับไหมเส้นยืนชดิ ติดกันแน่นเป็นเนอ้ื ผ้า 4. การเก็บและม้วนผ้าเก็บ (taking up and letting of) เม่ือทอผ้าได้จานวนหน่ึงแล้วจะต้องมีการ มว้ นผา้ เก็บเข้าแกนม้วน โดยจะตอ้ งมกี ารปรบั ไหมเสน้ ยนื ใหห้ ยอ่ นก่อนจงึ มว้ นผ้าเกบ็ ข้นั ตอนการทอผ้า หลักการในการทอผ้า คือ การเอาเส้นไหมมากกว่า 2 เส้นข้ึนไปมาขัดสลับกัน ซ่ึงมีวิธีการทอเป็นข้ัน ๆ ดงั นี้ 1. เมื่อเตรียมไหมเส้นพุ่งและไส้หูกเรียบร้อยแล้ว นาเอาเส้นหูกอนั ใหม่สบื ต่อกับไส้หูกที่ค้างอยู่ในเขาหูก และรอ่ งฟนั ฟืมเดมิ กางก่หี รือหกู ให้เรียบร้อย 2. เอาหลอดไหมเข้าร่องกระสวย ร้อยไหมจากหลอดผ่านรูเล็ก ๆ ข้างกระสวย หากเส้นไหมหมดจาก หลอดแรก ต้องเอาหลอดท่ี 2,3… ตามลาดบั หลอดทรี่ ้อยไว้ บรรจุเข้ากระสวยและทอตามลาดับ 3. คล้องเชือกจากเขาหูกอันหน่ึงเข้ากับไม้คันเหยียบข้างใดข้างหน่ึงและคล้องเชือกเขาหูกท่ีเหลืออีกอัน เขา้ กับไมค้ นั เหยียบอีกอนั เมื่อเหยียบไม้คนั เหยียบข้างหนงึ่ ไส้หูกกางออกเปน็ ช่องเน่ืองจากการดงึ ของเขาหูก พุ่ง กระสวยผ่านชอ่ งว่างนน้ั แลว้ ดึงฟืมกระทบเส้นฝ้ายท่ีออกมาจากกระสวยเข้าไปเกบ็ ไว้ เหยยี บไมค้ ันเหยียบอกี อัน พงุ่ กระสวยผา่ นชอ่ งว่าง กลับมาทางเดมิ ดึงฟืมกระทบเสน้ ฝา้ ยเข้าเกบ็ เหยยี บไมค้ ันเหยียบอีกอนั พงุ่ กระสวย ดึง ฟืมกระทบ เหยียบไม้คันเหยียบ ทาสลับกันไปเรื่อย ๆ จนได้ผืนผ้าเกิดข้ึนยากมากแล้ว จึงพันผืนผ้าไว้ด้วยไม้คา พนั

5

2.2 ปุย๋ ชวี ภาพ ปุ๋ยชีวภาพ หมายถึง สารละลายเข้มข้น หรือของเหลวท่ีได้จากการหมักเศษพืชหรือสัตว์ โดย

กระบวนการหมักในสภาพท่ีไร้อากาศ ซ่ึงมีกลุ่มจุลนิ ทรยี ์จาพวกแบคทีเรีย ราและยีสต์ ช่วยย่อยสลายปลดปล่อย สารออกมาในรูปกรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ฮอร์โมน เอนไซม์ ซ่ึงพืชสามารถนา ไปใช้ในการเจริญเติบโตได้ ประโยชน์ของปยุ๋ ชวี ภาพ

1. เรง่ การเจรญิ เตบิ โตของรากพชื 2. เพ่มิ การขยายตัวของใบ และยดื ตัวของลาต้น 3. ชกั นาใหเ้ กิดการงอกของเมล็ด 4. ส่งเสรมิ การออกดอกและติดผลดีข้ึน การทาปยุ๋ ชีวภาพจากผักสเี ขียว วัสดุอปุ กรณ์ ทีใ่ ช้หลักๆ ประกอบดว้ ย 1. ผักสีเขียว 1 สว่ น 2. กากนา้ ตาล 1 สว่ น 3. ถังพลาสตกิ ขน้ั ตอนการดาเนินการ นาผักสับเป็นช้ินเล็กๆยิ่งเล็กยิ่งใช้เวลาในการย่อยเร็วข้ึนใส่หน่ึงส่วนใส่กากน้าตาลลงไปอีกหนึ่งส่วนปิด ฝาทิ้งไว้ให้สนิท 10-30 วัน สามารถนามาใช้ได้หรืออาจผสมหัวเช้ือจุลินทรีย์ไปด้วยเพื่อเร่งการย่อยและให้เกิด จุลนิ ทรยี ข์ ยายตามท่ีเราใส่ลงไป หัวเช้ือจุลินทรีย์นั้นเกษตรกรสามารถใช้ได้ตามความสะดวกอาจใช้สารเร่ง พ.ด. ของกรมพัฒนาท่ีดิน หรือจุลินทรีย์ EM หรือใช้ปุ๋ยน้าชีวภาพอื่นท่ีมีอยู่แล้วเป็นหัวเชื้อก็ได้ไม่ต้องใส่มากเน่ืองจากเช้ือสามารถเพิ่ม จานวนไดเ้ ม่อื หมักอยูใ่ นถัง วิธีใช้ ใช้ฉีดพ่นทางใบหรือรากโคนต้นสาหรับไม้ผล อัตราปุ๋ยอินทรีย์น้า 1 ต่อน้า 200 หากใช้กับพืชผักไม้ ประดบั อัตราลดลงตามความเหมาะสม 1 ต่อ 500 หรือ 1,000

2.3 เลี้ยงไหม ไหม คือ เส้นใยจากรังไหมผเี สื้อชนิด Bombyx mori ในวงศ์ Bombycidae ผีเสื้อชนิดน้ีอ้วนป้อม มีขน

ขาวและสคี รีมคลมุ เต็มตวั ปีกมีลายเสน้ สีนา้ ตาลออ่ นหลายเส้นพาดตามแนวขวาง เมื่ออยูใ่ นชว่ งวยั อ่อนจะเปน็ ตัว หนอนสีขาวหรือครีม มีรยางค์เลก็ ๆ สน้ั ๆ คลา้ ยขาท่ีปลายหาง หนอนไหมที่เลี้ยงกนั ในประเทศไทยกนิ ใบหมอ่ น เป็นอาหาร เมื่อหนอนโตเต็มท่ีจะถักใยหุ้มดักแด้เพ่ือฟักตัวเป็นผีเสื้อ ในช่วงนี้เองท่ีเรานามาต้มเพื่อสาวเส้นใย ออกมาทอเป็นผืนผ้าได้

ไหมเป็นแมลงที่มีการเปล่ียนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์ (completely metamorphosis insect) แบ่ง ออกเป็น 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ไข่ ตัวหนอน ดักแด้ และผเี ส้ือ วงจรชวี ิตไหมจะเริ่มต้นจากไข่ ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 9- 10 วัน กลายเป็นหนอนไหม ในระยะน้ีหนอนไหมจะกนิ ใบหม่อนเปน็ อาหาร และนอนประมาณ 4-5 ช่วง ใช้เวลา ประมาณ 22-26 วัน พอหนอนไหมแก่ หรือสุกจะชกั ใยทารังหุม้ ตัวเอง ตัวไหมจะลอกคราบเป็นตัวดักแด้อยู่ในรัง ช่วงเป็นรังไหมใช้เวลาประมาณ 8-10 วัน จากนั้นดักแด้ก็จะกลายเป็นผีเสื้อ ผีเส้ือไหมจะใช้น้าลายซึ่งมีฤทธ์ิเป็น

6

ด่างละลายใยไหม และเจาะรังไหมออกมาผสมพันธุ์และวางไข่ โดยจะมีชีวิตอยู่ในช่วงน้ีประมาณ 2-3 วัน ก็จะ ตาย

เส้นไหมท่ีชาวบ้านสมพรรัตน์นามาทอเป็นผืนผ้าน้ัน ส่วนหน่ึงได้จากการปลูกหม่อนเล้ียงไหมของ ชาวบ้านเอง สมัยก่อนชาวบ้านสมพรรัตน์จะเลี้ยงหนอนไหมสายพันธ์ุนางน้อย ปัจจุบันกรมหม่อนไหมได้พัฒนา สายพนั ธแ์ุ ละสง่ เสริมใหเ้ ลี้ยงพันธดุ์ อกบัว พนั ธน์ุ างตุ่ย เป็นต้น

ไชยยงค์ สาราญถิ่น กล่าวว่า ช่ือไหมพันธ์ุพื้นเมืองส่วนใหญ่จะมีคาว่า “นาง” นาหน้า เนื่องจาก เกษตรกรผู้เล้ียงจะเรียกชอื่ ตามผู้ที่เล้ียงคนก่อนท่ีเลย้ี งมาอย่างตอ่ เน่ืองจนได้ผลดี และมีคุณสมบัติดีเด่นเฉพาะตัว เกษตรกรจึงให้เกียรติแก่เจ้าของพันธุ์ โดยการเรียกชื่อเจ้าของซึ่งส่วนใหญ่จึงใช้คาวา่ “นาง” นาหน้าและต่อด้วย ผู้เลี้ยงมาต้ังเป็นช่ือพันธุ์ไหมเช่น นางเหลือง นางเขียว นางล่ิว นางน้อย นางน้า ฯลฯ ยุคต่อมาก็ใช้เรียกชื่อตาม สถานท่ี หมู่บา้ น ตาบล อาเภอ จังหวัดที่นามา เช่น โนนฤษี หนองแก้ว เขียวสกล เปน็ ต้น การเตรยี มการกอ่ นการเล้ียงไหม

ชาวบ้านจะต้องเตรียมการกอ่ นทีจ่ ะเร่ิมต้นการเล้ียงไหมในแตล่ ะรนุ่ ดงั นี้

1. อุปกรณ์การเลี้ยงไหม เชน่ กระดง้ เลี้ยงไหม มีด เขียง ตาข่ายถา่ ยมูล จ่อ ตะแกรงรอ่ น ตะเกียง ถังน้า เขง่ หรือตะกรา้ เก็บใบหมอ่ น รองเท้าแตะ สารโรยตัวไหม ปูนขาว เป็นตน้

2. ห้องเลี้ยงไหม สาหรับในส่วนของอุปกรณ์และห้องเลี้ยงไหมจะต้องทาความสะอาดโดยการล้างด้วย ผงซกั ฟอกและตากแห้ง เพื่อเป็นการฆ่าเช้ือโรค และเป็นวธิ กี ารป้องกันกาจดั โรคที่ดที ส่ี ุด ชาวบ้านสมพรรตั น์สว่ น ใหญ่จะทาโรงเรือนไวใ้ ตถ้ ุนบา้ น มีอากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก และคลุมดว้ ยมงุ้ ไนลอ่ นเพื่อปอ้ งกันแมลง

