หล กส ตร ม.ปลาย โรงเร ยนร อยเอ ดว ทยาล ย

หล กส ตร ม.ปลาย โรงเร ยนร อยเอ ดว ทยาล ย

t.kruyok004 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

2หลักสูตรวิทย์ ม.ปลาย โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา ปรับปรุง 2562

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

วชิ า คณิตศาสตร์เพิ่มเตมิ 4 คาอธิบายรายวชิ า ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 จานวน 1.5 หนว่ ยกติ รหัสวิชา ค30204 เวลา 60 ชว่ั โมง

ศึกษาพร้อมทั้งฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เก่ียวกับ จานวนเชิงซ้อน จานวน เชิงซ้อน กราฟและค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงข้ัว สมการพหุนามหลักการ นับ กฎเกณฑ์เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการนับ หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปล่ียนเชิงเส้นกรณีที่ส่ิงของ แตกต่างกันท้งั หมด การจัดหม่กู รณีทสี่ ิ่งของแตกต่างกันท้ังหมด ความน่าจะเป็น กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการนับ และแฟกทอเรยี ล n วิธีเรียงสับเปลี่ยน วธิ จี ดั หมู่ ทฤษฎีบททวนิ าม ความน่าจะเป็นและทฤษฎีท่ีสาคัญบาง ประการของความนา่ จะเป็น

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการปฏิบัติจริง การใช้ กระบวนการกลุ่มในการทางาน เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการ แกป้ ญั หา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันโดยยึดหลักศาสตร์พระราชา รวมทั้งเชื่อมโยงกับ ศาสตร์อื่นๆ และมคี วามคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์

เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ใฝุเรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัย และ มจี ิตสานกึ ความรับผดิ ชอบ โดยเห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวม

ผลการเรยี นรู้

1. มีความคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั จานวนเชิงซ้อน เขียนกราฟและหาค่าสัมบูรณข์ องจานวนเชิงซ้อนได้ 2. หารากที่ n ของจานวนเชงิ ซ้อนเมื่อ n เปน็ จานวนเต็มบวก 3. แก้โจทย์ปญั หาโดยใชก้ ฎเกณฑเ์ กีย่ วกับการนับ วิธเี รยี งสับเปลย่ี นและวิธีจดั หมูไ่ ด้ 4. นาความรู้เรื่องทฤษฎีบททวนิ ามไปใช้ได้ 5. หาความนา่ จะเป็นของเหตุการณ์ท่กี าหนดใหไ้ ด้

รวมท้งั หมด 8 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หน้า 48

คาอธบิ ายรายวิชา

วิชา คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม 5 รหัสวิชา ค30205 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาพร้อมท้ังฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เก่ียวกับ ลาดับและอนุกรม ลาดับ อนันต์ และอนุกรมอนันต์ แคลคูลัส ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ลิมิตของฟังก์ชัน ความ ตอ่ เน่ืองของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันอัตราการเปลี่ยนแปลง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดย ใชส้ ตู ร การหาอนุพันธข์ องฟังก์ชนั พชี คณติ โดยใช้สูตรอนุพนั ธฟ์ งั กช์ นั คอมโพสทิ อนุพันธ์อนั ดับสูง การ ประยุกตอ์ นพุ นั ธ์ ความชันของเส้นโค้งและเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ค่าสูงสุดและต่าสุด ปริพันธ์ไม่จากัดเขต ปรพิ ันธ์จากัดเขต พืน้ ทีป่ ิดลอ้ มด้วยเสน้ โค้ง

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการปฏิบัติจริง การใช้ กระบวนการกลุ่มในการทางาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันโดยยึดหลักศาสตร์พระราชา รวมท้ังเชื่อมโยงกับ ศาสตร์อ่ืนๆ และมีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์

เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ใฝุเรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัย และมี จิตสานกึ ความรับผิดชอบ โดยเหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนรวม

ผลการเรียนรู้

1. หาลมิ ติ ของลาดบั อนนั ตโ์ ดยอาศยั ทฤษฎีบทเก่ียวกบั ลิมิตได้ 2. หาผลบวกของอนกุ รมอนันต์ได้ 3. นาความรเู้ ร่ืองลาดบั และอนุกรมไปใช้แก้ปญั หาได้ 4. หาลมิ ติ ของฟงั กช์ นั ท่ีกาหนดใหไ้ ด้ 5. บอกไดว้ ่าฟงั ก์ชนั ท่ีกาหนดใหเ้ ป็นฟงั ก์ชนั ตอ่ เนื่องหรอื ไม่ 6. หาอนุพนั ธข์ องฟังก์ชนั ทก่ี าหนดให้ได้ 7. นาความรู้เรื่องอนุพันธ์มาประยุกต์ใช้หาความชันของเส้นโค้ง เส้นสัมผัสเส้นโค้ง ค่าสูงสุดและ ต่าสดุ ได้ 8. หาปรพิ ันธไ์ มจ่ ากัดเขตและปริพันธจ์ ากัดเขตของฟงั ก์ชันทก่ี าหนดใหไ้ ด้ 9. หาพ้ืนท่ีทป่ี ดิ ลอ้ มดว้ ยเส้นโคง้ บนช่วงทกี่ าหนดใหไ้ ด้

รวมทงั้ หมด 9 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภบิ าล หน้า 49

คาอธิบายรายวิชา

วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค30206 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาพร้อมทั้งฝกึ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ สถิติ การวัดค่ากลางของข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ียเลขคณิต มัธยมฐาน ฐานนิยม ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต และค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิก การวัดตาแหน่งท่ี หรอื สัมพัทธ์ของขอ้ มูล การวัดการกระจายของข้อมูล ได้แก่ การวดั การกระจายสัมบูรณ์ การวัดการกระจาย สัมพัทธ์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งการแจกแจงความถ่ี ค่ากลาง และการกระจายของข้อมูล การแจกแจงความ น่าจะเปน็ เบื้องตน้ การแจงแจงปกติ คา่ มาตรฐาน เส้นโคง้ ปกติ

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการปฏิบัติจริง การใช้ กระบวนการกลุ่มในการทางาน เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการ แกป้ ัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยง ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันโดยยึดหลักศาสตร์พระราชา รวมทั้งเชื่อมโยงกับ ศาสตรอ์ น่ื ๆ และมีความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์

เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ใฝุเรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัย และมี จิตสานึกความรบั ผดิ ชอบ โดยเห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวม

ผลการเรียนรู้

1. เลอื กใช้คา่ กลางที่เหมาะสมกบั ขอ้ มลู ที่กาหนดและวัตถุประสงคท์ ีต่ ้องการได้ 2. วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้คา่ กลางของข้อมลู การวัดตาแหนง่ ทข่ี องข้อมลู และการวัดการกระจายได้ 3. นาความร้เู รื่องค่ามาตรฐานไปใช้ในการเปรียบเทยี บขอ้ มูลได้ 4. หาพ้ืนทใ่ี ตเ้ ส้นโค้งปกตแิ ละนาความรเู้ กีย่ วกับพ้นื ที่ใตเ้ ส้นโคง้ ปกติไปใชไ้ ด้

รวมทง้ั หมด 4 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หน้า 50

คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 51

โครงสรา้ งหลักสตู ร

กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภบิ าล

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

รายวิชาพ้ืนฐาน จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ จานวน 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต ว31101 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ว31102 เทคโนโลยี 1 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ว32101 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 1 จานวน 20 ช่วั โมง 0.5 หน่วยกติ ว32102 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 จานวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกติ ว32103 เทคโนโลยี 2 จานวน 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต ว33101 วทิ ยาศาสตร์ โลก และอวกาศ ว33102 เทคโนโลยี 3

หลกั สตู รสถานศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หนา้ 52

รายวิชาเพมิ่ เติม จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หน่วยกติ จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หน่วยกติ ว30201 ฟสิ กิ ส์ 1 จานวน 80 ช่ัวโมง 2.0 หน่วยกติ ว30202 ฟิสกิ ส์ 2 จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หนว่ ยกติ ว30203 ฟสิ ิกส์ 3 จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หน่วยกติ ว30204 ฟสิ ิกส์ 4 จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หนว่ ยกติ ว30205 ฟสิ กิ ส์ 5 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ว30206 ฟสิ กิ ส์ 6 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ว30221 เคมี 1 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ว30222 เคมี 2 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ว30223 เคมี 3 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ว30224 เคมี 4 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกติ ว30225 เคมี 5 จานวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ ว30226 เคมี 6 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ว30227 เคมีพอลิเมอร์ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ว30241 ชีววทิ ยา 1 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ว30242 ชีววทิ ยา 2 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ว30243 ชีววทิ ยา 3 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ว30244 ชีววิทยา 4 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ว30245 ชวี วิทยา 5 จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต ว30246 ชีววิทยา 6 จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว30247 โครงงานวิทยาศาสตร์ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต ว30261 โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ 1 จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ว30262 โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ 2 จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต ว30263 โลกและการเปล่ียนแปลง ว30287 การเขียนโปรแกรม

หลักสตู รสถานศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภบิ าล หน้า 53

รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คาอธิบายรายวชิ า ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 1.5 หนว่ ยกิต รหัสวิชา ว31101 เวลา 60 ชั่วโมง

ศกึ ษาความหลากหลายของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของระบบนิเวศ องค์ประกอบของ ระบบนเิ วศ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม เซลล์และโครงสร้างพ้ืนฐานของเซลล์ การลาเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุ กรด-เบส อุณหภูมิในร่างกายมนุษย์ ระบบ ภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การสร้างอาหารของพืชด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สารสังเคราะห์จากพืช ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนองของพืชต่อส่ิงเร้า ยีนและการ ถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม ระดับยีนและโครโมโซม การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีทาง ดีเอ็นเอ วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตจากการ คัดเลือกโดยธรรมชาติ การคดั เลือกโดยธรรมชาติของสง่ิ มีชวี ิต

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปราย และการสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษา ส่ิงมีชวี ติ อ่ืน ๆ เฝูาระวังและพฒั นาส่ิงแวดล้อมอย่างยง่ั ยนื

มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

รหัสตัวชีว้ ัด

ว 1.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ว 1.2 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9, ม.4/10, ม.4/11,

ม.4/12 ว 1.3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6

รวมทงั้ หมด 22 ตวั ชี้วัด

หลักสตู รสถานศกึ ษา ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภบิ าล หนา้ 54

รายวชิ าเทคโนโลยี 1 คาอธิบายรายวชิ า ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 จานวน 0.5 หนว่ ยกติ รหสั วิชา ว31102 จานวน 20 ช่ัวโมง

ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานทางด้าน เทคโนโลยี การนาแนวคิดเชิงคานวณพัฒนาโครงงานที่เก่ียวกับชีวิตประจาวัน ตลอดจนใช้ในการพัฒนา โครงงานทม่ี กี ารบูรณาการกบั วิชาอื่นอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเช่อื มโยงกับชีวติ จรงิ

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการ เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะ การคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนาเสนอผ่านการทา กจิ กรรมโครงงาน เพือ่ ใหเ้ กดิ ทกั ษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา จนสามารถ นาเอาแนวคิดเชิงคานวณมาประยกุ ตใ์ ช้ในการสร้างโครงงานได้

เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารเพ่ือรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่นมาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใชอ้ ย่างปลอดภัยมจี รยิ ธรรม ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้ เกิดประโยชนต์ ่อสงั คม และการดารงชีวติ จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถ ในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มี จิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในการใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์

รหสั ตัวช้ีวดั

ว 4.2 ม.4/1

รวมทั้งหมด 1 ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หนา้ 55

รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 คาอธิบายรายวชิ า ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 1.5 หน่วยกติ รหัสวิชา ว32101 เวลา 60 ชั่วโมง

ศึกษาธาตแุ ละสารประกอบ ชนดิ ของธาตุแนวโนมความเปนโลหะและอโลหะของธาตุในตารางธาตุ โครงสรางอะตอม พันธะเคมีการเกิดปฏิกิริยาเคมีสมการเคมีปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบ ตอส่ิงแวดลอม สารเคมีในชีวิตประจาวัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสารชีวโมเลกุลการเกิดและแหล ง ปโตรเลยี ม การกล่ันน้ามันดบิ และผลติ ภณั ฑการแยกแก๊สธรรมชาตแิ ละผลิตภัณฑเชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน ผลของ ผลิตภัณฑปโตรเลียมตอสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอม พอลิเมอรธรรมชาติและพอลิเมอรสังเคราะห การเกิด และโครงสรางของพอลิเมอร ผลิตภัณฑจากพอลิเมอร ผลท่ีเกิดจากการผลิตและการใชพอลิเมอร ตอส่งิ มชี วี ติ และส่ิงแวดลอม

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคนขอมูล การสังเกต การวิเคราะห การอธิบาย การอภิปรายและสรุป เพื่อใหเกิดความรูความคิดความเขาใจ มีความสามารถ ในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนาความรูไปใชในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ เฝาระวังและพฒั นาส่งิ แวดลอมอยางยั่งยืน

มีจติ วทิ ยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรมและคานยิ มท่เี หมาะสม

รหสั ตวั ชว้ี ัด

ว 2.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10, ม.4-6/11, ม.4-6/12, ม.4-6/13, ม.4-6/14, ม.4-6/15, ม.4-6/16, ม.4-6/17, ม.4-6/18, ม.4-6/19, ม.4-6/20, ม.4-6/21, ม.4-6/22, ม.4-6/23, ม.4-6/24, ม.4-6/25

รวมทง้ั หมด 25 ตัวช้วี ัด

หลักสตู รสถานศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภบิ าล หน้า 56

รายวิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 คาอธิบายรายวิชา ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 1.5 หน่วยกติ รหสั วิชา ว32102 เวลา 60 ช่ัวโมง

ศกึ ษาการบอกตาแหนง่ ของวัตถกุ ารเคลอื่ นท่ีแนวตรงอตั ราเรว็ ความเรว็ และความเร่งการเคล่ือนท่ี แบบโพรแจกไทล์การเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลม การเคลอ่ื นท่ีแบบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย แรงโนมถว่ งและสนาม โน้มถ่วง ประโยชนจากสนามโน้มถ่วง แรงแมเ่ หล็กและสนามแมเ่ หลก็ ประโยชนจากสนามแมเ่ หลก็ สนามแมเ่ หลก็ โลก แรงไฟฟาู และสนามไฟฟาู ประโยชนจากสนามไฟฟูา แรงนิวเคลียร์ ศกึ ษารูปพลังงาน แหล่งพลงั งาน การถ่ายโอนพลงั งาน คลื่นกล ชนดิ และองค์ประกอบของคลนื่ สมบัติของคลนื่ คลน่ื น่งิ และ การสั่นพ้องการเคลอื่ นทขี่ องคลื่นเสยี งอัตราเร็วของเสยี ง ประเภทของคลน่ื เสียงลักษณะทางกายภาพของ คล่ืนเสียงการไดยิน การเกิดบีตส ปรากฏการณดอปเปลอรมลพิษทางเสียงความสัมพนั ธระหวางสนามไฟ ฟาและสนามแมเหล็ก แมเหล็กไฟฟา สเปกตรัมของคล่นื แมเหล็กไฟฟาพลงั งานนิวเคลยี ร์ การคนพบ นิวเคลียส สญั ลกั ษณนวิ เคลยี ร กมั มนั ตภาพรังสปี ฏิกริ ิยานิวเคลียร โรงไฟฟานวิ เคลยี ร

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรกระบวนการสบื เสาะหาความรูการสืบคนขอมูล การสังเกต การวเิ คราะห์ การอธิบาย การอภปิ รายและสรปุ เพื่อใหเกิดความรูความคดิ ความเขาใจ มีความสามารถ ในการตัดสนิ ใจ สอื่ สารสงิ่ ที่เรียนรูและนาความรูไปใชในชีวิตของตนเองและดแู ลรักษาสงิ่ มชี ีวิตอนื่ ๆ เฝาระวังและพฒั นาสงิ่ แวดลอมอยางย่ังยืน

มีจิตวทิ ยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรมและคานยิ มท่ีเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด

ว 2.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10

ว 2.3 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10, ม.4-6/11, ม.4-6/12

รวมทงั้ หมด 22 ตัวชี้วดั

หลักสตู รสถานศึกษา ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 57

รายวิชาเทคโนโลยี 2 คาอธิบายรายวชิ า ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 จานวน 0.5 หนว่ ยกิต รหสั วิชา ว32103 จานวน 20 ชัว่ โมง

ศึกษาและอธิบายองค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วยได้แก่ หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลัก หน่วยความจารอง หน่วยส่งออก ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง เขียนโปรแกรมภาษาในงานต่าง ๆ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน อินเตอร์เน็ต ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างช้ินงาน การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพ่ือการ ประกอบการตัดสนิ ใจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นาเสนองานในรูปแบบท่ีเหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ของ งานโดยใชก้ ระบวนการเทคโนโลยสี นเทศ

ทักษะการแกป้ ญั หา การสรา้ ง การประยกุ ต์ความรู้และสามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมใน ชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์

เพ่ือให้มีความเสียสละในการทางาน มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย์สุจริต มุ่งม่ันในการทางาน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในการทางานอย่างประหยัด ค้มุ ค่า ถกู วธิ ี และมเี จตคติที่ดตี ่อการประกอบอาชีพสุจรติ

รหสั ตัวช้ีวัด

ว 4.1 ม.5/1

รวมท้ังหมด 1 ตัวชี้วดั

หลกั สตู รสถานศึกษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 58

คาอธิบายรายวชิ า

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ โลก และอวกาศ รหัสวชิ า ว33101 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 1.5 หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชว่ั โมง

ศึกษาโครงสร้างโลก การแบ่งโครงสร้างโลก หลักฐานและสมมติฐานการเคลื่อนท่ีของทวีป หลักฐาน และข้อมูลทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนุนการเคล่ือนตัวของทวีป กระบวนการท่ีทาให้เกิดการเคล่ือนที่ ของแผ่นธรณี ลักษณะการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด อายุทางธรณีวิทยา ซากดึกดาบรรพ์ การลาดับชั้นหิน กาเนิดเอกภพ กาแล็กซี วิวัฒนาการของดาว ฤกษ์ กาเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ ความส่องสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์ สีและอุณหภูมิผิว ของดาวฤกษ์ ระยะห่างของดาวฤกษ์ เนบิวลา แหล่งกาเนิดดาวฤกษ์ ระบบดาวฤกษ์ มวลของดาวฤกษ์ การกาเนิดระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ เขตของบริวารดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ การขนส่งและการโคจร ของดาวเทียม ระบบขนส่งอวกาศ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ การหมุนเวียนของอากาศ ที่เป็น ผลมาจากความแตกต่างของความกดอากาศ ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ ผลจากการหมุนรอบตัวเอง ของโลก การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด การหมุนเวียนของน้าผิวหน้าในมหาสมุทรและรูปแบบ การหมุนเวียนของน้าผิวหน้าในมหาสมุทร ที่มีต่อลักษณะภูมิอากาศ ลมฟูาอากาศ ส่ิงมีชีวิต และ ส่ิงแวดล้อม ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศของโลก แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟูาอากาศที่ สาคัญจากแผนที่อากาศ และนาข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ มาวางแผนการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพ ลมฟูาอากาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวเิ คราะห์ การอภปิ ราย การอธิบายและสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถ ในการตดั สนิ ใจ สือ่ สารสิ่งทเ่ี รยี นรู้และนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตของตนเอง ดูแลรักษาสิง่ มชี วี ติ อื่น เฝูาระวังและ พฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยัง่ ยนื

มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยมุ่งเน้นความเป็นไทย ควบคกู่ ับความเป็นสากล

รหัสตวั ชีว้ ดั

ว 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10

ว 3.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10, ม.4-6/11, ม.4-6/12, ม.4-6/13, ม.4-6/14

รวมทง้ั หมด 24 ตัวชี้วดั

หลักสตู รสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หน้า 59

รายวชิ าเทคโนโลยี 3 คาอธิบายรายวชิ า ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 0.5 หน่วยกติ รหสั วิชา ว33102 จานวน 20 ชั่วโมง

อธบิ ายวธิ กี ารทางานเพอื่ การดารงชีวติ สรา้ งและพัฒนาผลงาน สิ่งของเครอื่ งใช้ ตามกระบวนการ เทคโนโลยีอยา่ งปลอดภยั และมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ลักษณะ ได้แก่ ความคดิ รเิ ริม่ ความคล่องในการ คิด ความยืดหยุ่นในการคิด และความคิดละเอียดลออ มีทักษะการจัดการในการทางานเป็นระบบงาน และระบบคน การดาเนนิ การทางธุรกจิ

มีทักษะแก้ปัญหา และการแสวงหาความรู้อย่างเป็นขั้นตอน ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ หรือนาเสนองาน ช่วยทาภาพร่าง 2 มิติ และ 3 มิติ วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับงาน อาชีพ ชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีที่ย่ังยืน ด้วยเทคโนโลยีสะอาด มคี วามคดิ แปลกใหมเ่ ป็นการสร้างนวตั กรรมที่เป็นส่วนหน่ึงของทรัพย์สินทางปัญญา ไม่ละเมิดความคิดผู้อื่น อภิปรายแนวทางเข้าสู่อาชีพท่ีสนใจ มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจโดย ใช้ทักษะกระบวนการการทางาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน ทักษะการ แสวงหาความรู้ ทกั ษะการจดั การเพื่อการประหยัดและใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมอย่างคุ้มค่า และยง่ั ยืนเพอ่ื การอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม

มีคุณธรรมและคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพและการทางานและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวติ ประจาวัน

ตวั ช้ีวัด ว 4.2 ม.6/1

รวม 1 ตวั ช้ีวดั

หลักสตู รสถานศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภิบาล หนา้ 60

รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1 คาอธิบายรายวิชา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 2.0 หน่วยกติ รหสั วิชา ว30201 เวลา 80 ชว่ั โมง

ศึกษาความรู้ทางฟสิ ิกส์ ประวัติความเป็นมา พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ การวัด ปริมาณทางฟิสิกส์ ความคลาดเคล่ือนในการวัด การแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ ความหมายจาก กราฟเส้นตรง ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่ของวัตถุใน แนวตรงทมี่ คี วามเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีทา มุมตอ่ กัน กฎการเคลือ่ นท่ีของนวิ ตัน กฎความโน้มถ่วงสากล การใช้กฎการเคล่ือนท่ีของนิวตันกับสภาพการ เคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ ในกรณีท่ีวัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนท่ี สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ และนาความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแรงสู่ศนู ย์กลาง รัศมีของการเคล่ือนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม มวลของวัตถุ ในการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ การประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลมในการอธิบาย การโคจรของดาวเทยี ม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวเิ คราะห์ การอธปิ ราย การอธบิ ายและการสรปุ ผล

เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงท่ี เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ ถกู ต้อง

ผลการเรียนรู้

1. สืบค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมท้ังพัฒนาการของ หลักการและแนวคดิ ทางฟิสกิ ส์ทมี่ ีผลตอ่ การแสวงหาความร้ใู หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยไี ด้

2. วดั และรายงานผลการวัดปรมิ าณทางฟิสกิ สไ์ ด้ถกู ตอ้ งเหมาะสม โดยนาความคลาดเคล่ือนในการ วัดมาพิจารณาในการนาเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมาย จากกราฟเส้นตรงได้

3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ เคล่ือนที่ของวัตถุในแนวตรงท่ีมีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วง ของโลก และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งได้

4. ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลัพธข์ องแรงสองแรงทท่ี ามุมต่อกนั ได้

หลักสตู รสถานศึกษา ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภิบาล หน้า 61

5.เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตันและ การใชก้ ฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนท่ขี องวัตถุ รวมท้ังคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งได้

6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงท่ีทาให้วัตถุมีน้าหนัก รวมทั้งคานวณ ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องได้

7. วิเคราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุ หยุดน่ิงและวัตถุเคล่ือนที่ รวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธ์ิความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ และนาความรูเ้ รื่องแรงเสยี ดทานไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

8. อธิบาย วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และ ทดลองการเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทลไ์ ด้

9. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคล่ือนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อตั ราเร็วเชิงมมุ และมวลของวัตถุในการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมท้ังคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง และประยุกตใ์ ช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลมในการอธบิ ายการโคจรของดาวเทียมได้

รวมท้งั หมด 9 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภิบาล หน้า 62

รายวิชา ฟิสิกส์ 2 คาอธิบายรายวชิ า ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 2.0 หน่วยกิต รหสั วิชา ว30202 เวลา 80 ช่ัวโมง

ศึกษางานของแรงคงตัวจากสมการและพ้ืนท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตาแหน่ง กาลังเฉลย่ี พลังงานจลน์ พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืด ออก ความสัมพันธร์ ะหวา่ งงานกบั พลงั งานศักย์ยืดหยุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลังงาน จลน์ งานที่เกิดข้ึนจากแรงลัพธ์ กฎการอนุรักษ์พลังงานกล ปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเคลื่อนท่ีของ วัตถุในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรักษ์พลังงานกล การทางาน ประสิทธิภาพ การได้เปรียบเชิงกล ของเคร่ืองกลอย่างง่ายบางชนิดโดยใช้ความรู้เรื่องงานและสมดุลกลในการพิจารณา โมเมนตัมของวัตถุ การดลจากสมการและพืน้ ท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับ โมเมนตมั ปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วกับการชนของวัตถใุ นหนง่ึ มิติทงั้ แบบยืดหยนุ่ ไม่ยืดหยุ่น การดีดตัวแยกจาก กันในหน่ึงมิติที่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม สมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ท่ีมี ต่อการหมุน แรงคู่ควบ ผลของแรงคู่ควบที่มีต่อสมดุลของวัตถุ แผนภาพของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุอิสระเมื่อ วัตถุอยู่ในสมดุลกล สมดุลของแรงสามแรง สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุเม่ือแรงท่ีกระทาต่อวัตถุผ่าน ศนู ยก์ ลางมวลของวัตถุ และผลของศูนย์ถว่ งท่มี ตี ่อเสถยี รภาพของวตั ถุ

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสงั เกต การวิเคราะห์ การอภิปราย การอธิบายและการ

เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ี ถกู ต้อง

ผลการเรยี นรู้

1. วิเคราะห์และคานวณงานของแรงคงตัวจากสมการและพื้นท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรง กับตาแหน่ง รวมทง้ั อธิบายและคานวณกาลงั เฉล่ียได้

2. อธบิ ายและคานวณพลงั งานจลน์ พลงั งานศกั ย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ พลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงท่ีใช้ดึง สปริงกับระยะท่ีสปริงยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบาย ความสมั พันธ์ระหวา่ ง งานของแรงลพั ธ์และพลงั งานจลน์ และคานวณงานทเี่ กดิ ขนึ้ จากแรงลัพธไ์ ด้

3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมท้ังวิเคราะห์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับ การเคล่ือนที่ของวัตถุในสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกลได้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภบิ าล หน้า 63

4. อธิบายการทางาน ประสิทธิภาพ และการได้เปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอย่างง่ายบางชนิด โดย ใช้ความรเู้ รื่องงานและสมดลุ กล รวมท้ังคานวณประสิทธภิ าพและการได้เปรยี บเชงิ กลได้

5. อธิบายและคานวณโมเมนตัมของวัตถุและการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ ระหว่างแรงกับเวลา รวมทัง้ อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงดลกบั โมเมนตัมได้

6. ทดลอง อธบิ าย และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติท้ังแบบยืดหยุ่น ไม่ยืดหย่นุ และการดีดตัวแยกจากกนั ในหนงึ่ มิติซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตัมได้

7. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวม ของโมเมนต์ท่ีมีต่อการหมุน แรงคู่ควบและผล ของแรงคู่ควบทีม่ ตี อ่ สมดุลของวัตถุเขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และ คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วข้อง รวมท้งั ทดลองและอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรงได้

8. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทาต่อวัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของ วัตถุ และผลของศูนยถ์ ่วงทม่ี ตี ่อเสถยี รภาพของวตั ถุได้

รวมทงั้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภิบาล หนา้ 64

คาอธิบายรายวชิ า

รายวิชา ฟิสิกส์ 3 รหสั วิชา ว30203 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 80 ชั่วโมง จานวน 2.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ คานวณและอธิบาย เก่ียวกับของไหล ความหนาแน่น ความดันใน

ของเหลว กฎของพาสคาลและเคร่ืองอัดไฮโดรลิก แรงลอยตัวและหลักของอาร์คิมีดิส ความตึงผิว ความ

หนืด และพลศาสตร์ของของไหล ความร้อน สมบัติของแก๊สอุดมคติ กฎของบอยล์ กฎของชาร์ลส์ กฎของ

แก๊ส ทฤษฎีจลนข์ องแก๊ส พลงั งานภายในระบบ และการประยุกต์ใช้ คลื่นกล การถ่ายโอนพลังงานของคลื่น

กล คล่ืนผิวน้า การซ้อนทับของคลื่น สมบัติของคลื่นได้แก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอดและ

การเล้ยี วเบนของคลื่น คล่นื น่งิ และการส่ันพอ้ ง

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมลู

การอภิปรายและการทดลอง

เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ มีความสามารถในการ

ตดั สินใจ นาความรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจาวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. สารวจ ตรวจสอบ อภิปราย และคานวณสงิ่ ท่ีเก่ยี วข้องกับ สมบัตทิ ั่วไปของของไหล ไดแ้ ก่ ความหนาแน่น ความดนั ได้

2. สารวจ ตรวจสอบ อภิปราย และคานวณส่ิงที่เกี่ยวข้องกับ กฎของพาสคัลและหลักของ อาร์คมิ ดี สิ ได้

3. สารวจตรวจสอบ อภิปรายและคานวณสิ่งท่ีเก่ียวข้องกับ ความตึงผิว ความหนืด การลอยตัว และกฎของสโตกสเ์ กีย่ วขอ้ งกับการเคล่ือนที่ของวัตถทุ รงกลมในของไหลที่มีความหนดื ได้

4. สารวจตรวจสอบ อภปิ ราย และคานวณส่ิงทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั สมการของแบร์นูลลไี ด้ 5. สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปรายและคานวณเก่ียวกับผลของความร้อนที่ทาให้สาร เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การถา่ ยโอนความรอ้ น และ สมดลุ ความรอ้ นได้ 6. สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณส่งิ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับสมบัติของแกส๊ ได้ 7. สารวจตรวจสอบ อภปิ ราย และคานวณสง่ิ ที่เก่ียวข้องกับทฤษฎีจลน์ของแก๊สได้ 8. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และคานวณส่ิงที่เก่ียวข้องกับ พลังงานภายในระบบ กฎข้อที่หน่ึงของ อุณหพลศาสตร์ และเครื่องมอื ท่เี ปลีย่ นความรอ้ นได้ 9. สารวจตรวจสอบ อภิปราย วิเคราะห์และคานวณสิ่งที่เก่ียวข้องกับคลื่นกล คลื่นน้า และ การซ้อนทับของคล่นื ได้ 10. สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภปิ ราย และคานวณสง่ิ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสมบตั ขิ องคลนื่ ได้ 11. สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณสงิ่ ทเี่ กี่ยวข้องกับคลื่นนงิ่ และการสน่ั พ้องได้ รวมทั้งหมด 11 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หนา้ 65

คาอธิบายรายวิชา

รายวิชา ฟิสิกส์ 4 รหสั วิชา ว30204 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 80 ชัว่ โมง จานวน 2.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ คานวณและอธิบายเกี่ยวกับ คล่ืนเสียง ธรรมชาติของเสียง อัตราเร็วของ เสียง การเคล่ือนที่ของเสียงในตัวกลางต่างๆ คุณสมบัติทั่วไปของคลื่นเสียง ความเข้มเสียงและการได้ยิน ระดับความเข้มเสียงและผลกระทบของเสียงในชีวิตประจาวัน เสียงดนตรี บีตส์และคลื่นน่ิงของเสียง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และคล่ืนกระแทก การประยุกต์ความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์ แสง การแทรก สอดของแสง การเลี้ยวเบนของแสง เกรตติง คุณสมบัติเชิงกายภาพของแสง การเกิดโพลาไรเซชันของแสง และการกระเจิงของแสง การเคลือ่ นท่ีและอตั ราเร็วของแสง การสะท้อนของแสง การหาตาแหน่งและขนาด ของภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาท้ังโดยการเขียนภาพและการคานวณ การหักเหของแสง เลนส์บาง การคานวณปริมาณต่าง ๆ จากการเกิดภาพเม่ือแสงผ่านเลนส์ ปรากฏการณ์เกี่ยวกับแสง ทัศนอุปกรณ์ ความสวา่ ง การถนอมสายตา ตาและการมองเหน็ สี การผสมสารสี และการผสมแสงสี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น ขอ้ มูล การอภิปรายและการทดลอง

เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้

1. สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณสิ่งที่เก่ียวกับ ธรรมชาติของคล่ืนเสียง คุณสมบัติของ คลน่ื เสยี งได้

2. สบื คน้ ขอ้ มูล อภปิ ราย และคานวณสงิ่ ท่เี กีย่ วกับ ความเขม้ เสียง และการไดย้ ินเสียงได้ 3. สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภปิ ราย และคานวณส่ิงที่เกี่ยวกับ เสียงดนตรี บีตส์ และคล่ืนนิ่งของ เสียงได้ 4. สารวจตรวจสอบ อภปิ ราย และคานวณสิง่ ทเี่ กีย่ วกบั ปรากฏการณด์ อปเปลอร์ คลนื่ กระแทก ได้ 5. สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณสิ่งท่ีเก่ยี วกบั สมบตั ิการแทรกสอดของแสงได้ 6. สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณสิ่งท่ีเก่ียวกับสมบัติการเล้ียวเบนเกรตต้ิง และการ กระเจงิ ของแสงได้ 7. ทดลอง วิเคราะห์ อภิปราย และคานวณสิ่งท่ีเก่ียวกับ การเคลื่อนท่ีและการสะท้อนของแสงได้ 8. ทดลอง วเิ คราะห์ อภิปราย และคานวณสิง่ ที่เกี่ยวกบั การหกั เหของแสงได้ 9. ทดลอง วิเคราะห์ อภิปราย และคานวณสิง่ ที่เกีย่ วกับ เลนส์บาง และปรากฏการณ์ของแสงได้ 10. สารวจตรวจสอบ วเิ คราะห์ อภปิ รายเก่ียวกบั ทัศนอปุ กรณ์ ความสว่าง และการถนอมสายตา ได้ รวมทั้งหมด 10 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภิบาล หนา้ 66

คาอธิบายรายวชิ า

รายวิชา ฟิสิกส์ 5 รหสั วิชา ว30205 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 80 ชว่ั โมง จานวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ คานวณ และอธิบายเก่ียวกับ แรงกระทาระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟูา ศักย์ไฟฟูา สนามไฟฟาู งานในการเคล่ือนประจุ การต่อวงจรไฟฟูากระแสตรง ตัวต้านทาน วงจรไฟฟูาแบบ ต่าง ๆคานวณหากระแสไฟฟูาตามกฎของโอห์มและเคอร์ชอฟฟ์ อภิปราย คานวณแรงในสนามแม่เหล็ก เม่ือมีอนุภาคเข้าไปในสนามแม่เหล็กโมเมนต์ของลวดที่มีกระแสไฟฟูาผ่าน ชนิดสนามแม่เหล็ก หม้อแปลง ไฟฟูา มอเตอร์ ไดนาโม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอภปิ รายและการทดลอง

เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายแรงระหวา่ งอนภุ าคทีม่ ีประจุ และนาปรมิ าณทเ่ี ก่ียวข้องไปแก้ปญั หาได้ 2. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายสนามไฟฟาู และนาปริมาณทีเ่ กยี่ วข้องไปแกป้ ญั หาได้ 3. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ ายศกั ยไ์ ฟฟูา และนาปรมิ าณทเ่ี ก่ียวขอ้ งไปแก้ปญั หาได้ 4. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย ตวั เกบ็ ประจุ ความจุไฟฟูา และนาปรมิ าณทเี่ ก่ียวข้องไปแก้ปญั หาได้ 5. สืบค้นข้อมูล อธิบายการเคล่ือนท่ีของประจุไฟฟูาผ่านตัวกลาง และนาปริมาณที่เกี่ยวข้องไป

แก้ปญั หาได้ 6. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ ายกฎของโอห์ม กฎของเคอร์ชอฟฟ์ และนาไปแกป้ ญั หาได้ 7. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายแรงเคลื่อน ไฟฟูาซ่ึงเป็นงานต่อหนึ่งหน่วยประจุ และนาปริมาณท่ีเก่ียวข้อง

ไปแกป้ ญั หาได้ 8. สบื ค้นข้อมลู อธบิ ายวงจรไฟฟูาอยา่ งง่าย วงจรวที สโตนบรดิ ส์ และนาไปแก้ปัญหาได้ 9. สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ อธิบายแรงกระทาต่ออนุภาค ในสนามแม่เหล็ก และนาปริมาณท่ี

เก่ียวขอ้ งไปแก้ปญั หาได้ 10. สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ อธิบายโมเมนต์ของแรงคู่ควบต่อลวดตัวนา ในบริเวณท่ีมี

สนามแม่เหลก็ มอเตอร์ ไดนาโม และนาปริมาณท่ีเกย่ี วขอ้ งไปแก้ปัญหาได้ 11. สืบค้นขอ้ มลู อธบิ ายแรงเคลอื่ นไฟฟาู เหนย่ี วนา และนาปริมาณที่เกยี่ วข้องไปแกป้ ัญหาได้ 12. สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ อธิบายหลักการทางานของหม้อแปลงไฟฟูาซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้

เปล่ยี นความต่างศกั ยไ์ ฟฟูากระแสสลับ และนาปรมิ าณทเ่ี ก่ยี วข้องไปแก้ปัญหาได้ รวมท้ังหมด 12 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภบิ าล หน้า 67

คาอธิบายรายวชิ า

รายวิชา ฟสิ ิกส์ 6 รหัสวิชา ว30206 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 80 ช่วั โมง จานวน 2.0 หน่วยกติ

ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ คานวณ และอธิบาย เก่ียวกับ สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟูา ประโยชน์ และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา โครงสร้างของสสาร แรงนิวเคลียร์ และพลังงานยึดเหนี่ยวระหว่า ง อนภุ าค การเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (ฟิวชันและฟิชชัน) ผลของกัมมันตรังสีต่อส่ิงมีชีวิต และสิง่ แวดล้อม

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอภปิ รายและการทดลอง

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตดั สินใจ นาความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสมการ วดั ผลประเมินผลที่หลากหลายตามสภาพจริงของเนือ้ หา และทกั ษะกระบวนการทีต่ ้องการ

ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายเก่ยี วกบั ไฟฟูากระแสสลับ ความตา่ งศักย์ไฟฟูา และกระแสไฟฟูาแปรค่าตามเวลาเป็นรูป

ไซน์ 2. อธบิ ายและคานวณคา่ กระแสไฟฟาู นาไปใช้นิยมกาหนดเปน็ ค่ายังผลและค่ารากท่ีสองกาลังเฉลี่ย

และปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง 3. อธิบายและเขียนแผนภาพ Phasor เก่ียวกับวงจรไฟฟูากระแสสลับเบื้องต้นที่ประกอบด้วยตัว

ต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนา ซึ่งมีคุณสมบัติ ให้กระแสไฟฟูาและความต่าง ศักย์ไฟฟูาคร่อม อปุ กรณ์มีคา่ ต่างกนั

4. นาเสนอขอ้ มลู ทดลอง และอธิบายวงจรอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น เกี่ยวกับตรรกะ การควบคุมการ ขยายสัญญาณ ซึ่งให้ใช้ออกแบบสร้างวงจรเพื่อนาไปใช้งานและหลักการเบื้องต้นของอิเล็กทรอนิกส์ใน คอมพวิ เตอร์

5. อธิบายเก่ียวกับการเกดิ คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟูาซึ่งเกดิ จากประจุไฟฟูาเคลื่อนทีด่ ้วยความเร่ง 6. อธิบายเกี่ยวกับองค์ประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา ซ่ึงประกอบด้วยสนามไฟฟูา และ สนามแม่เหล็กท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลาในระนาบท่ีตั้งฉากกัน และสนามท้ังสองตั้งฉากกับทิศการแผ่คลื่น แมเ่ หลก็ ไฟฟาู 7. การนาเสนอขอ้ มลู และอธบิ าย สมบัติของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟูา ซึ่งสามารถผ่านสูญญากาศได้ และ มอี ัตราเร็วในสุญญากาศกับความเร็วแสง คลื่นแม่เหล็กไฟฟูา มีความถี่ต่าต่าง ๆ กันเรียกว่า สเปกตรัมคลื่น แมเ่ หลก็ ไฟฟาู

