หน งส อสำร บ ม.ล.ขว ญท พย เทวก ล

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?

Discussions

หน งส อสำร บ ม.ล.ขว ญท พย เทวก ล

เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

: Longdo provides neither warranty nor responsibility for any damages occured by the use of Longdo services. Longdo makes use of many freely available dictionaries (we are really grateful for this), please refer to their terms and licenses (see Longdo About page).

สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวสั ดิวัดนวิศิษฎ์

20

คือ ๑) พระองคเ์ จา้ อณุ ากรรณอนันตนรไชย ๒) พระองค์เจา้ สุนนั ทากุมารีรตั น์ ๓) พระองค์เจา้ สว่างวฒั นา (สมเดจ็ พระศรีสวรนิ ทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) ๔) พระองคเ์ จ้า เสาวภาผอ่ งศรี (สมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพระพันปีหลวง) และ ๕) พระองค์เจ้าสวัสดโิ สภณ (สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวดั นวิศิษฎ)์ พระขนิษฐา ทัง้ สามพระองคน์ ัน้ ต่อมาได้รบั ราชการเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว โดยแรกเร่ิมทั้งสามพระองค์ได้รบั การยกยอ่ งไวเ้ สมอกนั ในที่พระบรมราชเทวี ตอ่ มา แต่ละพระองค์ได้รับพระอิสริยยศสูงขึ้นจากการมีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอขึ้นเป็นพระภรรยาเจ้าตาม ลาํ ดบั พระชันษาซง่ึ เรียงกันพระองค์ละปี สว่ นพระองคเ์ จ้าสุขุมาลมารศรีทรงเปน็ พระราชธิดาใน พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว พระสยาม เทวมหามกฏุ วิทยมหาราช กับเจ้าจอมมารดาสาํ ลี ธิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพชิ ยั ญาติ พระภรรยาเจ้าทง้ั ๔ พระองค์นี้เมือ่ แรกรับราชการทรงยกย่องไวใ้ นที่เสมอกันทกุ พระองค์ สว่ น พระเกียรติยศที่จะทรงเพมิ่ พนู นั้นขึน้ อยกู่ ับการที่ทรงมสี มเด็จพระเจา้ ลูกเธอเป็นสําคญั หนึ่งใน สามพระองคค์ ือพระองค์เจ้าสว่างวฒั นา ตอ่ มาได้รับการสถาปนาเปน็ สมเด็จพระศรีสวรินทริ า บรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยิกาเจา้ ซ่งึ กค็ ือพระอยั ยิกาในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เมอ่ื คร้ังทรงพระเยาว์ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอพระองคเ์ จา้ เทวัญอไุ ทยวงษทรงศึกษาขัน้ ตน้ เขยี นอ่านภาษาไทยในส�ำ นักพระองค์เจา้ หญงิ มณี และพระองคเ์ จา้ หญิงกฤษณา ซึง่ เป็นพระเจา้ ลูกเธอในพระบาทสมเดจ็ พระนัง่ กลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงศึกษาภาษามคธ แลว้ เขา้ ชน้ั มธั ยมศึกษาใน สำ�นักพระยาปริยตั ธิ รรมธาดา(เป่ยี ม) แตย่ ังไม่ทันไดท้ รงโสกนั ต์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กส็ วรรคตกอ่ น ทรงไดร้ ับการโสกันต์ในปี พ.ศ.๒๔๑๓ ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว กอ่ นจะทรงผนวชเปน็ สามเณรในปตี ่อมา แล้วเสด็จไปประทบั อยู่ ณ วดั บวร นิเวศวิหาร เพ่อื ทรงศกึ ษาพระธรรมวนิ ัยในส�ำ นักสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวรยิ า ลงกรณ ์ และทรงศกึ ษาภาษาอังกฤษในโรงเรียนหลวงที่พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรงต้ังขึน้ ภายในกรมทหารมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวงั กระทง่ั ทรงลาผนวชจากสามเณร สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์เจา้ เทวัญอุไทยวงษ ทรงมีพระปรีชาสามารถในการศึกษา เรียนร้มู าต้งั แตพ่ ระชันษายังนอ้ ยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ ให้ตามเสดจ็ ประพาสอินเดียในปี พ.ศ. ๒๔๑๔ และยงั ทรงใช้สอยใกล้ชดิ ทรงเปน็ ผ้คู อยอ่านหนังสือ เรื่องตา่ งๆ ถวายพระจ้าอยู่หวั เวลาเข้าที่บรรทม และยังไดท้ รงประจำ�เวรปรนนบิ ัติช่วงที่พระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงผนวชจนกระทงั่ ทรงลาผนวช สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ พระองค์เจา้ เทวญั อไุ ทยวงษทรงรักการเรียน โดยในด้านภาษาองั กฤษนัน้ แมโ้ รงเรียนในกรมทหาร มหาดเล็กจะเลกิ สอนเพราะอาจารยช์ าวตา่ งประเทศอย่คู รบสญั ญา และลากลบั บา้ นเกิดไปแล้ว ก็