3. ไขไ่ หมพันธุ์ดี ส่วนใหญ่ชาวบ้านสมพรรัตน์จะเล้ียงหนอนไหมพันธุ์นางน้อย พันธ์ุดอกบัว พันธุ์นางตุ่ย ซ่ึงชาวบ้านจะได้รับการสนับสนุนจากศูนย์ศิลปาชีพ อ.บุณฑริก จ.อุบลราชธานี และจากประสบการณ์การเลี้ยง ของชาวบา้ นสมพรรัตน์ พบวา่ การเลยี้ งหนอนไหมพนั ธ์ุนางนอ้ ยจะให้เส้นไหมสวยและสาวไดเ้ ยอะ

4. แปลงหม่อนท่ีสมบูรณ์พร้อมท่ีจะเก็บมาเล้ียงไหม ซ่ึงหากชาวบ้านรายใดเป็นสมาชิกของโครงการ ศลิ ปาชีพกจ็ ะไดร้ ับการจัดสรรแปลงปลูกหม่อนของโครงการ การจัดการไหมแรกฟกั

นาแผ่นไข่ไหมที่ผ่านการกกมาเรียบร้อยแล้ว มาวางบนกระด้งเลี้ยงไหมเพื่อพร้อมเปิดเลี้ยงไหมใน วันรุ่งขึ้น แผ่นไข่ไหมจะถูกห่อหุ้มด้วยกระดาษแก้วขาวขุ่นอยู่ชั้นใน ส่วนชั้นนอกจะห่อด้วยกระดาษดา ในช่วง เช้าตรู่ประมาณ 05.00น. ให้ทาการแกะกระดาษดาออกเพื่อให้ไข่ไหมได้รับแสงสว่าง ไขไ่ หมจะเร่ิมแตกเพอื่ ให้ตัว อ่อนออกจากไข่ ปล่อยให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมง คือ เวลาประมาณ 10.00-11.00 น. แล้วจึงเปิด กระดาษห่อแผ่นไข่ไหมช้ันในออก ทาการโรยสารพาราฟอร์มาดีไฮด์ผง ความเข้มข้นประมาณ 3 เปอร์เซนต์ ให้ ทัว่ ตัวไหม ให้นาใบหมอ่ นท่หี ั่นเปน็ ชิ้นสเี่ หลย่ี มเล็กๆ ขนาดประมาณ 0.5 x 0.5 เซนตเิ มตร ประมาณ 40 กรัม ไป โรยให้หนอนไหมกิน ประมาณ 10-15 นาที แล้วทาการเคาะแผน่ ไข่ไหมด้านตรงข้ามกบั ด้านที่มีตัวหนอนไหมอยู่ เพื่อให้หนอนไหมล่วงลงในกระด้งเลี้ยงไหมที่เตรียมไว้ จากน้ันใช้ขนไก่ปัดตัวหนอนไหมที่เหลืออยู่ที่แผ่นให้ไปอยู่ รวมกันบนกระด้งเล้ียงไหม พร้อมท้ังใช้ขนไก่เกล่ียให้ตัวหนอนไหมกระจายอย่างสม่าเสมอบนกระด้งเล้ียงพร้อม กับขยายพ้ืนท่ีให้ได้ประมาณ 2 เท่าของแผ่นไข่ไหม แล้วให้ใบหม่อนอีกครั้งประมาณ 80 กรัม ในมื้อเย็นเวลา ประมาณ 17.00 น. เป็นการเสร็จส้ินของการเลี้ยงไหมในวันแรก จากนัน้ ในการเล้ียงไหมวันตอ่ ๆ มาก็จะมกี ารให้ ใบหม่อนแก่หนอนไหมวันละ 3 ม้ือ คือเวลา 07.00-08.00 น. 11.00-12.00 น. 17.00-18.00 น. ยกเว้นวันไหม นอนเพราะหนอนไหมจะหยุดกินใบหม่อน

7

การเล้ียงไหมแรกฟกั ออกจากไข่แล้วเจริญเติบโตเป็นวยั 1 วยั 2 วยั 3 ไหมวัยนีม้ ีความอ่อนแอต่อโรค จึง จาเป็นต้องมีการเลี้ยงอนบุ าลทด่ี ี โดยเน้นเทคนิคการเลี้ยงไหมทถ่ี ูกต้องทุกขั้นตอน เอาใจใส่อย่างดี เป้าหมายการ เลี้ยงไหมวัยอ่อน คือ เล้ียงให้หนอนไหมสมบูรณ์แข็งแรง เจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอตื่น – นอนพร้อมเพรียงกัน และลดการสญู หายของหนอนไหม ใบหมอ่ นทเี่ หมาะสมกบั ไหมวัยอ่อน

1. ใบหม่อนสาหรับไหมแรกฟัก (วัย 1 วันท่ี 1/ไหมแรกฟกั ) ใช้หม่อนใบที่ 1–2 โดยนบั ใบท่ีคลแ่ี ผน่ ใบรับ แสงมากท่สี ุดเปน็ ใบท่ี 1 หนั่ ละเอียดกอ่ นนาไปเล้ียงหนอนไหม

2. ใบหมอ่ นสาหรับไหมวยั 1 ใชใ้ บหม่อนใบที่ 1–3 เทา่ นัน้ และหน่ั ละเอยี ดก่อนนาไปเล้ยี งหนอนไหม 3. ใบหม่อนสาหรับไหมวัย 2 ใช้ใบหม่อนใบท่ี 4–6 หรือสังเกตจากตาหม่อน โดยตาหม่อนจะเริ่ม เปล่ียนเป็นสีน้าตาล จะใช้ส่วนน้ีขึ้นไปถึงยอดอาจเก็บโดยการตัดหรือเด็ดใบก็ได้ และห้ามใช้ยอดหม่อนอ่อน (ใบ หมอ่ นทย่ี ังไมค่ ลแ่ี ผน่ ใบ) นามาหั่นขนาดประมาณ 1 ซม. ก่อนนาไปเล้ยี ง 4. ใบหม่อนสาหรับไหมวัย 3 ให้สังเกตจากสีของก่ิงหม่อนช่วงรอยต่อระหว่างสีเขียวกับสีน้าตาล ใบ หม่อนบริเวณรอยต่อเป็นใบหม่อนท่ีเหมาะสมที่สุดในการเลี้ยงไหมวัย 3 ประมาณใบท่ี 7–10 นามาห่ันขนาด ประมาณ 1 ซม. ก่อนนาไปเลย้ี ง การเล้ยี งไหมวยั แก่ การเลี้ยงไหมวัยแก่ หมายถึง การเลี้ยงไหมนับต้ังแต่หนอนไหมตื่นจากนอนวัย 3 จนถึงไหมสุกทารัง ซึ่ง จะใช้เวลาประมาณ 11 – 13 วนั หนอนไหมวัยแกจ่ ะกินใบหม่อนปรมิ าณมาก ทาให้เกดิ ความรอ้ น ความช้ืน และ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อันเกิดจากการเผาผลาญอาหาร การหายใจ การขับถ่ายของเสีย ห้องเลี้ยงไหมจึงอาจมี อุณหภูมิและความช้ืนที่สูงขึ้น ทาให้หนอนไหมอ่อนแอและเช้ือโรคเข้าทาลายไดง้ ่าย เทคนิคการเลี้ยงไหมท่สี าคัญ สาหรับการเล้ียงไหมวัยแก่ คือ คัดและเก็บหนอนไหมท่ีมีลักษณะผิดปกติ เป็นโรค แคระแกรน หรือไม่สมบูรณ์ ก่อนการเลย้ี งไหมทุกคร้ัง การเลย้ี งไหมวัยแกม่ ี 2 วธิ ี คอื 1. การเล้ียงในกระด้งหรือกระบะ เป็นวิธีที่ปฏิบัติมาดั้งเดิม ภายในห้องเลี้ยงไหมจะมีชั้นวางกระด้งหรือ กระบะ วธิ ีการเลี้ยงไหมจะใช้วิธเี ก็บใบหม่อนที่ค่อนข้างแก่ มีสีเขียวเข้ม มาโรยให้หนอนไหมกนิ วธิ ีนท้ี าให้เปลอื ง พนื้ ทีแ่ ละเสียเวลาในการเลย้ี งไหม 2. การเลี้ยงไหมแบบชั้นเลี้ยง เป็นวิธีการเล้ียงไหมแผนใหม่ เพื่อให้สามารถใช้พื้นท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดพ้ืนท่ีโรงเล้ียงไหม ทาให้เล้ียงไหมได้ปริมาณมาก สะดวก และประหยัดแรงงาน โดยชั้นเล้ียงไหมจะทา ดว้ ยไม้หรอื เหล็ก ขนาดกวา้ ง x ยาว x สูง เท่ากับ 1.2 x 2.5 x 0.45 เมตร พื้นโต๊ะทาด้วยตะแกรงตาข่ายหรือตา ข่ายเชอื ก วธิ กี ารเล้ียงไหมจะใช้วิธีการตดั กง่ิ หม่อนเล้ียงไหมทง้ั กงิ่ ใบหมอ่ นสาหรบั เลี้ยงไหมวัยแก่ สาหรับไหมวยั แก่สามารถเก็บใบหมอ่ นได้ทั้งช่วงเช้าและบา่ ยท่ีแสงแดดไม่ร้อนจดั มาก และเกบ็ ใบหม่อน ทเ่ี จริญสมบูรณ์เต็มทแี่ ละมคี ุณภาพดี เปน็ ใบสีเขยี วท่ีสังเคราะห์แสงได้เต็มทแี่ ละอย่ใู นช่วงกลางของก่ิงลงมา การ เก็บรักษาใบหม่อน สถานท่ีเก็บหม่อนควรมีอุณหภูมิต่า ความชื้นสัมพัทธ์สูง เพื่อให้ใบหม่อนคงความสดไว้ได้ดี นอกจากนี้ควรเป็นห้องท่ีมืดเพ่ือลดการสังเคราะห์แสงของหม่อนลง ใบหม่อนท่ีเก็บมาสามารถนาไปเลี้ยงหนอน ไหมได้เลยโดยไม่ต้องห่ันก่อน จากประสบการณ์ของชาวบ้านสมพรรัตน์ พบว่า ยิ่งหนอนไหมมีอายุมากข้ึนจะกิน ใบหม่อนท่ีแก่ข้ึนเรือ่ ย ๆ ซ่ึงจะทาให้ได้เส้นไหมทสี่ วยมีคุณภาพดีด้วย แต่ถ้าหนอนไหมแก่แต่กินใบหม่อนออ่ นจะ สาวเส้นไหมยาก ไม่ล่นื มอื