หลักสตู รสถานศกึ ษา ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หนา้ 68

8. อธิบายเกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม โครงสร้างอะตอม และหาค่าประจุไฟฟูา และมวล อิเลก็ ตรอนจากการทดลองของทอมสนั และการทดลองของ มิลลิแกน คานวณหาประจุต่อ มวล (q/m) จาก การทดลองของ เจเจ ทอมสัน การหาค่าประจไุ ฟฟาู ของอิเล็กตรอนจากการทดลองของมลิ ลิแกน

9. อธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอเิ ลกตริก เพ่ือสนับสนนุ วา่ แสงมพี ลงั งานเป็นควอนตัม 10. อธิบายปรากฏการณ์คอมป์ตันเพ่ือสนับสนุนว่าคล่ืนแม่เหล็กไฟฟูาแสดงคุณสมบัติเป็นคล่ืนได้ และคานวณหาปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 11. อธิบายการเกดิ รงั สีเอกซ์ ซ่ึงสนับสนุนว่าแสงมีพลังงานเป็นควอนตัม คานวณหาปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง 12. อธิบายบททวภิ าคของคลน่ื และอนภุ าค ซึง่ แสดงสมบัติของอนุภาคได้ และอนุภาคแสดง สมบัติ ของคล่ืนได้ 13. อธิบายเก่ียวกับทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนตามแนวความคิดของโบร์ การชนกันระหว่าง อิเล็กตรอน กับอะตอม ของไอปรอทและสเปกตรัมของก๊าซร้อนอะตอมของก๊าซจะดูดหรือคายพลังงาน เฉพาะค่า 14. อธิบายโครงสร้างอะตอม ตามทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม บอกถึงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนใน ลกั ษณะความหนาแนน่ ของกลุม่ หมอก 15. อธิบายการสร้างแสงเลเซอรแ์ ละการนาไปใชป้ ระโยชน์ 16. วเิ คราะห์คุณสมบัติทีส่ าคญั ของรงั สีแอลฟา บตี า แกมมา ใน สนามแม่เหล็กได้ 17. อธบิ ายมวลพร่อง และพลังงานยดึ เหนี่ยวของนวิ เคลียส คานวณหาปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง 18. อธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของนิวเคลียสและ ระดับ พลังงาน ปฏิกิริยาฟวิ ชนั่ และปฏกิ ิริยาฟิชชั่น 19. อธบิ ายปฏกิ ิรยิ านิวเคลยี รท์ ใ่ี ช้ ผลติ ไอโซโทป กัมมันตภาพรังสี และพลังงานนิวเคลียร์และการ นาไปใช้

รวมทั้งหมด 19 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภิบาล หน้า 69

คาอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร ฟอรด โบรและ แบบกลุมหมอก เขียนและแปลความหมายสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ ศึกษาอนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป ศึกษา ทดลองเก่ียวกับสีของเปลวไฟจากสารประกอบและเส นสเปกตรัม ของธาตุบางชนิด ศึกษาและเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ศึกษาความหมายของระดับพลังงาน ของอิเล็กตรอน ออรบทิ ัล เวเลนซอเิ ลก็ ตรอน ศกึ ษาวเิ คราะหการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุของนักวิทยาศาสตร แนวโนมสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมูและตามคาบ ศึกษาคานวณและเปรียบเทียบ เลข ออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบและไอออนศึกษาวิเคราะห แรงยึดเหนี่ยวระหว างอนุภาคหรือพันธะเคมี ของสาร กฎออกเตต การเกิดพันธะและชนิดของพันธะโคเวเลนต สตู ร การเรียกชื่อ และโครงสรางสารประกอบ โคเวเลนต ความยาวพันธะพลังงานพันธะ การคานวณหาพลังงานพันธะและพลังงานท่ีเปล่ียนแปลงของ ปฏิกิริยา แนวคิดเกี่ยวกับเรโซแนนซ รูปรางของโมเลกุลและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต แรงยึดเหนี่ยว ระหวางโมเลกุลโคเวเลนต สารโครงผลึกรางตาขาย สมบัติบางประการของสารโคเวเลนต การเกิดพันธะไอ ออนกิ โครงสรางของสารประกอบไอออนิก สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก ศึกษาการเปล่ียนแปลง พลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก ทดลองเพื่อศึกษาสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก ศึกษาเก่ียวกับพันธะโลหะ ศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบสมบัติของ สารประกอบของธาตุตามหมูและตามคาบเกี่ยวกับจุดหลอมเหลว จุดเดือด ความเป น กรด-เบสของ สารประกอบคลอไรดและออกไซด การละลายน้าและเลขออกซิเดชัน ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับปฏิกิริยาของ ธาตุ และการละลายน้าของสารประกอบบางชนิดของธาตุหมู IA และ IIA ศึกษาตาแหนงของธาตุไฮโดรเจนใน ตารางธาตุทดลองเพ่ือศึกษาสมบัติของธาตุแทรนซิชันและฝกคานวณหาเลขออกซิเดชัน ทดลองเตรียม สารประกอบเชิงซ อนของธาตุแทรนซิชันเพ่ือศึกษาการเปลี่ยนสีของสารประกอบเชิงซ อนของธาตุแทรนซิชัน ศึกษาสมบัติของธาตุกงึ่ โลหะธาตกุ มั มันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสี การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ศึกษา และคานวณครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร การตรวจสอบสารกัมมันตรังสี และ เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของกับการใชสารกัมมันตรังสี ธาตุและสารประกอบบางชนิดในส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอมเพื่อ ใหมีความรูความเขาใจเกย่ี วกบั สมบตั แิ ละความสัมพันธระหวางสมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ และพนั ธะเคมี

ใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ สามารถ นาความรูและหลักการไปใชประโยชน เช่ือมโยง อธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจาวัน สามารถ จัดกระทาและวิเคราะหขอมูล ส่อื สารสิง่ ท่ีเรยี นรูมคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจแกปญหา

มีจติ วทิ ยาศาสตร เห็นคณุ คาของวทิ ยาศาสตร มจี รยิ ธรรม คุณธรรมและคานยิ มที่เหมาะสม

หลกั สตู รสถานศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภบิ าล หน้า 70

ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองท่ีเป็นประจักษ์พยานในการเสนอ

แบบจาลองอะตอมของนกั วิทยาศาสตร์และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม 2. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม

จากสัญลักษณน์ วิ เคลียรร์ วมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป 3. อธบิ าย และเขยี นการจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในระดับพลังงานหลกั และระดบั พลังงานย่อยเมื่อทราบเลข

อะตอมของธาตุ 4. ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันใน

ตารางธาตุ 5. วิเคราะห์และบอกแนวโนม้ สมบัตขิ องธาตุเรพรีเซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบ 6. บอกสมบัตขิ องธาตุโลหะแทรนซชิ ันและเปรยี บเทยี บสมบตั ิกบั ธาตโุ ลหะในกล่มุ ธาตุ เรพรเี ซนเททฟี 7. อธบิ ายสมบัตแิ ละคานวณครงึ่ ชีวติ ของไอโซโทปกัมมันตรงั สี 8. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนาธาตุมาใช้ประโยชน์รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและ

ส่ิงแวดลอ้ ม 9. อธบิ ายการเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรือสัญลักษณ์แบบจุดของ ลิว

อิส 10. เขยี นสูตร และเรยี กช่อื สารประกอบไอออนิก 11. คานวณพลงั งานท่เี กยี่ วข้องกับปฏกิ ิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวฏั จกั รบอรน์ -ฮาเบอร์ 12. อธบิ ายสมบัติของสารประกอบไอออนิก 13. เขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบไอออนิก 14. อธบิ ายการเกดิ พันธะโคเวเลนต์แบบพนั ธะเดย่ี วพนั ธะคแู่ ละพันธะสาม ดว้ ยโครงสรา้ งลวิ อิส 15. เขยี นสูตร และเรยี กช่ือสารโคเวเลนต์ 16. วิเคราะห์และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์รวมท้ังคานวณ

พลังงานท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ปฏิกิรยิ าของสารโคเวเลนตจ์ ากพลังงานพันธะ 17. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์และ

ระบุสภาพขั้วของโมเลกลุ โคเวเลนต์ 18. ระบุชนิดของแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์และเปรียบเทียบจุดหลอมเหลวจุดเดือด

และการละลายของสารโคเวเลนต์ 19. สืบค้นข้อมูล และอธบิ ายสมบตั ขิ องสารโคเวเลนต์โครงรา่ งตาข่ายชนิดตา่ ง ๆ 20. อธิบายการเกิดพันธะโลหะและสมบตั ขิ องโลหะ 21. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์และโลหะ สืบค้นข้อมูล

และนาเสนอตวั อยา่ งการใช้ประโยชนข์ องสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะ ได้อย่างเหมาะสม

รวมทั้งหมด 21 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษา ช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภิบาล หน้า 71

รายวชิ า เคมี 2 คาอธิบายรายวิชา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 จานวน 1.5 หน่วยกิต รหัสวิชา ว30222 เวลา 60 ชั่วโมง

ศึกษาและคานวณเกี่ยวกับมวลอะตอมของธาตุ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ มวลโมเลกุลของสาร ความสัมพันธ ระหวางจานวนโมล อนุภาค มวลและปริมาตรของแก สท่ี STP ศึกษาหนวยและการคานวณความเขมขนของสารละลาย ศึกษาและทดลองเตรียมสารละลาย ศึกษาทดลอง และเปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย ศึกษาความหมายและเขียนสูตร โมเลกุล สูตรเอมพิริคัลหรือสูตรอย างง าย และสูตรโครงสร าง การคานวณหามวลเป นร อยละ จากสูตรการคานวณหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุลของสาร ศึกษาการเขียนและดุลสมการเคมี ทดลอง และคานวณหาอัตาสวนจานวนโมลของสารตั้งตนที่ทาปฏิกิริยาพอดีกัน ศึกษาสมบัติของระบบปดและ ระบบเปด ศึกษาและฝกคานวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีที่เปนไปตามกฎทรงมวล กฎสัดสวนคงที่ ศึกษา ทดลองและคานวณปริมาตรของแกสในปฏิกิริยาเคมีตามกฎของเกย-ลูสแซก และกฎของอาโวกาโดรศึกษา และฝกคานวณหาความสัมพันธระหวางปริมาณของสารในสมการเคมีนั้นๆ และสมการเคมีที่เกี่ยวของ มากกวาหนึ่งสมการ สารกาหนดปรมิ าณ ผลไดรอยละ

ใช การเรียนรู ด วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูและหลกั การไปใชประโยชนเชอื่ มโยงอธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจาวัน สามารถ จดั กระทาและวเิ คราะหขอมลู ส่ือสารสง่ิ ทเี่ รียนรูมคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ แกปญหา

มีจติ วทิ ยาศาสตร เหน็ คุณคาของวิทยาศาสตร มจี รยิ ธรรม คุณธรรมและคานยิ มทเี่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้

1. แปลความหมายสัญลกั ษณใ์ นสมการเคมเี ขยี นและดลุ สมการเคมขี องปฏิกิรยิ าเคมบี างชนิด

2. คานวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมที เ่ี ก่ยี วขอ้ งกับมวลสาร

3. คานวณปริมาณของสารในปฏิกริ ิยาเคมที ี่เกย่ี วขอ้ งกับความเข้มข้นของสารละลาย

4. คานวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ิริยาเคมีที่เกีย่ วขอ้ งกับปริมาตรแกส๊

5. คานวณปริมาณของสารในปฏิกิรยิ าเคมหี ลายขน้ั ตอน

6. ระบุสารกาหนดปริมาณ และคานวณปรมิ าณสารตา่ ง ๆ ในปฏกิ ริ ยิ าเคมี

7. คานวณผลไดร้ อ้ ยละของผลติ ภณั ฑใ์ นปฏิกริ ยิ าเคมี

8. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทาปฏิบัติการ เคมีเพ่ือให้มคี วามปลอดภยั ทง้ั ตอ่ ตนเอง ผู้อน่ื และสิง่ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแก้ไขเมอ่ื เกดิ อบุ ตั ิเหตุ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภบิ าล หนา้ 72

9. เลอื ก และใชอ้ ปุ กรณ์หรือเคร่ืองมอื ในการทาปฏบิ ัติการ และวัดปรมิ าณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

10. นาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง

11. ระบหุ น่วยวดั ปรมิ าณต่าง ๆ ของสาร และเปลย่ี นหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการ ใชแ้ ฟกเตอร์เปล่ยี นหนว่ ย

12. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุและคานวณมวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ มวลโมเลกุล และมวลสตู ร

13. อธบิ าย และคานวณปริมาณใดปริมาณหน่งึ จากความสัมพันธ์ของโมล จานวนอนุภาค มวลและ ปริมาตรของแก๊สที่ STP

14. คานวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสดั สว่ นคงที่

15. คานวณสตู รอยา่ งงา่ ยและสูตรโมเลกุลของสาร

16. คานวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยตา่ ง ๆ

17. อธิบายวิธกี าร และเตรยี มสารละลายใหม้ ีความเขม้ ข้นในหนว่ ยโมลาริตีและปริมาตรสารละลาย ตามทก่ี าหนด

18. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกับสารบริสุทธ์ิรวมท้ังคานวณจุดเดือด และจุดเยือกแขง็ ของสารละลาย