21

ยงั ทรงชักชวนครูสอนภาษาองั กฤษใหอ้ ยูส่ อนตอ่ โดยทรงร่วมกับเจ้านายอีกหลายพระองค์จดั ต้งั สำ�นกั สอนภาษาองั กฤษขึ้นใหม่ที่ต�ำ หนักหอนิเพทพทิ ยา และเพราะทรงตระหนกั ถงึ ความสำ�คัญ ของภาษาอังกฤษน้เี อง ท�ำ ใหท้ รงเป็นผูร้ อบร้ภู าษาองั กฤษดี แม้จะไม่เคยเสดจ็ ไปทรงศกึ ษายังต่าง ประเทศเลยก็ตาม ความสามารถในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์เจ้าเทวัญ อไุ ทยวงษน้นั สมเดจ็ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพยังเล่าไว้ในพระนิพนธว์ ่า “...ในเจา้ นายนักเรียน ช้นั น้ัน ควรยกย่องสมเดจ็ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ ว่าเป็นยอดเยยี่ มกว่าพระองคอ์ นื่ ๆ” หลงั พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สมเด็จ พระเจา้ นอ้ งยาเธอพระองคเ์ จ้าเทวัญอไุ ทยวงษกไ็ ด้รับใช้เบ้ืองพระยุคลบาท โดยเริ่มต้นจากการ ปรับปรงุ การคลงั ของประเทศ ซึง่ ขณะน้ันมีปัญหาอย่างหนกั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า เจา้ อย่หู ัวทรงมพี ระราชด�ำ รเิ กี่ยวกับการปฏิรปู ระบบภาษีอากรแผน่ ดิน โปรดเกล้าฯ ให้จัดตง้ั หอ รษั ฎากรพพิ ฒั น์ อันเป็นตน้ กำ�เนดิ ของกระทรวงการคลังข้ึนเมอื่ ปี พ.ศ.๒๔๑๖ และทรงรับหน้าที่ การตรวจบัญชีคลังด้วยพระองคเ์ อง โดยทรงเลือกผชู้ ว่ ยเฉพาะพระราชธุระเรื่องนส้ี องพระองค์ ดว้ ยกัน หน่ึงในน้นั กค็ ือสมเดจ็ พระเจ้าน้องยาเธอพระองคเ์ จา้ เทวัญอไุ ทยวงษ ที่โปรดให้ทำ�หนา้ ที่ หวั หน้าพนักงานออดิตออฟฟศิ ตั้งแต่แรกตั้งและท�ำ หน้าที่หัวหน้าพนกั งานตรวจเงนิ รบั อีกด้วย นับ เป็นหนา้ ที่ส�ำ คัญและถือว่าไดร้ บั ไวว้ างพระราชหฤทยั เปน็ อยา่ งมาก ทงั้ ที่เวลานนั้ เพง่ิ จะทรงส�ำ เร็จ การศกึ ษาและมีพระชนั ษาเพียง ๑๗ ปเี ทา่ นน้ั แมส้ มเด็จพระเจา้ น้องยาเธอพระองคเ์ จา้ เทวญั อไุ ทยวงษ จะไมไ่ ดเ้ สด็จไปศึกษาตอ่ ยังตา่ ง ประเทศ แต่ก็เชี่ยวชาญภาษาองั กฤษ จนได้รบั ใช้ถวายงานใกลช้ ิดพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอย่หู วั เป็นอย่างยงิ่ ทรงใชส้ อยเรื่องการต่างประเทศอยเู่ นอื งๆ โดยเฉพาะเมือ่ มีพระราชประสงค์ จะตรวจค้นตํารบั ตําราของประเทศต่าง ๆ เพื่อนํามาใช้เปน็ แบบแผนในการปรับปรุงประเทศ ความไว้วางพระราชหฤทัยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีต่อสมเด็จ พระเจ้านอ้ งยาเธอพระองค์เจา้ เทวญั อุไทยวงษ น้ัน จงึ ทรงได้รับการโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตัง้ ใหเ้ ป็นผู้ รกั ษาและประทับตราพระราชลัญจกรสบื ตอ่ จากพระเชษฐา คือ พระเจ้าน้องยาเธอ พระองคเ์ จ้า อุณากรรณอนนั ตนรไชยที่สนิ้ พระชนมล์ ง ตราพระราชลญั จกรนีเ้ ป็นส่งิ สำ�คญั มาก เพราะเป็นตรา ประทบั ของพระมหากษัตริยส์ �ำ หรับใช้ลงพระนามาภไิ ธยในเอกสารสำ�คญั ตา่ งๆ จงึ ถือได้วา่ สมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอพระองคเ์ จ้าเทวัญอไุ ทยวงษ ทรงเป็นราชเลขาธิการในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั อีกตำ�แหน่งดว้ ย สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอพระองคเ์ จา้ เทวัญอุไทยวงษ ทรงไดร้ ับการโปรดเกลา้ ฯ ให้ท�ำ หน้าที่อีกหลายอยา่ ง นอกจากรบั ราชการที่หอรษั ฎาพิพัฒน์แลว้ ยังทรงเปน็ ปลดั บาญชีกลาง ในกรมพระคลงั มหาสมบตั ิ มอี าํ นาจรองมาจากอธบิ ดี มีหนา้ ที่รายงานการเกบ็ ภาษีตอ่ อธิบดี และ เป็นเจา้ พนักงานตรวจสอบภาษีอากรวา่ จาํ นวนเงนิ ที่ได้ประมลู ไวก้ บั ที่นําสง่ ต่อรัฐตรงกันหรือไม่