8

นอกจากน้ันยังพบว่า ในช่วงที่ต้นหม่อนออกใบน้อย เช่น ฤดูฝน ระยะเวลายาวไปถึงช่วงปลายฝนต้น หนาว หรือประมาณเดือนธันวาคมนั้น อาจจะต้องเลี้ยงหนอนไหมด้วยใบหม่อนอ่อนผสมกับใบหม่อนแก่ การ เล้ียงหนอนไหมในช่วงนี้จะได้หนอนไหมท่ีไม่สมบูรณ์นัก มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ ชาวบ้านจะเรียกว่า เป็น หมากบก กล่าวคือ มีลักษณะคล้ายต้นกระบกที่ในช่วงฤดูฝนลูกกระบกจะหล่นและเน่า ฉะน้ันการเล้ียงหนอน ไหมจะให้ผลผลิตดี ชาวบา้ นจะนิยมเลี้ยงในชว่ งฤดรู ้อนและหนาว

ของท่ีเหลอื จากการเลี้ยงหนอนไหมแล้ว ไม่ว่าจะเป็นเศษใบหม่อน ก่ิงก้านหม่อน และมลู ชาวบ้านสมพร รัตน์จะนาไปทาปุ๋ย ทาสีย้อมผ้าซ่ึงใบหม่อนจะให้สีเขียวไพล นอกจากนั้นแล้วใบหม่อนยังสามารถนาไปทาชาขี้ หมอ่ นไดอ้ ีกดว้ ย เทคนคิ การเลีย้ งหนอนไหมให้แข็งแรงและได้ผลผลติ สูง

1. เลอื กใบหมอ่ นเหมาะสมกบั วัยของหนอนไหม 2. กอ่ นใหใ้ บหม่อน ควรเกล่ยี ใหม้ ีการกระจายตัวไหมใหส้ ม่าเสมอ 3. ใหใ้ บหม่อนท่มี ีขนาดเหมาะสมกบั วัยของหนอนไหม 4. ขยายพ้นื ท่เี ล้ยี งใหก้ ับหนอนไหมอยา่ งเหมาะสม การเก็บไหมสกุ 1. ไหมสุก หมายถึง หนอนไหมวัย 5 ที่กนิ ใบหม่อนเต็มที่แล้ว ก็จะเร่ิมสุก พร้อมท่ีจะพ่นเส้นใย ในวัย 5 ใช้เวลาประมาณ 5-6 วัน ไหมก็จะเร่ิมสุก หยุดกินใบหม่อน หากเป็นไหมไทยก็จะสังเกตได้ง่าย คือลาตัวหนอน ไหมจะเปล่ียนเป็นสีเหลืองใส เพราะภายของตัวหนอนไหมส่วนท่ีเป็น silk-gland ก็จะเต็มไปด้วยสารพ่นใยไหม ซึ่งไหมไทยมีสีเหลืองจึงทาให้เห็นได้ชัด แต่หากเป็นไหมลูกผสมก็จะมีสีขาวใสโปร่งแสง ในระยะน้ีหนอนไหม พร้อมที่จะพ่นใยไหมออกมาเพื่อห่อหมุ้ ตวั เรียกวา่ ไหมทารัง แล้วหนอนไหมก็จะพฒั นาไปเป็นดักแด้อยู่ภายในรัง สภาพทเี่ หมาะสม คือ อุณหภมู ิ ประมาณ 24 องศาเซลเซียส ความชื้นประมาณ 75 เปอรเ์ ซ็นต์ 2. การเก็บไหมสุกเข้าจ่อ ให้ทาการเก็บไหมสุกโดยการใช้มือ นาไปใส่ลงในจ่อ ซ่ึงเป็นอุปกรณ์สาหรับ ไหมทารัง ปริมาณหนอนไหมต่อจ่อจะต้องมีความเหมาะสมไม่แน่นจนเกินไป เพื่อหลีกเล่ียงการเกิดรังแฝด ซ่ึง เป็นรังไหมชนิดหน่ึงของรังเสีย การเก็บไหมสุกเข้าจ่อจะต้องทาการเก็บให้ทันเวลา คือ จะต้องเก็บไหมสุกเข้าจ่อ ก่อนที่ไหมสกุ จะพน่ เส้นใยทารัง เพราะจะกระทบตอ่ ผลผลิตรังไหม 3. การเก็บเกี่ยวรังไหม ให้หนอนไหมทารังอยู่ในจ่อประมาณ 5-6 วัน จึงทาการเก็บรังไหมออกจากจ่อ จากน้นั กน็ ารังไหมไปทาการสาวเส้นไหมตอ่ ไป การตอ่ ไหมขยายพันธุ์ ภมู ิปญั ญาของชาวบา้ นสมพรรัตน์นอกจากจะปลูกหมอ่ นเล้ียงไหมได้คุณภาพดีแลว้ ชาวบา้ นยังมเี ทคนิค วิธใี นการเก็บพันธุ์หนอนไหม เพ่อื ใชใ้ นการเล้ียงครัง้ ต่อไปอีกดว้ ย เรียกว่า การต่อไหม การต่อไหม หรือ การเก็บพันธุ์หนอนไหมนั้น ชาวบ้านจะเลือกเอารังไหมที่จะให้กาเนิดผีเส้ือไหมหรือบ้ี ทั้งตัวผู้และตัวเมีย การคดั เลือกจะเลือกรงั ไหมที่สมบูรณโ์ ดยการสังเกตจากรูปรา่ งภายนอก และจะเลอื กเพศของ บ้ีด้วยวิธีการสั่นหรือเขย่ารังไหม กล่าวคือ เม่ือเขย่ารังไหมแล้วแล้วถ้ารงั ไหนสั่นหรือคลอนมาก มีน้าหนัก รังไหม นั้นจะเป็นบ้ีตัวเมีย ถ้ารังไหนส่ันหรือคลอนน้อย น้าหนักเบาจะเป็นบี้ตัวผู้ คัดเลือกรังไหมให้ได้จานวนตามที่ ต้องการโดยประมาณจากปริมาณใบหม่อนที่จะนามาเลี้ยง และจานวนเส้นไหมท่ีต้องการ ซ่ึงจากประสบการณ์ การเลี้ยงหนอนไหม รังไหมจานวน 300 ฝกั จะใช้ใบหมอ่ นในการเลี้ยงประมาณ 1 ไร่ และรงั ไหมประมาณ 40 ฝัก จะใหเ้ สน้ ไหมไดป้ ระมาณ 1 หลบ จากนั้นเก็บรังไหมท่ีคัดเลือกไว้ให้สุกเตม็ ท่ีใช้เวลาประมาณ 9-14 วนั ดักแด้ในรังไหมจะกลายลอกคราบ เป็นผีเส้ือตวั เตม็ วัยหรือบี้ ซึ่งบี้มักจะออกจากรังไหมในเวลาเช้า หลังจากบี้คลีป่ ีกออกจะผสมพันธุ์ทันที บี้ตัวผู้จะ

9

มีขนาดเล็กกว่าตัวเมียและมีความว่องไวกว่า และสามารถผสมพันธุ์กับตัวเมียได้ 2 ถึง 3 ตัว แตค่ วามสามารถใน การผสมพันธ์ุจะลดลง ถ้าต้องการยืดเวลาการผสมพันธุ์สามารถเก็บบี้ตัวผู้ไว้ในห้องที่มีอุณหภูมิ 10 องศา เซลเซียสได้ประมาณ 1 สัปดาห์ โดยยังคงความสามารถในการผสมพันธุ์อยู่ การผสมพันธ์ุน้ันบี้ตัวเมียจะบินเข้า หาบ้ตี ัวผู้ จากนนั้ จะปล่อยให้บผ้ี สมพันธ์ุกันจนเวลาเย็น จงึ จะทาการเกบ็ หรือแยกบีต้ วั ผอู้ อกจากบต้ี ัวเมยี นาบีต้ ัว เมยี มาวางบนกระดาษ และนาเอาชามหรือถ้วยครอบตัวบี้ไว้ บี้ตัวเมียจะออกไข่ลงบนกระดาษ อย่างตอ่ เน่ืองโดย ปล่อยท้ิงไว้ท้ังคืนเมื่อถึงเวลาเช้าของอีกวัน จึงเปิดถ้วยหรือชามท่ีครอบ จะได้ไข่ไหมประมาณ 300-500 ฟอง แล้วนาบีต้ ัวเมียออกจากไข่ ไขท่ ่ไี ดน้ าไปเลี้ยงใหเ้ ป็นหนอนไหมต่อไป ถ้าทิง้ ไข่ไหมไว้ประมาณ 1 สัปดาห์จะเกดิ ตัว หนอนไหมในระยะแรกตัวหนอนจะมขี นข้ึนตามตัว ชาวบ้านจะเรียกหนอนไหมระยะนีว้ ่า หนอนขี้ขน หรือหนอน วัย 1 เลี้ยงจนถึงวัย 4 ตัวหนอนใกล้จะสุก ระยะนี้จะกินอาหารหรือใบหม่อนได้น้อยลง และไม่เคลื่อนไหว ชาวบ้านจะเรียกวัยน้ีว่า นอนเฒ่า ข้อควรระวังในการเลี้ยงหนอนไหมคือ ห้ามมีสารพิษ มดและแมลงต่าง ๆ รบกวนโดยเด็ดขาด

2.4 ปลกู หมอ่ น ชาวบ้านสมพรรัตน์จะปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพ่ือทอผ้าไหมเอง เริ่มแรกชาวบ้านจะปลูกหม่อนพันธุ์

พื้นเมือง ภายหลังเมื่อเกิดโครงการส่งเสริมการปลูกหม่อน ศูนย์ศิลปาชีพ อ.บุณฑริก จ.อุบลราชธานีข้ึน ซ่ึง สนับสนุนโดย สานักงานเกษตรอาเภอบุณฑริก ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ อุบลราชธานี และองค์การ บริหารส่วนตาบลหนองสะโน โครงการน้ีจึงได้ส่งเสริมให้ชาวบ้านปลูกหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 ซ่ึงจะให้ผลผลิตได้ มากกว่าพันธุ์พ้ืนเมือง โดยชาวบ้านที่เป็นสมาชิกของโครงการฯ จะได้รับการจัดสรรที่ดินที่อยู่ภายในศูนย์ศิลปา ชีพซ่ึงมีท้ังหมดจานวน 25 ไร่ แบ่งให้สมาชิกจานวน 32 ราย โดยการจับสลาก ชาวบ้านแต่ละรายจะปลูกและ ดูแลให้ต้นหม่อนเจริญเติบโตตามแปลงที่ได้รับการจัดสรร การปลูกหม่อนของชาวบ้านจะปล่อยให้ต้นหม่อน เจริญเติบโตเองตามธรรมชาติ และจะไม่ใช้สารเคมีโดยเด็ดขาดเพราะสารเคมีจะตกค้างและมีผลกระทบต่อการ เลี้ยงหนอนไหม ชาวบ้านสมพรรัตน์จะทอผ้าไหมเป็นหลัก การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเองน้ันยังให้ผลผลิตน้อยไม่ เพยี งพอต่อการทอผ้า ผลิตภณั ฑ์ผา้ ไหมของชาวบา้ นจงึ ใชท้ ้ังเสน้ ไหมทเี่ ล้ียงเองและไหมจากโรงงาน