รวมทง้ั หมด 18 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภิบาล หนา้ 73

คาอธบิ ายรายวชิ า

รายวิชา เคมี 3 รหัสวิชา ว30223 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาสมบัติและการจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง ทดลองเตรียมผลึกสาร และศึกษาชนิดของผลึก การเปล่ียนสถานะของของแข็ง การหลอมเหลว การระเหิด ศึกษาวิเคราะห สมบัติของของเหลวเก่ียวกับ ความตึงผิว การระเหย ความดันไอ ศึกษาและทดลองเก่ียวกับความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว ความสัมพันธระหวางความดันไอของของเหลวตางชนิด และผลของอุณหภูมิตอความดันไอ ศึกษาเก่ียวกับ สมบัติบางประการของแกส ทฤษฎีจลนของแกส ศึกษาและทดลองเก่ียวกับความสัมพันธของความดัน อุณหภูมิและปริมาตรของแกส และคานวณหาปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแกสโดยใชกฎของบอยล กฎของ ชารล กฎรวมแกส ศึกษาและคานวณความดัน ปริมาตร จานวนโมล มวลและอุณหภูมิของแกส ตามกฎ แกสสมบูรณ ศึกษาทดลองการแพรและอัตราการแพรของแกส การคานวณเก่ียวกับกฎการแพร่ ผานของเกรแฮม ศึกษาเทคโนโลยีทเี่ ก่ยี วของกับสมบัติของของแข็ง ของเหลวและแกสเพ่ือใหมีความรูความ เขาใจเก่ียวกับสมบัติของของแข็งของเหลวและแกส และการคานวณเก่ียวกับผลผลิตของปฏิกิริยาเคมี ศึกษาความหมายของอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี ทดลองเพอ่ื ศกึ ษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีการคานวณหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารจากกราฟ ศึกษาและวิเคราะหแนวคิดเก่ียวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช ทฤษฎีจลนและการชนกันของอนุภาค การเกิดสารเชิงซอนกัมมันต พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา เคมี ศึกษาและทดลองเก่ียวกับผลของความเขมขน พ้ืนที่ผิว อุณหภูมิตัวเรงปฏิกิริยาและตัวหนวงปฏิกิริยา ตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมบัติของตัวเรงปฏิกิริยาและการใชทฤษฎีจลนอธิบายผลของปัจจัยต่างๆ ที่มีตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีศึกษาปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดข้ึนอยางสมบูรณ การเกิดปฏิกิริยาไปขางหนา ปฏิกิริยายอนกลับและปฏิกิริยาท่ีผันกลับได ทดลองเก่ียวกับปฏิกิริยาท่ีผันกลับได ศึกษาการเปล่ียนแปลงที่ ทาใหเกิดภาวะสมดุลระหวางสถานะ สมดุลในสารละลายอ่ิมตัว สมดุลไดนามิก ศึกษาและทดลองสมดุลเคมี ในปฏิกิริยาวิเคราะหความสัมพันธระหวางความเขมขนของสารตางๆ ณ ภาวะสมดุล คาคงที่สมดุลกับ สมการเคมคี านวณหาคาคงท่ขี องสมดุลและหาความเขมขนของสารในปฏิกิริยา ณ ภาวะสมดุล ทดลองเพ่ือ ศกึ ษาผลของความเขมขน ความดนั อุณหภูมติ อภาวะสมดุลและคาคงท่ีสมดุล หลักของเลอชาเตอลิเอและ การนาหลักของเลอชาเตอลิเอไปใชในกระบวนการอุตสาหกรรม กระบวนการตางๆ ของสิ่งมีชีวิตและส่ิง แวดลอมศกึ ษาและทดลองสมบตั บิ างประการของสารละลายอเิ ลก็ โทรไลตและสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต ประเภทของสารละลายอิเลก็ โทรไลต

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหารู้ การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูและหลกั การไปใชประโยชนเชอื่ มโยงอธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจาวัน สามารถจัดกระทาและวเิ คราะหขอมลู ส่อื สารสิ่งทเ่ี รียนรูมีความสามารถในการตดั สินใจแกปญหา

มจี ิตวทิ ยาศาสตร เหน็ คณุ คาของวิทยาศาสตร มจี ริยธรรม คณุ ธรรมและคานิยมท่เี หมาะสม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภิบาล หนา้ 74

ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายความสัมพันธ์และคานวณปริมาตรความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆตาม

กฎของบอยล์กฎของชารล์ กฎของเกย-์ ลสู แซก 2. คานวณปริมาตร ความดนั หรืออณุ หภมู ขิ องแกส๊ ที่ภาวะตา่ ง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส 3. คานวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิจานวนโมลหรือมวลของแก๊ส จากความสัมพันธ์ตามกฎของ

อาโวกาโดร และกฎแกส๊ อดุ มคติ 4. คานวณความดนั ย่อยหรอื จานวนโมลของแก๊สในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตัน 5. อธิบายการแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส คานวณและเปรียบเทียบอัตราการแพร่ของ

แก๊ส โดยใช้กฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม 6. สืบค้นข้อมูล นาเสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เก่ียวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ

ของแก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์หรือแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวันและในอุตสาหกรรม 7. ทดลอง และเขียนกราฟการเพิม่ ขึ้นหรอื ลดลงของสารที่ทาการวดั ในปฏกิ ิริยา 8. คานวณอัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีและเขยี นกราฟการลดลงหรือเพม่ิ ขน้ึ ของสารท่ไี ม่ได้วดั ในปฏิกริ ยิ า 9. เขียนแผนภาพ และอธิบายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลังงานที่ส่งผลต่ออัตรา

การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 10. ทดลอง และอธิบายผลของความเข้มขน้ พ้นื ที่ผวิ ของสารตัง้ ตน้ อุณหภูมิและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มี

ต่ออตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 11. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเม่ือมีการเปล่ียนแปลงความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสารต้ังต้น

อณุ หภูมแิ ละตัวเรง่ ปฏกิ ิรยิ า 12. ยกตวั อยา่ ง และอธบิ ายปจั จัยท่มี ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีในชีวิตประจาวันหรืออตุ สาหกรรม 13. ทดสอบ และอธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับไดแ้ ละภาวะสมดลุ 14. อธิบายการเปล่ียนแปลงความเข้มข้นของสารอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการ

เกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ เมอื่ เรม่ิ ปฏกิ ริ ยิ าจนกระทัง่ ระบบอย่ใู นภาวะสมดุล 15. คานวณค่าคงทีส่ มดุลของปฏิกริ ิยา 16. คานวณความเขม้ ข้นของสารท่ีภาวะสมดุล 17. คานวณค่าคงทสี่ มดุลหรอื ความเข้มขน้ ของปฏิกริ ิยาหลายขนั้ ตอน 18. ระบุปจั จัยท่ีมีผลตอ่ ภาวะสมดลุ และค่าคงที่สมดุลของระบบ รวมทั้งคาดคะเนการเปลี่ยนแปลง

ทเ่ี กิดขึน้ เมือ่ ภาวะสมดลุ ของระบบถูกรบกวน โดยใช้หลกั ของเลอชาเตอลิเอ 19. ยกตัวอย่าง และอธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์ใน

ธรรมชาตแิ ละกระบวนการในอุตสาหกรรม

รวมทั้งหมด 19 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภิบาล หนา้ 75

รายวชิ า เคมี 4 คาอธิบายรายวชิ า ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 1.5 หน่วยกติ รหัสวิชา ว30224 เวลา 60 ช่ัวโมง

ศึกษาไอออนในสารละลายกรดและเบส ทฤษฎีกรด-เบสของอารเรเนียส เบรินสเตด–ลาวรีและลิว อสิ ศกึ ษาและทดลองเก่ียวกับการถายโอนโปรตอนของสารละลายกรด-เบส ศึกษาคูกรด–เบส การคานวณ และการเขียนสมการการแตกตัวของกรด-เบส การคานวณคาคงที่การแตกตัวเปนไอออนของกรดออนและ เบสออน ศึกษาและทดลองการแตกตัวเปนไอออนของน้า การคานวณคาคงที่การแตกตัวของน้า pH ของ สารละลายและการคานวณคา pH อินดิเคเตอรสาหรับกรด-เบสสารละลายกรด-เบสในชีวิตประจาวันและ ในส่ิงมีชีวิต ศึกษาและทดลองเรื่องปฏิกิริยาสะเทินและปฏิกิริยาการเกิดเกลือจากปฏิกิริยาระหว าง สารละลายกรดกับสารละลายเบส ปฏิกิรยิ าไฮโดรลิซิสของเกลือ ศึกษาเกี่ยวกับการไทเทรตสารละลายกรด- เบส การเขียนกราฟและการหาจุดสมมูลจากกราฟของการไทเทรตและคานวณหาความเข มขนของ สารละลายกรด-เบส ศึกษาหลักการเลือกใชอินดิเคเตอรสาหรับไทเทรตกรด-เบส การประยุกตความรูเรื่อง การไทเทรตไปใชในชีวิตประจาวัน ศึกษา และทดลองสมบัติความเปนบัพเฟอรของสารละลายเพื่อใหมี ความรูความเขาใจเกี่ยวกับอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมดลุ เคมใี นสงิ่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอม และสารละลาย กรด-เบส ศกึ ษาทดลองการ ถายโอนอิเลก็ ตรอน ในปฏกิ ริ ยิ าระหวางโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน ศึกษาปฏิกิรยิ าออกซเิ ดชนั ปฏิกริ ิยารีดกั ชนั ปฏกิ ิริยา รดี อกซตัวรดี วิ ซ ตวั ออกซิไดซการเขียนและดุลสมการ รีดอกซโดยใชเลขออกซิเดชันและคร่งึ ปฏกิ ิริยา ศึกษาเซลลไฟฟาเคมี ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับหลักการของ เซลลกัลวานิก ศึกษาการเขียนแผนภาพของ เซลลกัลวานิก การหาคาศักยไฟฟาของเซลลและศักยไฟฟา มาตรฐานของคร่ึงเซลล ปฏิกิริยาในเซลลกัลวานิกประเภทเซลลปฐมภูมิและเซลลทุติยภูมิบางชนิด ทดลอง เพื่อศึกษาหลักการสรางและการทางานของเซลลสะสมไฟฟาแบบตะก่ัว ศึกษาหลักการของเซลลอิเล็กโทร ไลตและทดลองการแยกสารละลายดวยไฟฟา ตามหลักการของเซลลอิเล็กโทรไลต ศึกษาการแยกสารที่ หลอมเหลวดวยไฟฟา ศึกษาและทดลองชุบโลหะ ดวยกระแสไฟฟา ศึกษาวิธีการทาใหโลหะบริสุทธิ์การ ถลุงแร ศึกษาและทดลองเก่ียวกับการผุกรอนและ การปองกันการผุกรอนของโลหะ ศึกษาความกาวหนา ทางเทคโนโลยีท่เี กี่ยวของกับเซลลไฟฟาเคมี

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรูการสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูและหลกั การไปใชประโยชนเชอ่ื มโยงอธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจาวัน สามารถจัดกระทาและวิเคราะหขอมลู สอื่ สารสง่ิ ทเี่ รียนรูมคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ แกปญหา

มจี ิตวิทยาศาสตร เหน็ คณุ คาของวทิ ยาศาสตร มีจริยธรรม คณุ ธรรมและคานยิ มท่เี หมาะสม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภบิ าล หนา้ 76

ผลการเรยี นรู้ 1. ระบุและอธิบายว่าสารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียสเบรินสเตด-ลาวรี

และลิวอิส 2. ระบุคูก่ รด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี 3. คานวณ และเปรยี บเทยี บความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส 4. คานวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรด

และเบส 5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการ

สะเทนิ 6. เขียนปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซสิ ของเกลอื และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ 7. ทดลอง และอธิบายหลกั การการไทเทรตและเลอื กใช้อนิ ดิเคเตอร์ท่ีเหมาะสมสาหรับการไทเทรต

กรด-เบส 8. คานวณปรมิ าณสารหรอื ความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต 9. อธบิ ายสมบตั ิองคป์ ระกอบ และประโยชน์ของสารละลายบัฟเฟอร์ 10. สบื คน้ ข้อมลู และนาเสนอตัวอย่างการใชป้ ระโยชนแ์ ละการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับกรด-เบส 11. คานวณเลขออกซิเดชนั และระบปุ ฏิกริ ยิ าที่เป็นปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ 12. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันและระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์รวมท้ังเขียนคร่ึง

ปฏิกริ ิยาออกซเิ ดชนั และครง่ึ ปฏกิ ิริยารีดักชนั ของปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ 13. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์และเขียนแสดง

ปฏิกิริยารีดอกซ์ 14. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใชเ้ ลขออกซิเดชันและวิธีครึ่งปฏกิ ิรยิ า 15. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟูา และเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาท่ีแอโนดและแคโทด

ปฏิกริ ิยารวม และแผนภาพเซลล์ 16. คานวณค่าศักย์ไฟฟูามาตรฐานของเซลล์และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟูา ขั้วไฟฟูาและ

ปฏิกริ ยิ าเคมีที่เกดิ ขึน้ 17. อธิบายหลกั การทางาน และเขียนสมการแสดงปฏิกริ ิยาของเซลลป์ ฐมภมู ิและเซลล์ทุตยิ ภมู ิ 18. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟูา และอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟูาท่ีใช้ใน

การชุบโลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟูา การทาโลหะให้บริสุทธิ์และการปูองกันการกัดกร่อนของ โลหะ

19. สบื คน้ ข้อมูลและนาเสนอตัวอยา่ งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟูาใน ชีวติ ประจาวัน