หม่อน (Mulberry) เป็นพืชอยู่ในวงศ์ Maraceae เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่ม ลาต้นมีสีเขียวแก่หรือสี น้าตาล มีตาข้างมากมาย ใบมีสีเขียวเข้ม ดอกตัวเมียเมื่อได้รับการผสมแล้วจะเปล่ียนเป็นผล ซึ่งมีลักษณะเป็น ผลรวม (aggregate fruit) หม่อนเป็นพืชกึ่งร้อน (subtropical) ซ่ึงมีถ่ินกาเนิดอยู่ในแถบเอเชีย สามารถปลูกได้ ทั่วไปในประเทศไทย เจริญเติบโตได้ดีที่สุดในฤดูฝน การเจริญเติบโตจะลดน้อยลงไปเรื่อย ๆ จนเข้าหน้าแล้ง พันธ์ุหม่อนพ้ืนเมืองของไทยได้มีการรวบรวมไว้ ได้แก่ หม่อนน้อย หม่อนสร้อย หม่อนแดง หม่อนแก้วชนบท หม่อนไผ่ หม่อนคุนไพ หม่อนแก้วอุบล หม่อนใหญ่อุบล หม่อนตาดา เป็นต้น หนอนไหมมีความสามารถในการ เปลี่ยนโปรตีนจากใบหม่อนเป็นเส้นใยไหมได้ดีกว่าการเลี้ยงด้วยพืชชนิดอ่ืน ใบหม่อนเพียง 108-120 กิโลกรัม สามารถเปลี่ยนเป็นรงั ไหมไดป้ ระมาณ 6-7 กิโลกรมั เมอื่ นามาสาวเปน็ เส้นไหมจะได้ประมาณ 1 กโิ ลกรัม หมอ่ นพันธ์บุ ุรีรัมย์ 60

กรมหม่อนไหม ให้ข้อมลู ไว้ว่า หม่อนพนั ธุบ์ รุ ีรัมย์ 60 นนั้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morus alba l. หมอ่ นสาย พันธ์ุนี้เกิดจากการท่ีผู้อานวยการสถานีทดลองหม่อนไหมบุรีรัมย์ (คุณเธียรศักด์ิ อริยะ) และผู้อานวยการสถานี ทดลองหม่อนไหมศรีสะเกษ (คุณไชยยงค์ สาราญถิ่น) ได้นาท่อนพันธ์ุหม่อนหมายเลข 44 มาจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ซ่ึงเป็นพันธุ์ที่มีการเจริญเติบโตดี ใบใหญ่ หนา ข้อปล้องถี่ ให้ผลผลิตต่อไร่สูง แต่มีข้อเสีย คือ ขยายพันธุ์โดยใช้ท่อนพันธุ์ปักชาในแปลงโดยตรงไม่ได้ เพราะอตั ราการออกรากต่า และหมอ่ นน้อย ซ่ึงเป็นหมอ่ น พันธ์ุพ้ืนเมืองที่เกษตรกรนิยมปลูกกันอย่างแพร่หลาย การเจริญเติบโตดี ขยายพันธุ์โดยการตัดก่ิงปักชาในแปลง

10

ได้โดยตรง ดังนั้น สถานีทดลองหม่อนไหมบุรีรัมย์ จึงได้นาหม่อนท้ัง 2 พันธุ์มาผสมพันธ์ุกัน โดยมีเป้าหมายหลัก ในอันท่ีจะใช้ท่อนพันธ์ุปักชาหรอื ปลูกในแปลงโดยตรง จากการคัดเลือกลักษณะดีเด่นของหมอ่ นลูกผสมมากกว่า 36 พันธุ์ ปรากฏวา่ หม่อนพันธุบ์ รุ รี ัมย์ 60 (บร. 9) เปน็ พันธ์ทุ มี่ ีอัตราการออกรากดี ให้ผลผลติ ต่อไร่สูง ลกั ษณะใบ ออ่ นนุม่ เหมาะแกก่ ารเลย้ี งไหมเปน็ อย่างมาก ลกั ษณะเดน่ ของบรุ รี มั ย์ 60

1. มผี ลผลติ ตอ่ ไรส่ งู 4,327.96 กโิ ลกรมั /ไร/่ ปี 2. มีอตั ราการออกรากสงู ถึงร้อยละ 90 สามารถใช้ท่อนพันธุ์ทีม่ ีอายุ ตัง้ แต่ 6-10 เดือน ปักชาหรือ ปลูก ในแปลงไดโ้ ดยตรง หรอื ใชว้ ิธีการติดตา เสยี บกง่ิ หรือเสยี บรากกไ็ ด้ 3. การแตกก่ิงและการเจริญเติบโตอายู่ในเกณฑ์ดี โดยมีค่าเฉล่ียของจานวนกิ่ง หลังตัดต่า 8.9 กิ่ง/ต้น เมอื่ หม่อนมอี ายุ 2 ปขี ึ้นไป และใหค้ วามยาวของก่ิงหลงั ตัดต่าเฉลย่ี 170.6 เซนตเิ มตร 4. ลักษณะของใบ ใบไม่มีแฉก ขนาดใบใหญ่ หนา ออ่ นนมุ่ ไมเ่ หีย่ วง่าย พ้ืนทีใ่ บมาก เป็นหม่อนเพศเมีย 5. ลักษณะทรงพมุ่ และการตัดแต่งก่ิงเป็นพันธ์ุทีม่ ีทรงพุ่มดี มลี ักษณะต้ังตรงหลังเก็บเก่ียวหรือตัดแตง่ ก่ิง มีการแตกกงิ่ เร็วไมพ่ ักตัวในทุกฤดูกาลจงึ ทาให้มีใบเลีย้ งไหมได้ตลอดปี 6. เปน็ พันธทุ์ ป่ี ลูกไดด้ ใี นทุกสภาพพ้ืนที่ 7. ตอบสนองต่อปยุ๋ 8. ทนทานตอ่ โรคราแปง้ และโรคใบด่างได้ดี ขอ้ จากัดของบุรีรมั ย์ 60 1. เป็นพันธ์ุท่ีไม่เหมาะสมกับการปลูกในลักษณะพื้นท่ีท่ีดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า และพ้ืนท่ีขาดการ ปรับปรงุ บารุงดิน หรือปรมิ าณนา้ ฝนไม่เพยี งพอ 2. เมอื่ อณุ หภูมติ ่ากวา่ 15 องศาเซลเซยี ส จะมกี ารพกั ตวั

2.5 การทาบัญชคี รวั เรอื น จากสภาวะสังคมปัจจุบันท่ีเต็มไปด้วยกระแสวัตถุนิยม และความฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ จนทาให้คนไทยหลง

เดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหน้ีสินที่ไม่มีวัน จบสน้ิ อย่างไรก็ตามคนไทย ยังมีทางออก ซึ่งการจะดารงชีวิตให้อยู่รอดภายใต้สังคมในปัจจุบัน แนวทางหน่ึงท่ีประชาชนไทยควรยึดถือคือ การพึ่งตนเอง รู้จักความพอประมาณ และไม่ประมาท ตาม แนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีทรงมองเห็นถึงความสาคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง รู้จักความ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ คานึงถึงหลักเหตุผลและการประมาณตนเอง พร้อมกับทรงเตือนสติประชาชนคนไทย ไมใ่ หป้ ระมาท โดยเฉพาะการใชจ้ า่ ยเงินอนั เป็นปจั จัยสาคญั ในการดาเนนิ ชีวิต

การทาบัญชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเง่ือนไขปัจจัยในการดารงชีวิตของตัวเอง และภายใน ครอบครัว ชุมชน รวมถึงประเทศ ข้อมูลท่ีได้จากการบันทึกจะเป็นตัวบ่งชี้อดีตปัจจุบันและอนาคตของชีวิตของ ตัวเอง สามารถนาข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบันและอนาคตได้ ข้อมูลท่ีได้ ที่บันทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ วางแผนชีวติ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ในครอบครัว

บัญชีครัวเรือน มิได้หมายถึง การทาบัญชีหรือบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวันเท่าน้ัน แต่อาจหมายถึง การบันทึกข้อมูลด้านอ่ืน ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เปน็ ต้น ของเราได้ด้วย เช่น บัญชีทรัพย์สิน พันธ์ุพชื พันธ์ุไม้ ใน บ้านเราในชุมชนเรา บัญชีความรู้ความคิดของเรา บัญชีผู้ทรงคุณ ผู้รู้ในชุมชนเรา บัญชีเด็กและเยาชนของเรา บญั ชีภูมปิ ัญญาด้านตา่ ง ๆ ของเรา เปน็ ต้น หมายความว่า สงิ่ หรอื เร่ืองราวต่าง ๆ ในชีวติ ของเรา เราจดบันทึกได้ ทุกเรื่อง หากประชาชนทุกคนจดบันทึกจะมีประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ จะเป็นแหล่ง

11

เรียนรู้ ครอบครัวเรียนรู้ ชุมชนเรียนรู้ และประเทศเรียนรู้การเรียนรู้เป็นที่มาของปัญญา ปัญญาเป็นท่ีมาของ ความเจริญท้ังกาย สงั คม ใจ และจิตวญิ ญาณของมนุษย์จะเห็นว่า การทาบญั ชี หรอื การจดบันทกึ นี้สาคัญย่ิงใหญ่ มาก บุคคลสาคัญในประเทศหลายท่านเป็นตัวอย่างท่ีดีของการจดบันทึก เช่น ท่านพุทธทาส ในหลวง และ สมเด็จพระเทพ ล้วนเป็นนักบันทึกทั้งสิ้น การบันทึก คือ การเขียน เมื่อมีการเขียนย่อมมีการคิด เมื่อมีการคิด ย่อมกอ่ ปัญญา แกไ้ ขปัญหาได้โดยใช้เหตผุ ลวเิ คราะห์พจิ ารณา ได้ถกู ตอ้ ง นนั่ คอื ทางเจริญของมนุษย์

การทาบัญชีครัวเรือนในด้านเศรษฐกิจ หรือการบันทึกรายรับรายจ่ายที่ทางราชการพยายามส่งเสริมให้ ประชาชนได้ทากัน น่ัน เป็นเรื่องการบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวันประจาเดือนว่า มีรายรับจากแหล่งใดบ้าง จานวนเท่าใด มีรายจ่ายอะไรบ้าง จานวนเท่าใด ในแต่ละวัน สัปดาห์ เดือน และ ปี เพ่ือจะได้เห็นภาพรวมว่า ตนเองและครอบครัวมีรายรับเท่าใด รายจ่ายเท่าใด คงเหลือเท่าใด หรือ เงินไม่พอใช้เท่าใด คอื รายจา่ ยมากกว่า รายรับ และสารวจว่ารายการใดจ่ายน้อยจ่ายมาก จาเป็นน้อยจาเป็นมาก จาเป็นน้อย อาจลดลง จ่ายเฉพาะที่ จาเป็นมาก เช่น ซ้ือกับข้าว ซ้ือยา ซ้ือเส้ือผ้า ซ่อมแซมบา้ น การศึกษา เป็นต้น ส่วนรายจ่ายทไ่ี ม่จาเป็นให้ลด ละ เลิก เช่น ซื้อบุหรี่ ซ้ือเหล้า เล่นการพนัน เป็นต้น เมื่อนารายรับ รายจ่าย มาบวกลบกันแล้วขาดดุลเกินดุลไป เท่าใด เมื่อเห็นตัวเลข จะทาให้เราคิดได้ว่าสิ่งไม่จาเป็นน้ันมีมากหรือน้อยสามารถลดได้หรือไม่ เลิกได้ไหม ถ้าไม่ ลดไม่เลิกจะเกิดอะไร กับตัวเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ หากเราวางแผนการรบั การจ่ายเงินของตนเองได้ เท่ากับว่า รู้จักความเป็นคนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นคนมีเหตุมีผล เป็นคนรู้จักพอประมาณ เป็นคนรักตนเอง รัก ครอบครวั รักชุมชน และรักประเทศชาติมากข้ึนจึงเห็นได้ว่า การทาบัญชีครัวเรือน ในเรื่องรายรับรายจ่าย ก็คือ วิถีแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นั่นเอง เพราะปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาชีวิตท่ีถูกต้องเหมาะสม พอดี สอดคล้องถูกต้องตามกฎธรรมชาติท่ีมีทั้งความเป็นเอกภาพและดุลยภาพ อยเู่ สมอ

การทาบัญชคี รัวเรือนเป็นการจดบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวันของครวั เรือน และสามารถนาข้อมลู มา วางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ทาให้เกิดการออม การใช้จ่ายเงินอย่างประหยัดคุ้ม ค่า ไม่ ฟุ่มเฟือย ดังนนั้ การทาบญั ชชี ีครวั เรือนมีความสาคญั ดังนี้

1. ทาให้ตนเองและครอบครัวทราบรายรับ รายจา่ ย หนส้ี นิ และเงินคงเหลือในแต่ละวัน รายรับ หรือ รายได้ คือ เงิน หรือสินทรัพย์ที่วัดมูลค่าได้ ท่ีได้รับจากการประกอบอาชีพ หรือ

ผลตอบแทนท่ีได้รบั จากการให้ผอู้ ื่นใช้สินทรัพย์ หรอื ผลตอบแทนจากการลงทุนในรปู แบบต่างๆ เช่น รายได้จาก ค่าจ้างแรงงาน เงินเดือน ดอกเบ้ียรับจากเงินฝากธนาคาร หรือ จากเงินให้กู้ยืม รายได้จากการขายสินค้าหรือ บรกิ าร เปน็ ตน้

รายจ่าย หรอื ค่าใช้จ่าย คือ คือ เงิน หรือสินทรัพย์ที่วัดมลู ค่าได้ ท่ีจ่ายออกไปเพ่ือให้ได้สิง่ ตอบแทน กลับมา สิ่งตอบแทนอาจเป็นสินค้าหรือบริการ เช่น ค่าอาหาร ค่าน้าค่าไฟฟ้า (ค่าสาธารณูปโภค) ค่าน้ามัน ค่า หนังสือตารา เป็นต้น หรือรายจ่าย อาจไม่ได้รับส่ิงตอบแทนคือสินค้าหรือบริการก็ได้ เช่น เงินบริจาคเพื่อการ กศุ ล เงนิ ทาบุญทอดกฐิน ทอดผา้ ปา่ เป็นต้น

หนี้สิน คือ ภาระผูกพันท่ีต้องชดใช้คืนในอนาคต การชดใช้อาจจ่ายเป็นเงินหรือของมีค่าท่ีครอบครัว หรือตนเองมีอยู่ หนี้สินเป็น เงินหรือส่ิงของที่มีค่าที่ครอบครัวหรือตนเองได้รับมาจากบุคคลหรือแหล่งเงิน ภายนอก เช่น การกู้ยืมเงินจากเพ่ือนบ้าน การกู้ยืมเงินจากกองทุนต่างๆ การซ้ือสินค้าหรือบริการเป็นเงินเชื่อ การซ้อื สินทรพั ยเ์ ปน็ เงินผ่อนชาระ หรือการเช่าซ้อื เปน็ ต้น

เงินคงเหลือ คือ เงิน หรือ ทรัพย์สินท่ีวัดมูลค่าได้ หลังจากนารายรับลบด้วยรายจ่ายแล้วปรากฏ รายรับมากกว่ารายจ่ายจะทาให้มีเงินคงเหลือ หรือในหลักทางบัญชีเรียกว่า กาไร แต่หากหลังจากนารายรับลบ

12

ด้วยรายจ่ายแล้วปรากฏว่ารายจ่ายมากกว่ารายรับจะทาให้เงินคงเหลือติดลบหรือทางบัญชีเรียกว่าขาดทุน น่นั เอง

2. นาข้อมลู การใชจ้ ่ายเงินภายในครอบครวั มาจดั เรยี งลาดับความสาคญั ของรายจ่าย และวางแผนการใช้ จ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวันมีรายจ่ายใดท่ีมีความสาคัญมาก และรายจ่ายใดไม่จาเป็นให้ตัด ออก เพ่ือให้การใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมีพอใช้และเหลือเก็บเพื่อการออมทรัพย์สาหรับใช้จ่ายส่ิงท่ีจาเป็นใน อนาคต บัญชีครัวเรือนถือเป็นส่วนสาคัญในการปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลัก 3 ข้อคือ การ พอประมาณ ถ้ารู้รายรับรายจา่ ย ก็จะใช้แบบพอประมาณ แต่ มีเหตุผล รู้ว่ารายจ่ายใดจาเป็นไม่จาเป็น และเมื่อ เหลือจากใชจ้ ่ายก็เก็บออม นั่นคือภมู ิคุ้มกัน ท่ีเอาไวค้ ้มุ กันตัวเราและครอบครัว บัญชีครวั เรอื นสามารถจัดได้หมด จงึ นับว่ามปี ระโยชน์มาก

ข้อควรระวังในการจัดทาบัญชีครัวเรือน คือ ลืมบันทึกบัญชี ทาให้ขาดความต่อเน่ืองในการบันทึก และ ส่งผลให้ไม่อยากบันทึก ผู้จัดทาเข้าใจผิดในรายการบัญชี ไม่เข้าใจรายการท่ีเป็นรายรับ จึงไม่ได้บันทึกบัญชี เช่น ลกู ส่งเงินมาให้พอ่ แม่สาหรบั ใช้จ่ายทกุ วนั สิ้นเดือน แต่พ่อแม่ไม่ได้บันทึกบัญชีรายรับเนอ่ื งจากเขา้ ใจว่าเงนิ ทไ่ี ดร้ ับ มาน้ันมิได้เกิดจากการประกอบอาชีพของตนเองหรือ เข้าใจผิดรายการหนี้สินแต่บันทึกว่าเป็นรายรับ ทาให้มิได้ เก็บเงินไว้สาหรบั จา่ ยชาระหนใี้ นอนาคต เช่น ยมื เงินจากเพอ่ื นบ้านมาใชจ้ ่ายภายในครอบครัว ถึงแม้จะได้รบั เงิน มาแต่รายการดังกล่าวไม่ถือว่าเป็นรายรับเนื่องจากตนเองมีภาระผูกพันที่ต้องชดใช้ในอนาคต ซ่ึงอาจต้องชดใช้ เงินตน้ พรอ้ มด้วยดอกเบย้ี ดว้ ย จากสาเหตดุ งั กลา่ วอาจทาใหค้ รอบครวั วางแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ผิดพลาด

ส่วนข้อผิดพลาดอีกประการหนึ่งคือ การเขียนชื่อรายการผิด การบันทึกตัวเลขผิด การบวกหรือการลบ จานวนเงินผิดอาจเกิดจากการลืมจดบันทึกรายการบัญชี หรือบันทึกรายการซ้าๆ กันหลายรายการ ปัญหา ดังกล่าวแก้ไขโดยการคานวณจานวนเงินกระทบยอดเงินคงเหลือในบัญชีกบั ยอดเงินฝากธนาคารท่คี รอบครัวมอี ยู่ จริง หรือยอดเงินที่เก็บไว้สาหรับใช้จ่ายจริง หากพบว่ายอดเงินคงเหลือในบัญชีเท่ากับยอดเงินคงเหลือในบัญชี เงินฝากธนาคาร แสดงว่าการจัดทาบัญชีถูกต้อง แต่หากกระทบยอดแล้วยอดเงินท้ังสองไม่เท่ากันอาจเกิดจาก การบันทึกบัญชผี ิดพลาด หรือเงินสดของครอบครวั สญู หาย นะคะ มาถงึ ตอนน้ีแลว้ ทา่ นผฟู้ ังหลายท่านอาจนึกใน ใจแล้วว่าการจดบันทึกเป็นส่ิงท่ีสาคัญและจาเป็นมากสาหรับการดารงชีวิตในปัจจุบัน ยิ่งเศรษฐกิจไม่ดี การเงิน ขาดสภาพคลอ่ งดว้ ยแลว้ ละกค็ ิดว่าหลายท่านคงอยากจะหนั มาจดบนั ทึกรายรับและรายจา่ ยกันบ้าง

การวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมระหว่างรายรับและรายจ่าย ครอบครัวต้องมีรายรับมากกว่า รายจ่าย หากพบว่ารายรับน้อยกว่ารายจ่าย ต้องหาแนวทางนาเงินมาใช้จ่ายให้เพียงพอ โดยอาจต้องกู้ยืมเงินมา ใช้จ่าย แต่การกู้ยืมเงินไม่ใช่แนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ เพียงแต่ช่วยให้การใช้จ่ายมีสภาพคล่องช่ัวขณะ เท่าน้ัน และในระยะยาวยังส่งผลให้ครอบครัวมีภาระหน้ีสินจานวนมาท้ังเงินต้นและดอกเบี้ยซ่ึงจะเพิ่มจานวน มากขึ้นตามระยะเวลาที่ยาวนานในการกู้ยืมเงิน เป็นปัญหาท่ีแก้ไขได้ยาก สาหรบั การแก้ไขปัญหาการขาดสภาพ คลอ่ งในการใช้จา่ ยเงนิ หรือปญั หารายรับไม่เพยี งพอกับรายจา่ ยนน้ั มแี นวทางดังนี้

1. การตัดรายจ่ายท่ีไม่จาเป็นออก เพื่อลดภาระการจ่ายเงินออกจากครอบครัว เช่น รายจ่ายเก่ียวกับ การพนนั สิง่ เสพติดของมนึ เมา รายจา่ ยฟุม่ เฟือย เปน็ ต้น เปน็ การสร้างนสิ ยั มใิ หใ้ ช้จา่ ยฟ่มุ เฟอื ย