รวมท้ังหมด 19 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หน้า 77

รายวิชา เคมี 5 คาอธิบายรายวิชา ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 1.5 หน่วยกติ รหัสวิชา ว30225 เวลา 60 ช่ัวโมง

ศึกษาความหมายของสารประกอบอินทรียและเคมีอินทรีย การเขียนสูตรโครงสรางแบบลิวอิสแบบยอ แบบผสม แบบใชเสนและมุม ศกึ ษาทดลองการเกิดไอโซเมอรของสารประกอบอินทรีย ศึกษาและทดลองเก่ียวกับ หมูอะตอมท่ีแสดงสมบัติเฉพาะหรือหมูฟงกชั่นในโมเลกุลของสาร ศึกษาหมูฟงกช่ัน การจาแนกประเภทของ สารประกอบอินทรีย ศึกษาโครงสราง การเขียนสูตร การเรียกช่ือ แนวโนมของจุดหลอมเหลวและจุดเดือด การ ละลายในน้า ปฏกิ ริ ิยาบางชนิด การนาไปใชประโยชนและอันตรายของสารประกอบอินทรียประเภทแอลเคน แอ ลคนี แอลไคน แอลกอฮอล ฟนอล อีเทอรแอลดีไฮด คีโตนกรดคารบอกซิลิก เอสเทอร เอมีน และเอไมด ศึกษา และทดลองสมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน การเตรียมเอสเทอรจากปฏิกิริยาท่ีเรียกวาเอสเทอ ริฟเคชัน และปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร เพ่ือใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติและปฏิกิริยาของ สารประกอบอินทรีย

โดยใชการเรียนรดู วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การสบื เสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ สามารถ นาความรูและหลักการไปใชประโยชนเช่ือมโยงอธิบายปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจาวัน สามารถจัด กระทาและวิเคราะหขอมูล สือ่ สารส่ิงทีเ่ รียนรูมคี วามสามารถในการตัดสินใจแกปญหา

มีจติ วิทยาศาสตร เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร มีจรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคานยิ มที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้

1. สืบค้นข้อมลู และนาเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะสามท่ีพบใน ชวี ิตประจาวนั

2. เขยี นสูตรโครงสรา้ งลวิ อสิ สูตรโครงสร้างแบบยอ่ และสตู รโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบอินทรยี ์ 3. วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรียจ์ ากหม่ฟู งั กช์ ัน 4. เขยี นสูตรโครงสรา้ งและเรียกชือ่ สารประกอบอนิ ทรียป์ ระเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่ตาม ระบบ IUPAC 5. เขียนไอโซเมอร์โครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ป์ ระเภทต่าง ๆ 6. วิเคราะห์และเปรียบเทยี บจดุ เดอื ดและการละลายในน้าของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาด โมเลกลุ หรอื โครงสรา้ งตา่ งกัน 7. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขยี นผลิตภัณฑจ์ ากปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ปฏิกิริยากับ โบรมีน หรอื ปฏิกิรยิ ากบั โพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนต 8. เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ปฏิกิริยา ไฮโดรลซิ ิสและปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนิฟิเคชัน 9. ทดสอบปฏิกริ ิยาเอสเทอริฟเิ คชนั ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซสิ และปฏกิ ิริยาสะปอนนฟิ ิเคชนั 10. สืบค้นข้อมูล และนาเสนอตัวอย่างการนาสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและ อตุ สาหกรรม รวมทงั้ หมด 10 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภิบาล หน้า 78

คาอธิบายรายวชิ า

รายวิชา เคมี 6 รหัสวิชา ว30226 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาการเกิดและองคประกอบทางเคมีของเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ การสารวจหาแหลง ปโตรเลียม กระบวนการกล่ันน้ามันดิบและแยกแกสธรรมชาติ เลขออกเทน เลขซีเทน อุตสาหกรรมปโตร เคมีและการใชประโยชนของปโตรเคมีภัณฑ ศึกษาประเภทของพอลิเมอรและปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ความสัมพันธระหวางโครงสรางกบั สมบตั ิของพอลิเมอร ศึกษาสมบัติของผลิตภัณฑจากพอลิเมอรประเภทต างๆ ศึกษาทดลอง สมบตั ิบางประการของพลาสตกิ ชนดิ ตางๆ และการเตรียมเสนใยก่ึงสังเคราะหจากเสนใย ธรรมชาติ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่นามาใชในการพัฒนาผลิตภัณฑพอลิเมอรสังเคราะหและการนา พอลิเมอร ไปใชประโยชนอยางเหมาะสมและปลอดภัย มลพิษท่ีอาจเกิดขึ้น และแนวทางในการปองกัน ศึกษาธาตุ ที่เปนองคประกอบหลัก โครงสราง ชนิด หนาที่ แหลงท่ีพบ และประโยชนของโปรตีนคารโบไฮ เดรต ลพิ ิด และกรดนิวคลีอิก ศึกษาและทดลองเก่ียวกับการทดสอบโปรตีนในอาหาร ศึกษาสมบัติและการ ทางานของเอนไซมและการเรียกช่ือ ทดลองเพื่อศึกษาสมบัติของเอนไซมและปจจัยบางประการที่มีผล ตอการทางานของเอนไซม ศึกษาและทดลองการแปลงสภาพโปรตนี สมบัติบางประการและปฏิกิริยาเฉพาะ ของคารโบไฮเดรต การละลายของน้ามันและไขมันในตัวทาละลายบางชนิด ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของน้ามัน หรือไขมันซึ่งเปนเอสเทอรดวยสารละลายเบส ศึกษาความกาวหนาของเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของกับสารชีว โมเลกุลเพือ่ ใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับสมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรียเช้ือเพลิงซากดึกดา บรรพและผลติ ภณั ฑสารชวี โมเลกุล

โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรูการสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูและหลักการไปใชประโยชนเช่อื มโยง อธิบายปรากฏการณหรอื แกปญหาในชีวิตประจาวัน มีความสามารถในการจัดกระทาและวิเคราะหขอมูล รวมทั้งสามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถใน การตดั สนิ ใจแกปญหา

มจี ติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรมและคานิยมทเี่ หมาะสม

หลักสตู รสถานศึกษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หน้า 79

ผลการเรยี นรู้

1. ระบปุ ระเภทของปฏิกริ ิยาการเกดิ พอลิเมอร์จากโครงสรา้ งของมอนอเมอรห์ รอื พอลิเมอร์ 2. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์รวมทั้งการ นาไปใชป้ ระโยชน์ 3. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสตกิ และผลติ ภณั ฑย์ าง รวมทง้ั การนาไปใชป้ ระโยชน์ 4. อธิบายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และการสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีต่อสมบัติของ พอลิเมอร์ 5. สืบค้นข้อมูล และนาเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการกาจัดผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์และ แนวทางแก้ไข 6. กาหนดปัญหาและนาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ในชวี ติ ประจาวัน การประกอบอาชพี หรอื อตุ สาหกรรม 7. แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและ ความคิดสรา้ งสรรค์เพ่ือแกป้ ญั หาในสถานการณห์ รือประเด็นทส่ี นใจ 8. นาเสนอผลงานหรือชิ้นงานท่ีได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นท่ีสนใจโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงาน สิ่งประดษิ ฐ์ในงานนทิ รรศการ

รวมทั้งหมด 9 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 80

คาอธบิ ายรายวิชา

รายวชิ า เคมีพอลิเมอร์ รหัสวิชา ว30227 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาการเกิดและองค์ประกอบทางเคมีของเช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ การสารวจหาแหลง ปโตรเลียม กระบวนการกลั่นน้ามันดิบและแยกแกสธรรมชาติ เลขออกเทน เลขซีเทน อุตสาหกรรมปโตร- เคมีและการใชประโยชนของปโตรเคมีภัณฑ ศึกษาประเภทของพอลิเมอรและปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ความสัมพันธระหวางโครงสรางกับสมบัติของพอลิเมอร ศึกษาสมบัติของผลิตภัณฑจากพอลิเมอรประเภท ตางๆ ศึกษาทดลองสมบัติบางประการของพลาสติกชนิดตางๆ และการเตรียมเสนใยกึ่งสังเคราะหจากเสน ใยธรรมชาติความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่นามาใชในการพัฒนาผลิตภัณฑพอลิเมอรสังเคราะหและการนา พอลิเมอรไปใชประโยชนอยางเหมาะสมและปลอดภัย มลพิษท่ีอาจเกิดขึ้น และแนวทางในการปองกัน ศึกษาธาตุที่เปนองคประกอบหลัก โครงสร าง ชนิด หน าท่ี แหลงที่พบ และประโยชน ของโปรตีน คารโบไฮเดรต ลิพิด และกรดนิวคลีอิก ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับการทดสอบโปรตีนในอาหาร ศึกษา สมบัติและการทางานของเอนไซมและการเรียกช่ือ ทดลองเพื่อศึกษาสมบัติของเอนไซมและปจจัยบาง ประการที่มีผลตอการทางานของเอนไซม

ศึกษาและทดลองการแปลงสภาพโปรตีน สมบัติบางประการ และปฏิกิริยาเฉพาะของคารโบไฮ เดรต การละลายของน้ามันและไขมันในตัวทาละลายบางชนิด ปฏิกิริยา ไฮโดรลิซิสของน้ามันหรือไขมันซ่ึง เปนเอสเทอรดวยสารละลายเบส ศึกษาความกาวหนาของเทคโนโลยีท่ี เก่ียวของกับสารชีวโมเลกุล เพื่อใหมี ความรู ความเข าใจเก่ียวกับสมบัติและปฏิ กิริยาของสารประกอบอินทรีย เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ และ ผลิตภัณฑ์ สารชีวโมเลกุล โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูและหลักการไปใชประโยชนเช่ือมโยง อธิบายปรากฏการณหรือ แกปญหาในชวี ติ ประจาวนั มีความสามารถในการจัดกระทาและวิเคราะหขอมูล รวมท้ังสามารถสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู

มีความสามารถในการตัดสินใจ แกปญหา มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ี เหมาะสมเพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ เหน็ คุณคา่ และมีเจตคติท่ดี ตี ่อวชิ าคณิตศาสตร์ ใฝุเรียนรู้ มุ่งม่ันใน การทางาน มีวนิ ัย และมจี ิตสานึกความรบั ผิดชอบ โดยเหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวม

หลักสตู รสถานศึกษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภิบาล หนา้ 81

ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายองคประกอบทางเคมีของเช้อื เพลิงซากดกึ ดาบรรพ การสารวจหาแหลง ปโตรเลยี ม

กระบวนการกลนั่ น้ามันดิบและแยกแกสธรรมชาติ 2. อธบิ ายความหมายของเลขออกเทนและเลขซีเทนเพ่ือเปรยี บเทยี บคณุ ภาพของนา้ มนั เบนซนิ

และน้ามนั ดเี ซล 3. จาแนกประเภทของพอลิเมอร์และอธิบายกระบวนการเกิดปฏิกิรยิ าพอลิเมอไรเซชนั

4. จาแนกประเภทของผลิตภัณฑพ์ อลเิ มอร์จากธรรมชาตแิ ละพอลเิ มอรส์ งั เคราะห์รวมทั้งระบุการ นาไปใชป้ ระโยชน์

5. ระบธุ าตุทีเ่ ปนองคประกอบหลกั โครงสราง ชนิด หนาท่ี แหลงที่พบ และประโยชนของโปรตีน คารโบไฮเดรต ลิพดิ และกรดนิวคลอี กิ

6. ทดลองเกี่ยวกับการทดสอบโปรตีนในอาหาร ศึกษา สมบัติและการทางานของเอนไซมและการ เรยี กชอ่ื ทดลองเพ่ือศกึ ษาสมบตั ขิ องเอนไซมและปจจยั บาง ประการที่มีผลตอการทางานของเอนไซม์

7. อธิบายและทดลองการแปลงสภาพโปรตีน สมบัติบางประการ และปฏิกิริยาเฉพาะของ คารโบไฮเดรต การละลายของน้ามนั และไขมันในตวั ทาละลายบางชนิด รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภบิ าล หน้า 82

รายวชิ า ชีววิทยา 1 คาอธิบายรายวิชา ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 1.5 หน่วยกิต รหัสวิชา ว30241 เวลา 60 ช่ัวโมง

ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสาคัญของส่ิงมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การนาความรู้เก่ียวกับชีววิทยามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โครงสร้างและหน้าท่ีของสารเคมีท่ีเป็น องคป์ ระกอบในเซลลข์ องส่ิงมีชวี ิต ปฏิกิรยิ าเคมใี นเซลลข์ องสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนประกอบ ของเซลล์ การแพร่ การออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต แอกทีฟทรานสปอร์ต การลาเลียงสารโมเลกุล ใหญ่ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวเิ คราะห์ การทดลอง การอภปิ ราย การอธบิ ายและสรุป

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนา ความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม และจรยิ ธรรม

ผลการเรยี นรู้

1. อธิบายและสรปุ สมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ของการจัดระบบในส่ิงมีชีวิตท่ีทา ให้สงิ่ มชี วี ิตดารงชีวิตอย่ไู ด้

2. อภิปรายและบอกความสาคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และ วธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมท้ังออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน

3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเก่ียวกับสมบัติของน้าและบอกความสาคัญของน้าท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิต และ ยกตวั อยา่ งธาตุต่าง ๆ ที่มีความสาคญั ตอ่ รา่ งกายส่งิ มชี ีวติ

4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มคาร์โบไฮเดรต รวมท้ังความสาคัญ ของคาร์โบไฮเดรตท่มี ีต่อสง่ิ มชี ีวิต

5. สบื คน้ ข้อมูล อธิบายโครงสรา้ งของโปรตีน และความสาคญั ของโปรตีนทีม่ ีต่อส่ิงมชี ีวิต 6. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสรา้ งของลิพิด และความสาคัญของลพิ ดิ ทม่ี ตี อ่ สิ่งมชี วี ิต 7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลีอิก และระบุชนิดของกรดนิวคลีอิกและความสาคัญของกรด นวิ คลอี กิ ทม่ี ตี อ่ สิง่ มชี วี ติ 8. สบื คน้ ข้อมลู และอธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าเคมีท่เี กิดขน้ึ ในสิ่งมชี ีวิต 9. อธิบายการทางานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต และระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อการ ทางานของเอนไซม์ 10. บอกวิธีการและเตรียมตัวอย่างส่ิงมีชีวิตเพ่ือศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัดขนาด โดยประมาณและวาดภาพที่ปรากฏภายใต้กล้อง บอกวิธีการใช้ และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ ถูกต้อง

หลกั สตู รสถานศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 83

11. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องส่วนท่ีห่อหมุ้ เซลลข์ องเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ 12. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบาย และระบชุ นดิ และหนา้ ทีข่ องออรแ์ กเนลล์ 13. อธิบายโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องนวิ เคลียส 14. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต และ แอกทีฟทรานส ปอรต์ 15. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเขียนแผนภาพการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วย กระบวนการเอกโซไซโทซิส และการลาเลียงสารโมเลกุลใหญเ่ ข้าสเู่ ซลลด์ ว้ ยกระบวนการเอนโดไซโทซิส 16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทง้ั อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการแบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส 17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปข้ันตอน การหายใจระดับเซลล์ในภาวะท่ีมีออกซิเจนเพียงพอ และภาวะที่มีออกซเิ จนไม่เพียงพอ

รวมทงั้ หมด 17 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษา ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภบิ าล หนา้ 84

รายวชิ า ชีววิทยา 2 คาอธบิ ายรายวชิ า ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 1.5 หน่วยกติ รหสั วชิ า ว30242 เวลา 60 ช่ัวโมง

ศึกษาเก่ียวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล กฎการแยกและกฎ การรวมกลุ่มอย่างอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล ศึกษาเกี่ยวกับยีน และโครโมโซม การคน้ พบสารพันธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของของดีเอ็นเอ โครงสร้างของดี เอ็นเอ สมบัติของสารพันธุกรรม การกลาย ศึกษาเกี่ยวกับพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ พันธุ วศิ วกรรม การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยที างดเี อน็ เอ ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอ และมุมมองทาง สังคมและจริยธรรม ศึกษาเก่ียวกับวิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต แนวคิด เก่ยี วกบั วิวฒั นาการของสิง่ มีชวี ติ พันธุศาสตรป์ ระชากร และกาเนดิ ของสปชี ีส์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง อภิปราย การอธบิ าย และสรปุ

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนา ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคณุ ธรรม และคา่ นิยม

ผลการเรียนรู้

1. สบื คน้ ขอ้ มลู อธิบายและสรุปผลการ ทดลองของเมนเดลได้ 2. อธิบายและสรปุ กฎแห่งการแยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนากฎของเมนเดลนี้ไป อธบิ ายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและใช้ในการคานวณโอกาสในการเกิดฟีโนไทป์และ จีโนไทป์ แบบต่าง ๆ ของรุ่น F1 และ F2 ได้ 3. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเป็นส่วน ขยายของพันธุศาสตร์เมนเดลได้ 4. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันไม่ต่อเน่ืองและ ลักษณะทางพันธกุ รรมท่มี ีการแปรผนั ต่อเน่ืองได้ 5. อธิบายการถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม และยกตวั อยา่ งลกั ษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมด้วยยีน บนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศได้ 6. สืบค้นข้อมูล อธิบายสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมี ของ DNA และสรุปการจาลอง DNA ได้ 7. อธบิ ายและระบขุ ัน้ ตอนในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีนและหน้าที่ของ DNA และ RNA แต่ละ ชนิดในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีนได้ 9. สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม แอลลีล โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และเชื่อมโยง กับความร้เู รือ่ งพนั ธศุ าสตรเ์ มนเดลได้

หลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หน้า 85

10. สืบค้นข้อมูล และอธิบายการเกิดมิวเทชันระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเท ชัน รวมทั้งยกตวั อยา่ งโรคและกลุม่ อาการท่ีเปน็ ผลของการเกิดมวิ เทชนั ได้

11. อธิบายหลักการสรา้ งส่ิงมชี วี ติ ดดั แปรพนั ธกุ รรมโดยใช้ดีเอ็นเอรีคอมบแิ นนท์ได้ 12. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนาเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกต์ ท้ังในด้าน สง่ิ แวดล้อม นิตวิ ิทยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม และข้อควรคานึงถึงด้านชีวจริยธรรม ได้ 13. สืบคน้ ข้อมูลและอธบิ ายเกยี่ วกบั หลักฐานท่สี นับสนุนและข้อมูลที่ใช้อธิบายการเกิดวิวัฒนาการ ของส่ิงมชี วี ติ ได้ 14. อธิบายและเปรียบเทียบแนวคดิ เก่ยี วกบั วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวิตของฌอง ลามาร์ก และทฤษฎี เกยี่ วกับววิ ัฒนาการของส่ิงมีชวี ิตของชาลส์ ดาร์วนิ ได้ 15. ระบุสาระสาคัญและอธิบายเงื่อนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พร้อมทั้งคานวณหาความถ่ีของแอลลีลและจีโนไทป์ของ ประชากรโดยใชห้ ลกั ของฮารด์ ี-ไวน์เบิร์กได้ 16. สบื คน้ ข้อมลู อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกดิ สปีชีสใ์ หมข่ องสิ่งมีชีวติ ได้

รวมท้งั หมด 16 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภบิ าล หน้า 86

รายวิชา ชีววิทยา 3 คาอธิบายรายวิชา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 1.5 หนว่ ยกิต รหสั วิชา ว30243 เวลา 60 ช่ัวโมง

ศึกษาการดารงชีวิตของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก เน้ือเย่ือพืช อวัยวะและหน้าท่ีของ อวัยวะของพืชจาก ราก ลาต้น และใบ เปรียบเทียบโครงสร้างภายในของพืชใบเลี้ยงเด่ียวและพืชใบเล้ียงคู่ การแลกเปล่ียนแก๊สและการคายน้าของพืช การลาเลียงน้าของพืช การลาเลียงธาตุอาหารของพืช และการ ลา เลียงอาหารของพืช ศึกษากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีต เกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โฟโตเรสไพเรชัน การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 พืช C4 และ พืช CAM ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช รวมท้ังการปรับตัวของพืช ทางด้านโครงสร้างของใบ ทิศทางของใบ และการจัดเรียงใบของพืชเพื่อรับแสง ศึกษาการสืบพันธุ์ของพืช ดอกและการเจริญเติบโต วัฏจักรชีวิตและการสืบพันธุ์แบบสลับของพืชดอก โครงสร้างของดอกและการ สร้างสปอร์ เรณู ถุงเอ็มบริโอ การสร้างเซลล์สืบพันธ์ุและการปฏิสนธิของพืชดอก ผลและเมล็ด การงอก ของเมล็ด การสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธ์พืช รวมทั้งการวัดการเจริญเติบโต ของพชื ศกึ ษาสารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของพชื และการตอบสนองของพืชตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง อภิปราย การอธบิ าย และสรุป

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้และนา ความร้ไู ปใช้ในชีวิตของตนเอง มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรมคณุ ธรรม และค่านยิ ม

ผลการเรยี นรู้

1. อธบิ ายเกยี่ วกบั ชนิดและลักษณะของเนอ้ื เย่ือพืช และเขยี นแผนผงั เพ่ือสรุปชนดิ ของเน้ือเยอ่ื พืช 2. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเด่ียวและรากพืชใบเลี้ยงคู่ จากการตัดตามขวาง 3. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของลา ต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลา ต้นพืชใบ เล้ยี งคจู่ ากการตดั ตามขวาง 4. สงั เกต และอธบิ าย โครงสร้างภายในของใบพชื จากการตดั ตามขวาง 5. สบื ค้นข้อมลู สงั เกต และอธบิ ายการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพชื 6. สืบคน้ ข้อมูลและอธบิ ายกลไกการลาเลยี งน้า และธาตุอาหารของพืช 7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสาคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอย่างธาตุอาหารท่ีสาคัญที่มีผลต่อ การเจรญิ เติบโตของพืช 8. อธบิ ายกลไกการลา เลยี งอาหารในพืช

หลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภิบาล หนา้ 87

9. สืบค้นข้อมูลและสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเก่ียวกับ กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

10. อธบิ ายขั้นตอนที่เกดิ ข้ึนในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช C3 11. เปรยี บเทยี บกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซดใ์ นพชื C3 พืช C4 และ พชื CAM 12. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปปัจจัยความเข้มของแสง ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ และอณุ หภมู ิ ทม่ี ีผลต่อการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช 13. อธิบายวฏั จกั รชีวิตแบบสลับของพชื ดอก 14. อธิบายและเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้และเพศเมียของพืชดอก และ อธบิ ายการปฏิสนธขิ องพืชดอก 15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล และยกตัวอย่าง การใชป้ ระโยชน์จากโครงสร้างต่างๆ ของเมล็ดและผล 16. ทดลอง อธบิ าย และอภปิ รายเก่ยี วกับปจั จัยต่างๆ ท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของ เมลด็ และบอกแนวทางในการแก้สภาพพักตัวของเมลด็ 17. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าท่ีของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และ กรดแอบไซซกิ และอภิปรายเกีย่ วกบั การนา ไปใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร 18. สบื คน้ ขอ้ มูล ทดลอง และอภปิ รายเกย่ี วกับสง่ิ เร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื

รวมทงั้ หมด 18 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หนา้ 88

คาอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า ชีววิทยา 4 รหสั วิชา ว30244 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาโครงสร้างและการทางานของกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การดูดซึม สารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของมนุษย์ การสลายสารอาหารระดับเซลล์เพื่อให้ได้พลังงานในรูปของ ATP ศึกษาโครงสร้างและกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์และมนุษย์ ศึกษาและทดลองการทางาน ของปอดและการหายใจของสัตว์และมนุษย์ ศึกษาโครงสร้างและการทางานของระบบหมุนเวียนเลือดของ สตั ว์และมนุษย์ การทางานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ ศึกษาเซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมา หมูเ่ ลอื ดและหลกั การให้และรับเลอื ดในระบบ ABO และระบบ Rh ศึกษาโครงสร้าง และการทางานของระบบน้าเหลอื ง หลอดนา้ เหลอื ง และตอ่ มน้าเหลอื ง ศึกษาโครงสร้างและการทางานของ ระบบภูมิคุ้มกันความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ศึกษาโครงสร้างและการทางานของระบบขับถ่าย การ กาจัดของเสียออกจากร่างกายของสัตว์และมนุษย์ การทางานของหน่วยไตและความผิดปกติของไตอัน เนื่องมาจากโรคตา่ ง ๆ การนาความรู้ท่ีเปน็ ประโยชน์มาใช้ในการดูแลรักษาสภุ าพของร่างกาย

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง อภิปราย การอธบิ าย และสรุป

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ของตนเอง มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และคา่ นยิ ม

ผลการเรยี นรู้

1. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเปรียบเทยี บเก่ียวกับโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ที่ ไม่มที างเดินอาหารสัตวท์ ่ีมที างเดนิ อาหาร แบบไมส่ มบูรณแ์ ละสัตว์ท่ีมที างเดินอาหารแบบสมบรู ณ์

2. สงั เกต อธิบาย การกินอาหารของ ไฮดรา และพลานาเรีย 3. อธบิ ายเกยี่ วกับโครงสรา้ ง หนา้ ที่ และกระบวนการยอ่ ยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายใน ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 4. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างท่ีทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก 5. สงั เกต และอธิบายโครงสรา้ งของปอดในสัตวเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนา้ นม 6. อธบิ ายโครงสร้างท่ใี ชใ้ นการแลกเปลย่ี นแก๊สและกระบวนการแลกเปลยี่ นแก๊สของมนษุ ย์ 7. อธิบายการทางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์ 8. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือด แบบปิด

หลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภิบาล หน้า 89

9. สังเกตและอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคล่ือนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหางปลา และ สรุปความสัมพนั ธร์ ะหว่างขนาดของหลอดเลือดกบั ความเร็วการไหลของเลือด

10. อธบิ ายโครงสรา้ งและการทางานของหัวใจและหลอดเลอื ดในมนุษย์ 11. สังเกตและอธิบายโครงสร้างหัวใจของสัตว์เล้ียงลูกด้วยน้า นม ทิศทางการไหลของเลือดผ่าน หัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผงั สรุปการหมุนเวยี นเลอื ดของมนุษย์ 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของเซลล์เม็ดเลือดแดงเซลล์เม็ดเลือดขาว เพลตเลต และ พลาสมา 13. อธบิ ายหมูเ่ ลอื ด และหลกั การให้และรบั เลือดในระบบ ABO และระบบ Rh 14. อธิบาย และสรุปเก่ียวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของน้าเหลือง รวมท้ังโครงสร้างและหน้าท่ี ของหลอดนา้ เหลอื ง และตอ่ มน้าเหลอื ง 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือทาลายส่ิงแปลกปลอมแบบไม่ จาเพาะและแบบจาเพาะ 16. สืบค้นขอ้ มลู อธบิ าย และเปรยี บเทียบการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ก่อเองและภมู คิ ุ้มกันรบั มา 17. สบื ค้นข้อมูลและอธิบายเก่ยี วกบั ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทาให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ การ สร้างภมู ติ ้านทานต่อเนอ้ื เย่ือตนเอง 18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าท่ีในการกาจัดของเสียออกจาก รา่ งกายของฟองนา้ ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดือนดนิ แมลง และสตั ว์มีกระดกู สนั หลัง 19. อธบิ ายโครงสร้างและหน้าทขี่ องไต และโครงสรา้ งทีใ่ ชล้ าเลยี งปัสสาวะออกจากร่างกาย 20. อธิบายกลไกการทางานของหน่วยไตในการกาจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียนแผนผัง สรปุ ขน้ั ตอนการกาจัดของเสยี ออกจากรา่ งกายโดยหนว่ ยไต 21. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และยกตัวอย่างเก่ยี วกบั ความผิดปกตขิ องไตอันเน่อื งมาจากโรคต่าง ๆ