2. การลดรายจ่ายที่จาเป็นลง เพ่ือสร้างนิสัยการประหยัด อดออม การใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่จากัดอย่าง คุ้มค่า เช่น การปลูกผัก ผลไม้ไว้รับประทานเอง เพ่ือช่วยลดค่าอาหาร และค่าเดินทางไปตลาด อีกทั้งทาให้ สุขภาพดีอีกด้วย ลดการใช้น้ามันเช้ือเพลิงแล้วหันมาออกกาลังกายโดยการปั่นจักรยาน หรือ การเดิน การวิ่ง แทนการขบั รถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ เปน็ ต้น

3. การเพ่ิมรายรับ หารายได้เสริมนอกเวลาทางานปกติ เช่น การใช้เวลาว่างรับจ้างตัดเย็บเส้ือผ้า การ ขายอาหารหลงั เลิกงาน การปลูกผกั หรือเลย้ี งสตั วไ์ วข้ าย เป็นต้น

13

4. การทาความเข้าใจกันภายในครอบครัวเพื่อให้ทุกคนร่วมมือกันประหยัด รู้จักอดออม การใช้

ทรัพยากรต่างๆ ลด ละ เลิก รายจ่ายหรือส่ิงที่ไม่จาเป็น และช่วยกันสร้างรายรับให้เพียงพอ เหมาะสมกับ

เศรษฐกิจปัจจบุ ัน

ตารางตัวอยา่ งแบบฟอร์มบัญชคี รวั เรือน (บญั ชีรายรบั และรายจา่ ย)

รายรับ รายจ่าย

ว/ด/ป รายการ จากการ รวม อาชพี ในครัวเรอื น รวม คงเหลือ ประกอบ อนื่ ๆ รายรับ รายจ่าย อาชพี คา่ ใชจ้ ่าย ซ้ือสนิ ทรัพย์ คา่ อาหาร อนื่ ๆ ในอาขีพ

รวมเดอื น..................

เงนิ คงเหลอื ยกมาจากเดือนก่อน...........................บาท บวกรวมรายรับ...........................บาท หกั รวมจา่ ย...........................บาท เงนิ คงเหลือยกไปเดือนหน้า...........................บาท รายรบั สูง / ตา่ กว่า รายจา่ ย เท่ากับ...........................บาท (รวมรายรบั หักด้วย รวมรายจ่าย)

การจัดทาบัญชีครัวเรือน หรือ บัญชีรายรับรายจ่ายน้ี ไม่ใช่เป็นแต่เพียงการจดบันทึกรายการต่างๆ ที่ เป็นเงนิ เท่าน้ัน แตย่ ังเป็นการสรา้ งความสามคั คีภายในครอบครวั รู้จักช่วยเหลือแบ่งปันกันในสังคม มีการเรยี นรู้ ซึ่งกันและกัน ซ่ึงเกิดจากประสบการณ์ต่างๆ ท่ีไดร้ ับจากการจดบันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ทาให้ประชาชนทุก คนรู้จกั การบริหารจัดการด้านการเงนิ และการวางแผนการทางานทกุ อย่างเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายได้ การทาบัญชี ครัวเรือนทาให้ครอบครัวมีความสุขใช้ชีวิตโดยยึดหลักความพอเพียง มีเหตุมีผล รู้จักพ่ึงพาตนเอง มีความ พอประมาณ การเงนิ มีสภาพคล่อง รจู้ ักการเก็บออม ทุกคนรู้ถงึ แหล่งท่ีมาของรายรับและการใช้ไปของค่าใช้จ่าย ในแต่ละวนั สามารถนาข้อมลู การใชจ้ ่ายมาวางแผนบริหารการเงินในอนาคตได้

14

บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ การ

3.1 วธิ ีการดาเนนิ การตามระบบการดาเนินงานครบวงจร (PDCA) การวางแผน (Plan) 1. ประชุมรับนโยบายการดาเนนิ งาน บุคลากร กศน.ตาบลผาบ้ิง ประชุมเพื่อวางแผนจัดโครงการตามแผนการดาเนินงาน กาหนดช่ือ

โครงการ กาหนดกลมุ่ เปา้ หมาย เพื่อดาเนนิ การสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 2. สารวจความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายในพน้ื ท่ี กศน.ตาบลผาบิ้ง สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ โดยการใช้แบบสารวจความ

ต้องการในการเข้าร่วมโครงการ และไดก้ ลมุ่ เป้าหมายตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ 3. วิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ นาไปใช้ในการดาเนินงาน กศน.ตาบลผาบ้ิง วิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ และนา

ขอ้ มูลท่วี ิเคราะหด์ าเนนิ การจัดเตรยี มขอ้ มูล เพอ่ื จัดทาสือ่ ตา่ ง ๆ 4. จดั เตรียมขอ้ มูลรายละเอียดและสอื่ ต่างๆเพื่อนาไปใชใ้ นการประชาสมั พันธ์รบั สมคั ร กศน.ตาบลผาบ้ิง นาข้อมูลที่วิเคราะห์ดาเนินการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อจัดทาส่ือต่าง ๆ และ

ประชาสมั พันธ์รบั สมคั รใหป้ ระชาชนในพ้นื ทเ่ี ข้าร่วมโครงการ การนาไปปฏิบตั ิ (DO) 1. สรปุ ข้อมูลพ้ืนฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย กศน.ตาบลผาบ้ิง ได้นาข้อมูลจากการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ี สรุปข้อมูล

พนื้ ฐานและความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย เพ่อื จัดทาโครงการ 2. จัดทาโครงการเพอ่ื ขออนมุ ัติ กศน.ตาบลผาบ้ิง จัดทาโครงการ หลักการและเหตุผล กาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตใน

การทากจิ กรรม ขอบเขตพ้ืนทก่ี ารจดั กิจกรรม ขอบเขตระยะเวลาการจดั กิจกรรม และเครอื ข่าย 3. ประสานเครือขา่ ย / วทิ ยากร กศน.ตาบลผาบิ้ง ดาเนินการจัดทาหนังสือเชิญวิทยากรเพ่ือให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และ

ประสานเครอื ข่ายในการขอความความอนุเคราะห์ใชส้ ถานที่ในการจดั โครงการ 4. ดาเนนิ การฝึกอบรมตามโครงการ กศน.ตาบลผาบ้ิง ดาเนินการจดั โครงการตามแผนท่ีกาหนดไว้ โดยมกี ลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนใน

ตาบลวังสะพุงเขา้ อบรมในโครงการ 5. สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน กศน.ตาบลผาบ้ิง จัดทารายงานผลการดาเนินงานโดยการสรุปผล อภิปรายผล หลังเสร็จสิ้น

โครงการ และนาเสนอรายผลการดาเนินงานตอ่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา การตรวจสอบ (Check) 1. ดาเนินการประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการท่ีมีต่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ กศน.ตาบลผาบิ้ง ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการท่ีมีต่อการจัด

กระบวนการเรียนรู้ โดยใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการทาแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ

15

2. ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรท่ีมีต่อความสาเร็จของโครงการและกระบวนการ บริหารจดั การของสถานศึกษา

กศน.ตาบลผาบ้ิง ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรที่มีต่อความสาเร็จของโครงการ และกระบวนการบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการทาแบบประเมินความพึงพอใจในการ เขา้ รว่ มโครงการ

3. นเิ ทศตดิ ตามผลโครงการ กศน.ตาบลผาบ้ิง ได้ลงพื้นท่ีเพื่อนิเทศติดตามผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากการจัดโครงการเสร็จสิ้น

โดยใช้แบบนิเทศตดิ ตามผเู้ ข้ารว่ มโครงการหลังจากการจดั โครงการเสร็จส้ิน ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act) 1. วเิ คราะหป์ ัญหา/ข้อเสนอแนะ กศน.ตาบลผาบิ้ง นาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวเิ คราะห์ข้อมลู จาก

แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการ 2. สรปุ ปัญหา/ข้อเสนอแนะ กศน.ตาบลผาบ้ิง สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล

จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ 3. หาวิธกี ารดาเนินการปรับปรุง แก้ไข โครงการ/กิจกรรมต่อไป กศน.ตาบลผาบงิ้ นาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ เพ่ือดาเนินการ

ปรับปรุง แก้ไข โครงการ/กิจกรรมต่อไป โดยการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายให้มากขน้ึ

3.2 ดัชนชี ว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ ร้อยละ 90 ของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับฐานการเรยี นรตู้ ่างๆ เกย่ี วกบั เศรษฐกิจ

พอเพียง ตัวชว้ี ดั ผลลพั ธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนาความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับฐานการเรียนรู้ต่างๆ เก่ียวกับเศรษฐกิจ

พอเพยี งไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้

16

3.3 วธิ ีการดาเนินการ

กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ทด่ี าเนินการ ระยะเวลา บคุ ลากร 27 คน 1.ประชุมบคุ ลากรผ้ทู ี่ ขอมติทีป่ ระชมุ กศน.อาเภอ 7 พ.ย. เกี่ยวขอ้ ง เจา้ หน้าท่ีงาน 1 คน วงั สะพุง 2565 26 คน 2.เขยี นโครงการเสนอ ขออนุมตั โิ ครงการ บุคลากร กศน.อาเภอ 8 พ.ย. ขออนมุ ตั ิ 26 คน วังสะพงุ 2565

3.แตง่ ต้ังคณะทางาน มอบหมายงาน กศน.อาเภอ 15 พ.ย. วังสะพงุ 2565 4.จดั เตรียมสถานที่ จัดเตรยี มเอกสารที่ใช้ใน บคุ ลากร วัสดุ สอ่ื และอุปกรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วสั ดุ ประชาชนใน กศน.อาเภอ 24 พ.ย. 5.ดาเนนิ การตาม อุปกรณ์ ตามหนา้ ท่ี ตาบลผาบ้งิ วังสะพุง 2565 โครงการฯ ตามกาหนดการท่ี 1. เพื่อใหป้ ระชาชนใน - ผนู้ เิ ทศติดตาม 3 คน โครงการพฒั นา 25 พ.ย. แนบ ตาบลผาบิง้ ได้เรยี นรู้ - ครู กศน.ตาบล เกี่ยวกับฐานการเรียนรู้ - ครู ศรช. พ้ืนที่เพือ่ 2565 6.ตดิ ตามประเมนิ ผล ต่างๆ เกีย่ วกับเศรษฐกิจ / สรปุ รายงาน พอเพยี ง เทิดพระเกยี รติ 2. ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม ได้ฝึก ปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับฐานการ สมเดจ็ พระนางเจ้า เรียนรู้ต่างๆ เพื่อนาไปปรับ ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ สิรกิ ิต์ิ

ประเมินผลการดาเนินงาน พระบรมราชินีนาถ เมือ่ แลว้ เสร็จ ผาบ่าว-ผาสาว

อาเภอวงั สะพงุ

จังหวดั เลย

1 คน กศน.ตาบล 1 ธ.ค.

1 คน ผาบ้ิง 2565

1 คน

17

บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ การ

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป

ตารางท่ี 1 แสดงเพศผเู้ ข้ารว่ มโครงการ

เพศ จานวน (คน)

ชาย 2

หญงิ 1

รวมท้ังหมด 3

จากตารางที่ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และเพศหญิง

จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.33 ซ่งึ รวมทง้ั หมด 3 คน

ตารางท่ี 2 แสดงอายเุ ขา้ ร่วมโครงการ

อายุ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 – 60 ปี 61 ปีขึน้ ไป รวมทั้งหมด

จานวน (คน) 3 - - - - 3

จากตารางที่ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีอายุ 15 - 30 ปี จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ ซึ่งรวมช่วงอายุ

ท้ังหมด 3 คน

ตารางท่ี 3 แสดงระดบั การศึกษาเข้าร่วมโครงการ

ระดบั การศึกษา จานวน (คน)

ประถมศึกษา -

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2

รวมท้ังหมด 3

จากตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการกาลังศึกษาอยู่ในระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 1 คน คิดเป็นร้อย

ละ 33.33 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ซึ่งรวมท้ัง 2 ระดับช้ันท้ังหมด

3 คน

ตารางที่ 4 แสดงอาชีพเข้าร่วมโครงการ

อาชพี ธุรกจิ ส่วนตัว รับจา้ ง เกษตรกร อน่ื ๆ รวมท้ังหมด

จานวน (คน) - - -3 3

จากตารางที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบอาชีพอื่นๆ (ว่างงาน) จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่ง

รวมผ้ปู ระกอบอาชีพทัง้ หมด 3 คน

18

ตอนท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจ

ตารางที่ 5 แสดงระดับความพึงพอใจด้านเนอ้ื หา

ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ มากทส่ี ดุ มาก ปาน น้อย น้อย กลาง ท่สี ุด

ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเน้อื หา

1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ 4= 100%

2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 4= 100%

3 เนอื้ หาปัจจุบัน ทนั สมัย 4= 100%

4 เนือ้ หามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต 4= 100%

สรปุ 100%

จากตารางท่ี 5 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเหน็ ในการประเมนิ โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” โดยมี ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านเนื้อหา ดังน้ี เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ เนอื้ หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ เนอื้ หา ปัจจุบัน ทันสมัย และเนื้อหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดับ

ตารางท่ี 6 แสดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม

ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ มากทส่ี ดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย กลาง ทสี่ ุด

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

1 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4= 100%

2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4= 100%

3 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4= 100%

4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 4= 100%

5 วธิ ีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4= 100%

สรุป 100%

จากตารางที่ 6 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมนิ โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” โดยมี ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ดังน้ี การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม การ ออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย การจัดกิจกรรม เหมาะสมกบั เวลา และวิธีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตามลาดับ

19

ตารางที่ 7 แสดงระดบั ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร

ขอ้ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร มากท่ีสดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 1 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด กลาง ที่สุด 2 วทิ ยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 4= 100% 3 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 4= 100% 4= 100% สรุป 100%

จากตารางท่ี 7 ผเู้ ข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมนิ โครงการการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” โดยมี ประเด็นวัดความพึงพอใจต่อวิทยากร ดังนี้ วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด และวิทยากรเปิด โอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม และวิทยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดบั

ตารางท่ี 8 แสดงระดบั ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก

ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ มากท่สี ดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ย กลาง ที่สดุ

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก

1 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก 4= 100%

2 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ กาเรียนรู้ 4= 100%

3 การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ัญหา 4= 100%

สรปุ 100%

จากตารางท่ี 8 ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมนิ โครงการการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” โดยมี ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก ดังน้ี การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา การ สื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดกาเรียนรู้ และสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก คิดเป็น รอ้ ยละ 100 ตามลาดับ

20

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผล ผู้เข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสาน

งานศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” เป็นเพศชาย จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และเพศหญิง จานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 และมีอายุ 15 - 30 ปี จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงกาลังศึกษาอยู่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นประชาชนท่ัวไปในตาบลวังสะพุง พร้อมทั้งประกอบอาชีพอ่ืนๆ (ว่างงาน) จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และมีประเด็นวัดความพึงพอใจในการจัดโครงการฯ ดังนี้ ความพึง พอใจด้านเน้ือหา คิดเป็นร้อยละ 100 ความพึงพอใจต่อวิทยากร คิดเป็นร้อยละ 100 ความพึงพอใจด้าน กระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม คิดเป็นร้อยละ 100 และความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก คิดเป็น รอ้ ยละ 100 ตามลาดับ จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 3 คน

5.2 อภิปรายผล การจัดโครงการการเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง “กิจกรรม เศรษฐกจิ พอเพียง สืบสานงาน

ศิลป์ พลิกดนิ สู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” ผูเ้ ข้าร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจในดา้ นเนือ้ หาตรงตามความต้องการ และเพียงพอ มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัย มีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม กิจกรรมเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์และเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถในการถา่ ยทอด เปิดโอกาสให้มีสว่ น รว่ มและซักถาม พร้อมท้งั มีการช่วยเหลอื และการแกป้ ญั หา

การจดั โครงการการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง สบื สานงาน ศิลป์ พลิกดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” ได้ดาเนินการตามเป้าหมายของโครงการ โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วมอบรม บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซ่ึงผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ตามฐานกิจกรรมท้ัง 5 ฐานเรียนรู้ ประกอบด้วย ฐานท่ี 1 ทอผ้าสานเส้นใย (ทอผ้าไหม) ฐานท่ี 2 พลิกดินสร้างรายได้ (ปุ๋ยชีวภาพ) ฐานที่ 3 เล้ยี งไหมใยหนอน (เล้ียงไหม) ฐานท่ี 4 แปลงปลูกหมอ่ น และฐานที่ 5 จดแลว้ ไมจ่ น (การทาบญั ชีครัวเรือน)

5.3 ข้อเสนอแนะ ผู้เข้ารว่ มการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง สบื สานงานศลิ ป์

พลกิ ดินสู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” ไม่มีข้อเสนอแนะในการจัดกจิ กรรม

ภาคผนวก

โครงการ การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง “กจิ กรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศลิ ป์ พลิกดนิ สู่ดาวตามแนวพระราชดาริ” 1. ชอ่ื โครงการ โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง “กจิ กรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง สบื สาน

งานศลิ ป์ พลกิ ดนิ ส่ดู าวตามแนวพระราชดาริ” 2. สอดคลอ้ งนโยบายจดุ เน้นการดาเนนิ งานสานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2566

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ข้อท่ี 1 ยุทธศาสตร์ด้านความ ม่นั คง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความ ตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจ ในความเป็น คนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทาง พระราชดาริต่าง ๆ

กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ข้อที่ 4 การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3. หลักการและเหตุผล

ด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560 – 2579) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขจุดอ่อน และเสริมจุดแข็งให้ เอ้ือต่อการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะให้ ประเทศไทยมีความมั่นคงในทุกด้าน คนในชาติมีคุณภาพชีวิตท่ีดี และประเทศสามารถพัฒนาไปได้อย่างย่ังยืน จากยุทธศาสตร์ จานวน 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงสอดคล้องจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยทุกช่วงวัยให้ เปน็ คนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวนิ ัย มีจติ สานึกทดี่ ีตอ่ สังคมส่วนรวม มีทกั ษะความรู้และ ความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปล่ียนแปลงรอบตัวโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษาให้ตรงตาม ความตอ้ งการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิต และสังคม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพปญั หาความต้องการของบคุ คลท่ีอย่นู อกระบบโรงเรียน ซงึ่ เปน็ ผูม้ ีความร้ปู ระสบการณจ์ ากการทางาน และ การประกอบอาชีพ ให้ความสาคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่ไปกับการ พัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถ่ินและเทคโนโลยี เพ่ือให้ ผเู้ รียนสามารถปรับตัว อยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมคิ ุ้มกนั ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รวมท้ังคานึงถึง ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ท่ีอยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การปกครอง ความเจรญิ กา้ วหน้า ของเทคโนโลยแี ละการสื่อสาร

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอวังสะพุง เห็นความสาคัญของการน้อมนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน โดยวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากภูมิปัญญา การสร้างองค์ความรู้สู่ กระบวนการคิดแก้ปัญหาจากสภาพที่เกิดข้ึนจริง นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีความสุข จึงจัด กิจกรรมโครงการ การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลกิ ดินสูด่ าวตามแนวพระราชดาริ” ข้นึ

4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่อื ให้ประชาชน อาเภอวงั สะพุง ได้เรยี นรู้เก่ียวกบั ฐานการเรยี นร้ตู ่างๆ เกีย่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง 4.2 ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม ได้ฝกึ ปฏิบตั ิเกยี่ วกบั ฐานการเรียนรู้ต่างๆ เพ่อื นาไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้

5.เปา้ หมาย

เชิงปรมิ าณ

ประชาชนอาเภอวงั สะพงุ จานวน 40 คน

เชิงคุณภาพ

ประชาชนอาเภอวังสะพุงที่เข้าร่วมโครงการ ได้ความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เกิดกระบวนการคิด แก้ปญั หา โดยนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้

6. วิธีดาเนินการ

กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พน้ื ทดี่ าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ บคุ ลากร 27 คน 1.ประชมุ ขอมติท่ปี ระชมุ กศน.อาเภอ 7 พ.ย. - วงั สะพงุ 2565 บคุ ลากรผ้ทู ี่

เก่ียวข้อง

2.เขยี น ขออนุมตั โิ ครงการ เจา้ หน้าท่ีงาน 1 คน กศน.อาเภอ 8 พ.ย. - วงั สะพุง 2565 โครงการเสนอ

ขออนมุ ตั ิ

3.แต่งตงั้ มอบหมายงาน บุคลากร 26 คน กศน.อาเภอ 15 พ.ย. - วงั สะพงุ 2565 คณะทางาน

4.จัดเตรยี ม จัดเตรียมเอกสารท่ใี ชใ้ น บคุ ลากร 26 คน กศน.อาเภอ 24 พ.ย. - สถานท่ี วสั ดุ โครงการฯ สถานที่ วสั ดุ วงั สะพงุ 2565 14,400 สอ่ื และ อุปกรณ์ ตามหนา้ ท่ี บาท อปุ กรณ์ 25 พ.ย. 5.ดาเนินการ 1. เพอ่ื ให้ประชาชน อาเภอ ประชาชน 40 คน โครงการพฒั นาพ้ืนท่ี 2565 - ตามโครงการฯ ตาม วังสะพงุ ไดเ้ รียนรู้เกยี่ วกับ อาเภอวงั สะพุง เพ่อื เทิดพระเกยี รติ 1 ธ.ค. กาหนดการท่ี 2565 แนบ ฐานการเรยี นรูต้ า่ งๆ สมเดจ็ พระนางเจ้า