รวมทงั้ หมด 21 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษา ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 90

รายวิชา ชีววิทยา 5 คาอธบิ ายรายวชิ า ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 1.5 หน่วยกิต รหัสวิชา ว30245 เวลา 60 ชั่วโมง

ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ และอธิบายการค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล กฎของเมนเดล การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม ยีนและโครโมโซม สารพนั ธกุ รรม มวิ เทชันและผลท่ีเกิด จากมิวเทชัน เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห์DNA และการศึกษาจีโนม การนาเทคโนโลยีชีวภาพไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ หลักฐานสนับสนุนการเกิดวิวัฒนาการและแนวคิด เก่ียวกบั วิวฒั นาการของส่ิงมชี ีวติ พันธศุ าสตร์ประชากร การเปลยี่ นแปลงความถขี่ องแอลลีล กาเนิดของส ปีชีส์ การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรพืช อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรสัตว์ ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยและการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสบื คน้ ข้อมูล การอภปิ ราย สรุป

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. อธิบายการค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล กฎของเมนเดล การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ยีนและโครโมโซม สารพันธุกรรม มิวเทชันและผลท่ีเกิดจากมิวเทชัน เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห์DNA และการศึกษาจีโนม การนา เทคโนโลยีชีวภาพไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ หลักฐานสนับสนุนการเกิดวิวัฒนาการและแนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ประชากร การเปลี่ยนแปลงความถ่ีของแอลลีล กาเนิดของสปีชีส์ การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรพืช อาณาจักร ฟังไจ อาณาจักรสัตว์ ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยและการสูญเสียความหลากหลายทาง ชวี ภาพ

2. สังเกต การสบื ค้นข้อมลู การอภิปราย สรุป เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ 3. สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจติ วิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม

รวมท้ังหมด 3 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภิบาล หน้า 91

รายวชิ า ชีววิทยา 6 คาอธบิ ายรายวชิ า ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 จานวน 1.5 หนว่ ยกติ รหสั วิชา ว30246 เวลา 60 ชว่ั โมง

ศึกษาวิเคราะห์ เก่ียวกับระบบนิเวศ ไบโอม ความหลากหลายของระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน และการหมนุ เวียนสารในระบบนิเวศ การเปล่ียนแปลง แทนท่ี ประชากร ความหนาแน่น การแพร่ ของประชากร ขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มประชากร การรอดชีวิตของประชากร ประชากรมนุษย์ กบั ความย่ังยนื ของส่งิ แวดลอ้ ม ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชนจ์ าก ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจดั การหลักการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุต์ ่างถิน่ ทส่ี ่งผลตอ่ ระบบนเิ วศ

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและ การอภิปราย

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถใน การตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ี เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. ศึกษาวิเคราะห์ เก่ียวกับระบบนิเวศ ไบโอม ความหลากหลายของระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน และการหมุนเวยี นสารในระบบนิเวศ การเปล่ยี นแปลง แทนท่ี ประชากร ความหนาแน่น การแพร่ ของประชากร ขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มประชากร การรอดชีวิตของประชากร ประชากรมนุษย์ กับความยงั่ ยืนของสิง่ แวดล้อม ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชนจ์ าก ทรัพยากรธรรมชาติ ปญั หาและการจดั การหลักการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ ชนดิ พันธ์ตุ า่ งถนิ่ ท่สี ง่ ผลตอ่ ระบบนิเวศ

2. สืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ความ เข้าใจ คดิ อยา่ งมเี หตผุ ล

3. ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม

รวมท้งั หมด 3 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนียนคณาภบิ าล หน้า 92

รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ คาอธิบายรายวิชา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 1.0 หน่วยกิต รหัสวิชา ว30247 เวลา 40 ชว่ั โมง

ศกึ ษาคน้ คว้าสบื ค้นข้อมูล ฝึก ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กาหนดตัวแปรและควบคุมตัว แปร การจักระเบียบข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้กราฟแสดงข้อมูล การแปลข้อมูลและการลงข้อสรุป และกิจกรรมในรูปแบบต่างท่ีเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสารวจ การทดลองสิ่งประดิษฐ์และ ทฤษฎี วิเคราะห์โครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาเอกสารและสารวจธรรมชาติรอบตัวในท้องถิ่น เพ่ือนาไปสู่ การระบปุ ญั หาและหัวเรือ่ งในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการแก้ปัญหา อยา่ งมรี ะบบฝึกทักษะการต้ังปัญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง กาหนดและควบคุมตัวแปร การใช้ เครอื่ งมือพ้นื ฐานทางวิทยาศาสตร์

โดยใช้กระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ การสังเกต เปรียบเทียบ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ บนั ทกึ และอธิบาย การทดลอง นาเสนอ

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนวิทยาศาสตร์ จากประสบการณ์ตรงตามวิธีทางวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ใน ชีวติ ประจาวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และลกั ษณะอันพึงประสงค์

ผลการเรยี นรู้ 1. สบื คน้ ข้อมลู เก่ยี วกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับความหมายและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์และทากิจกรรมใน

รูปแบบตา่ งๆที่เก่ียวกบั โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทตา่ งๆ 3. สืบคน้ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ข้ันตอนการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 4. สบื ค้นขอ้ มลู เกย่ี วกับการคดิ ชื่อโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 5. สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเก่ียวกับการวเิ คราะหโ์ ครงงานวิทยาศาสตร์ จากแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ 6. ตั้งคาถามทีก่ าหนดประเดน็ หรือตัวแปรทส่ี าคญั ในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเร่ืองท่ี

สนใจจากการสารวจธรรมชาตริ อบตวั ไดอ้ ย่างครอบคลุมและเชือ่ ถือได้ 7. สร้างสมมตฐิ านท่สี ามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสารวจตรวจสอบได้หลายๆวิธี 8. เลอื กเทคนคิ วิธีการตรวจสอบ ทั้งเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ท่ีได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดย

ใชว้ ัสดุเครอ่ื งมอื ทีเ่ หมาะสม และรวบรวมข้อมูล จดั กระทาขอ้ มูลเชงิ ปริมาณและคุณภาพ 9. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ท้ังท่ีสนับสนุนหรือขัดแย้ง

สมมติฐาน และความผิดปกตขิ องขอ้ มูลจาการสารวจตรวจสอบ 10. สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการเขียนเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ ออกแบบการทดลอง ทาการ

ทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล อภปิ รายและสรุป รวมทัง้ หมด 10 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภิบาล หน้า 93

คาอธิบายรายวชิ า

รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว30261 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชว่ั โมง

ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก หลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนุนการ เคลือ่ นที่ของแผน่ ธรณี ลกั ษณะการเคล่ือนทขี่ องแผ่นธรณีตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน การลาดับช้ันหินและ ธรณีประวัติ หลักฐานทางธรณีวิทยา การหาอายุเปรียบเทียบ อายุสัมบูรณ์ มาตราธรณีกาล สาเหตุและ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว สึนามิ การทาความเข้าใจธรรมชาติของธรณีพิบัติภัยเพ่ือ เตรยี มพรอ้ มรับสถานการณ์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอภปิ ราย การอธบิ ายและการสรปุ ผล

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีถูกต้อง เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. อธบิ ายการแบง่ ช้นั และสมบัติของโครงสร้างโลก พรอ้ มยกตวั อย่างข้อมูลทีส่ นับสนุนได้

2. อธบิ ายหลักฐานทางธรณวี ทิ ยาท่ีสนับสนุนการเคลอ่ื นทข่ี องแผ่นธรณีได้

3. ระบุสาเหตุและอธิบายรูปแบบการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัญ

ฐานและโครงสร้างแบบต่าง ๆ ได้

4. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิดและปัจจัยที่ทาให้ความรุนแรงของการปะทุและ

รูปร่างของภูเขาไฟแตกต่างกัน รวมท้ังสืบค้นข้อมูลพื้นที่เส่ียงภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝูา

ระวังและการปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภยั ได้

5. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมท้ังสืบค้น

ข้อมูลพื้นท่ีเสย่ี งภยั ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝาู ระวังและการปฏิบัติตนใหป้ ลอดภยั ได้

6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิ รวมท้ังสืบค้นข้อมูลพื้นท่ีเส่ียงภัย ออกแบบ

และนาเสนอแนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยได้

7. วิเคราะห์หลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบในปัจจุบัน และอธิบายลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาใน อดีตได้

รวมท้งั หมด 7 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นท้องเนยี นคณาภิบาล หนา้ 94

คาอธบิ ายรายวชิ า

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2 รหสั วิชา ว30262 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 จานวน 1.5 หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง

ศกึ ษาเกย่ี วกบั การตรวจสอบ การระบุชนดิ ของแรแ่ ละสมบตั ขิ องแร่ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร แรอ่ ย่างเหมาะสม การตรวจสอบและจาแนกประเภทของหิน การระบุช่อื หิน วิเคราะห์สมบัติของหิน การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรหินอย่างเหมาะสม กระบวนการเกิดและการสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน การอ่านและแปลความหมายจากแผนท่ีภูมิประเทศและแผนท่ี ธรณวี ิทยา การประยุกตค์ วามรูเ้ กี่ยวกับแผนทใ่ี นชีวติ ประจาวัน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวเิ คราะห์ การอภปิ ราย การอธบิ าย และการสรปุ ผล

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนมีจติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. ตรวจสอบ และระบุชนิดแร่ รวมทั้งวิเคราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร แร่ท่ีเหมาะสม

2. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบชุ อ่ื หิน รวมทง้ั วิเคราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรหนิ ท่ีเหมาะสม

3. อธิบายกระบวนการเกิด และการสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน โดยใช้ข้อมูลทาง ธรณวี ทิ ยา

4. อธบิ ายสมบตั ขิ องผลิตภัณฑท์ ่ไี ดจ้ ากปโิ ตรเลียมและถ่านหนิ พรอ้ มนาเสนอการใชป้ ระโยชน์อย่าง เหมาะสม

5. อ่านและแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนท่ีธรณีวิทยาของพื้นท่ีที่กาหนด พร้อม ทง้ั อธิบายและยกตวั อยา่ งการนาไปใช้ประโยชน์

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภิบาล หนา้ 95

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนียนคณาภบิ าล หนา้ 96

รายวิชา การเขยี นโปรแกรม คาอธิบายรายวิชา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 1.0 หน่วยกติ รหสั วชิ า ว30287 จานวน 40 ช่วั โมง

ศึกษาหลักการเขียนโปรแกรมเบ้ืองต้นโดยสอดคล้องกับรูปแบบการเขียนด้วยภาษา C การประกาศตวั แปร ศึกษาการต้ังช่ือตวั แปร การกาหนดชนดิ ของตวั แปร ข้อห้ามต่างๆของการประกาศตัว แปรที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C ตัวดาเนินการ ศึกษาการทางานของตัวดาเนินการต่างๆ 1.ตวั ดาเนนิ การกาหนดคา่ 2. ตัวดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์ 3.ตัวดาเนินการค่าผสม 4.ตัวดาเนินการเพิ่มค่า ลดคา่ 5 ตวั ดาเนินการเปรียบเทียบ 6. ตัวดาเนินการตรรกศาสตร์ ซึ่งสมการของตัวดาเนินการต่างๆ ในการ เขียนโปรแกรมจะมีการคิดคานวณที่มีลาดับท่ีแตกต่างจากคณิตศาตร์ท่ัวไปจึงจาเป็นต้องมีการศึกษา กระบวนการและวิธีการในการคานวณของตัวดาเนินการต่างๆให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ สัญลักษณ์ของ Flow chart ศึกษาการทางานของสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา ว่าแต่สัญลักณ์มีการทางานอย่างไร และตรงกบั คาสัง่ ใดในซูโดโค้ดและภาษา C

ปฏิบัติการ วิเคราะห์โจทย์ปัญหา ออกแบบโปรแกรม และเขียนโปรแกรมด้วยคาสั่ง ภาษาคอมพวิ เตอร์

เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา สามารถออกแบบโปรแกรม และเขียนโปรแกรมใชง้ านรวมทง้ั สามารถนาไปประยุกตใ์ ชง้ านได้

ผลการเรียนรู้

1. เข้าใจและสามารถประกาศตวั แปรได้อยา่ งถกู ต้อง 2. ศกึ ษาตัวดาเนนิ การต่างๆ และสามารถเข้าใจในกระบวนการทางานของตัวดาเนนิ การ 3. ศึกษาสัญลักษณ์ของflow chart และเขา้ ในในการทางานของสัญลกั ษณ์ต่างๆ 4. สามารถแก้ปัญหาโจทยอ์ ลั กอริทึ่มโดยผ่านกระบวนการของ flow chart ได้

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นทอ้ งเนยี นคณาภิบาล หน้า 97