6.ติดตาม เกี่ยวกบั เศรษฐกิจพอเพียง สิริกติ ์ิ ประเมินผล / สรุปรายงาน 2. ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม ไดฝ้ ึก พระบรมราชินนี าถ

ปฏิบตั ิเกยี่ วกบั ฐานการ ผาบา่ ว-ผาสาว

เรยี นร้ตู า่ งๆ เพื่อนาไปปรบั อาเภอวังสะพงุ

ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ จังหวัดเลย

ประเมินผลการดาเนนิ งาน - ผนู้ ิเทศ 3 คน กศน.ตาบล ท้งั 10

เมอ่ื แลว้ เสรจ็ ติดตาม - ครู กศน. แห่ง

ครู กศน.ตาบล ตาบล

ทงั้ 10

แห่ง

7. วงเงินงบประมาณ

ใชง้ บประมาณแผนงาน : พ้นื ฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4

ผรู้ บั บริการการศึกษานอกระบบ การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง งบดาเนินงาน รหัสงบประมาณ

20002350004002000000 แหลง่ ของเงิน 6611200 จานวนทง้ั สน้ิ 14,400 บาท (หน่ึงหมืน่ สพ่ี ันส่ีรอ้ ยบาท

ถว้ น) ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้

1. คา่ อาหาร 40 คน x 70 บาท x 1 มื้อ จานวนเงิน 2,800 บาท

2. คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 40 คน x 25 บาท x 2 มือ้ จานวนเงนิ 2,000 บาท

3. ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน x 200 บาท x 6 ชม. จานวนเงนิ 1,200 บาท

4. ค่าวสั ดุโครงการ จานวนเงนิ 8,400 บาท

รวมเงินทั้งสิ้น 14,400 บาท

(หน่ึงหมนื่ สี่พนั ส่ีรอ้ ยบาทถว้ น)

หมายเหตุ คา่ ใชจ้ ่ายถัวเฉล่ียตามท่จี า่ ยจริง

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค.65) (ม.ค.-ม.ี ค.66) (เม.ย.-ม.ิ ย.66) (ก.ค.-ก.ย.66) กจิ กรรมหลัก 14,400 บาท - - - โครงการการเรยี นรู้ตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพยี งสบื สาน งานศลิ ปพ์ ลกิ ดินสดู่ าวตามแนว พระราชดาริ

9.ผู้รับผิดชอบโครงการ 9.1 ครู 9.2 ครู อาสาสมัคร ฯ 9.3 ครู กศน.ตาบล 10 ตาบล 9.4 ครู ศรช.

10. เครือขา่ ย 10.1 โครงการพัฒนาพื้นที่เพ่ือเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ผาบ่าว-ผา

สาว ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพงุ จังหวดั เลย 10.2 ภมู ปิ ญั ญาในพนื้ ที่ ฯลฯ

11.โครงการ/กิจกรรมทเ่ี กี่ยวข้อง 11.1 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 11.2 โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั ฯลฯ

12.ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั (Out come) ประชาชนอาเภอวังสะพุง ท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ใช้กระบวนการคิด แก้ปัญหา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

13.ตวั ช้ีวัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ ( Out put ) ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับฐานการเรียนรู้ต่างๆ เกี่ยวกับ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง 13.2 ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์ ( Out comes ) ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนาความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับฐานการเรียนรู้ต่างๆ เก่ียวกับ

เศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้

14.การประเมินผล 14.1 ภาพถา่ ยกจิ กรรม

14.2 ประเมนิ ความพึงพอใจ 14.3 รายงานผล

ผเู้ สนอโครงการ

ลงชอื่ ………......……………........… ลงช่ือ………......……………........… (นางดวงเดือน สขุ บวั ) (นายทวีวฒั น์ เหลาสุพะ) ครู ผู้ชว่ ย ครู ชานาญการ

ผ้อู นมุ ัติโครงการ

ลงช่อื .............................................. (นางพชิ ามณชุ์ ลามะนา)

ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอวังสะพงุ

กาหนดการ

โครงการการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง “กจิ กรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง สืบสานงานศลิ ป์ พลิกดนิ สู่ดาว ตามแนวพระราชดาริ”

วันท่ี 25 พฤศจิกายน 2565

ณ โครงการพฒั นาพ้ืนท่เี พื่อเทิดพระเกยี รติสมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ผาบา่ ว-ผาสาว ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพุง จงั หวัดเลย

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอวังสะพุง

************************************************************************

เวลา 07.00 น. - 08.00 น. ออกเดนิ ทางจาก กศน.ตาบล ทง้ั 10 แหง่

เวลา 08.00 น. – 08.30 น. นักศึกษารายงานตัวและลงทะเบียน

เวลา 08.30 น. – 09.00 น. ชีแ้ จงวตั ถุประสงค์ /พิธเี ปดิ โครงการ

เวลา 09.00 น. - 16.00 น. แบ่งกลมุ่ การเรียนรู้ 5 กลุ่ม เรยี นรู้ตามฐานการเรยี นรู้ ฐาน ๆ ละ 60 นาที

สืบสานงานศลิ ป์ ฐานที่ 1 ทอผ้าสานเสน้ ใย (ทอผ้าไหม) โดยวทิ ยากรจากหนว่ ยโครงการพฒั นาพ้ืนทเี่ พ่ือเทิดพระเกียรติฯลฯ

พลกิ ดนิ สู่ดาว ฐานที่ 2 พลิกดนิ สร้างรายได้ (ปุย๋ ชีวภาพ) โดยวทิ ยากรจากหนว่ ยโครงการพฒั นาพน้ื ทเี่ พ่ือเทิดพระเกียรติฯลฯ

ฐานท่ี 3 เลี้ยงไหมใยหนอน (เล้ียงไหม) โดยวทิ ยากรจากหนว่ ยโครงการพัฒนาพ้นื ท่เี พ่ือเทิดพระเกียรติฯลฯ ฐานท่ี 4 แปลงปลกู หม่อน

โดยวิทยากรจากหน่วยโครงการพัฒนาพน้ื ที่เพ่ือเทิดพระเกียรติฯลฯ ฐานท่ี 5 จดแล้วไมจ่ น (การทาบัญชีครวั เรอื น) โดยวทิ ยากรจากหนว่ ยโครงการพฒั นาพนื้ ที่เพ่ือเทิดพระเกียรติฯลฯ

เวลา 16.00 น. - 16.30 น. ถอดบทเรยี น/ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เวลา 16.30 น.- 17.00 น. โดยวิทยากรจากหนว่ ยโครงการพฒั นาพืน้ ทเ่ี พ่ือเทิดพระเกียรติฯลฯ ปิดโครงการฯ โดย ผอ.กศน.อาเภอวังสะพุง

หมายเหตุ : กาหนดการนเี้ ปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม

เช้า เวลา 10.00 น. – 10.15 น. พกั รับประทานอาหารว่างและเคร่ืองดมื่

เวลา 12.00 น. - 13.00 น. พกั รับประทานอาหาร

บ่าย เวลา 14.30 น. – 14.40 น. พกั รบั ประทานอาหารว่างและเครือ่ งดื่ม

แบบประเมินความพงึ พอใจ โครงการการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง “กจิ กรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศิลป์ พลกิ ดนิ สู่ดาว ตามแนวพระราชดาริ”

วนั ที่ 25 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2565 ณ โครงการพฒั นาพนื้ ท่เี พอ่ื เทดิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ผาบ่าว-ผาสาว

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอวงั สะพุง จังหวดั เลย ********************************************

คาชแ้ี จง : แบบประเมนิ ความพงึ พอใจน้ี มีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ศึกษาความคดิ เหน็ ของนักศกึ ษา ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ฯ ขอให้ตอบตรงตามความเป็นจรงิ มากท่ีสุด และผลท่ีได้จะนามาปรับปรงุ และพฒั นาการดาเนนิ งานตอ่ ไป

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป ชาย หญิง 1. เพศ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 2. ชว่ งอายุ 41- 50 ปี 51- 60 ปี 60 ปขี ึ้นไป

3. ระดบั การศกึ ษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ 4. อาชีพ มัธยมศึกษาตอนปลาย อ่นื ๆ............................................ ธรุ กจิ สว่ นตัว เกษตร ลูกจ้าง/รบั จ้าง อน่ื ๆ..............................................

ส่วนท่ี 2 : ความคิดเหน็ เกี่ยวกับการดาเนนิ งานโครงการ ( ขีด  ชอ่ งระดับความพงึ พอใจ )

ระดับความพึงพอใจ

ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย หมายเหตุ ที่สดุ กลาง ท่ีสดุ

ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนือ้ หา

1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ

2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ

3 เนอ้ื หาปัจจุบนั ทนั สมัย

4 เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม

5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม

6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์

7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา

8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เปา้ หมาย

9 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์

ระดบั ความพึงพอใจ

ข้อ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย หมายเหตุ ทสี่ ุด กลาง ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ทสี่ ุด 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคในการถ่ายทอดใชส้ ่อื เหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ มและซักถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ กาเรียนรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา

ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

รูปภาพกิจกรรม โครงการการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง “กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง สืบสานงานศลิ ป์ พลกิ ดนิ สู่ดาว ตามแนวพระราชดาริ” ณ โครงการพัฒนาพืน้ ทเ่ี พ่ือเทดิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ผาบา่ ว-ผาสาว

ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย วนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2565

ทป่ี รึกษา ลามะนา คณะผ้จู ดั ทา นางพชิ ามญช์ุ เหลาสุพะ นายทวีวัฒน์ สขุ บัว ผอ.กศน.อาเภอวังสะพุง นางดวงเดอื น จนั ทวนั ครู นางบวั คา อันทะระ ครูผู้ชว่ ย นางลาใย ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น คณะทางาน นางดารนีนุช รตั นมงคล ครู กศน.ตาบลผาบิ้ง นางสาวปลายมาศ จนั ทวนั ครู ศรช.ตาบลผาบง้ิ

รวบรวม / เรียบเรียงข้อมลู ครู กศน.ตาบลวังสะพงุ นางดารนีนุช รัตนมงคล ครู ศรช.ตาบลผาบิ้ง นางสาวปลายมาศ จันทวนั ครู กศน.ตาบลผาบิ้ง ภาพประกอบออกแบบรปู เล่ม/พมิ พ์ ครู ศรช.ตาบลผาบง้ิ นางดารนนี ุช รัตนมงคล นางสาวปลายมาศ จนั ทวัน