22

ในปพี .ศ. ๒๔๒๒ สมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอพระองค์เจ้าเทวญั อไุ ทยวงษ ทรงกราบถวาย บงั คมลาผนวชเป็นพระภกิ ษุ ณ วดั พระศรีรัตนศาสดารามตามประเพณี แต่เพราะมีหน้าที่ราชการ ในตำ�แหนง่ ราชเลขาธิการค่อนข้างมาก จึงลาผนวชเพียง ๑๕ วนั เพราะเกรงว่าพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จะทรงไดร้ บั ความลำ�บาก หลงั จากลาผนวชออกมาก็ได้รบั พระราชทานวงั เดิม ของพระองคเ์ จ้าอุณากรรณอนนั ตนรไชยที่ใกล้กบั สะพานถ่าน แตไ่ ด้เสดจ็ ไปประทบั ณ วงั ใหม่ แหง่ นี้ในปี พ.ศ. ๒๔๒๓ พรอ้ มกับเจา้ คณุ จอมมารดาเปยี่ มและหมอ่ มใหญ่ผเู้ ปน็ หม่อมเอก ปี เดียวกนั นี้ทรงไดร้ ับสถาปนาอสิ ริยยศข้นึ ทรงกรมเป็น “กรมหมื่น” และเข้ารว่ มพิธีการปฏญิ าณ ถวายพระพิพัฒนส์ ัตยารว่ มกับพระบรมวงศานุวงศ์ และ ขนุ นางขา้ ราชการกลุ่มหนึง่ ณ วดั พระ ศรีรัตนศาสดาราม การถืือน้ำ�ำ�พระพิิพัฒั น์์สััตยานี้้�ได้จ้ ััดเป็น็ พิิธีีพิิเศษ มีีทั้้ง� พระสงฆ์ส์ วดพระพุุทธมนต์์ และ พราหมณ์แ์ ช่ง่ น้ำ�ำ� การกระทํําสัตั ย์์สาบานต่่อกันั นี้้� พระบาทสมเด็็จพระจุลุ จอมเกล้า้ เจ้้าอยู่่�หัวั ทรง รัับรู้�และโปรดให้ม้ ีีการถวายสััตย์์ปฏิญิ าณสองครั้้�ง หลัังจากการกระทํําการถวายสััตย์์ปฏิิญาณ แล้้ว สมเด็็จพระเจ้า้ น้้องยาเธอ กรมหมื่�่นเทวะวงษ์์วโรปการก็็เตรีียมร่า่ งพระราชกฤษฎีีกาว่่าด้ว้ ย พระราชประเพณีีสยาม มีีสาระสํําคััญเกี่ย� วกับั สถาบัันพระมหากษัตั ริิย์์ ตลอดจนพระราชอํํานาจ และการสืืบสันั ตติิวงศ์์ อันั มีีจุุดมุ่่�งหมายสํําคััญเพื่่�อการเตรีียมพร้้อมในอนาคตข้้างหน้้า หากจะมีี การสถาปนาพระราชโอรสพระองค์ใ์ หญ่ใ่ ห้เ้ ป็็นรัชั ทายาท และเป็น็ การปูทู างสํําหรัับการตรากฎ มณเฑีียรบาลว่่าด้้วยการสืืบสันั ตติิวงศ์ใ์ นอนาคตด้้วย พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมน่ื เทวะวงษ์วโรปการทรงคิดการก้าวหน้าอย่เู สมอ ในดา้ นการ ต่างประเทศ ขณะด�ำ รงตำ�แหน่งราชเลขาธิการ ก็ได้กราบถวายบังคมทลู พระบาทสมเดจ็ พระ จลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัวให้ทรงแตง่ ตั้งราชทตู ไทยออกไปประจําอยูใ่ นราชสํานกั ต่างประเทศ เพอื่ ประโยชนใ์ นการเจรจาและเสรมิ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และเพ่อื ใหเ้ กิดความสะดวก รวดเร็วในการแก้ปญั หาและขอ้ พพิ าทต่าง ๆ ที่อาจจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต เพราะในอดีตที่ผ่านมานนั้ หากเกิดกรณพี พิ าทระหวา่ งรฐั บาลไทยกับกงสุลตา่ งประเทศที่มาประจาํ อยใู่ นไทย ทางไทยต้อง แต่งราชทูตพเิ ศษออกไปเจรจาเป็นคร้งั คราว ดงั น้นั เพ่ือขจัดปญั หาความขัดขอ้ งในการทําความ เข้าใจกบั รัฐบาลของประเทศต่างๆ ที่มีสมั พนั ธไมตรีต่อประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๔๒๔ พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระองค์เจ้าปฤษฎางค์ (ในขณะ ที่ยังเป็นหม่อมเจา้ ) เป็นอัครราชทูตประจาํ ๑๓ ประเทศในยโุ รปและอเมริกา โดยตงั้ สถานทูตไทย เป็นครั้งแรกที่กรุงลอนดอนและได้เข้าเฝ้าถวายพระราชสาส์นตราตั้งแด่พระนางเจ้าวิคตอเรียเมื่อ วนั ที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๕ และได้เสด็จไปถวายพระราชสาส์นตราต้ังยงั ประเทศต่าง ๆ ใน ยุโรป รวมทั้งทรงผลักดนั ให้มีการตัง้ ศาลเชียงใหม่ด้วย ชว่ งแรกที่มีการต้ังสถานทูตที่ยุโรปและสหรัฐอเมริกา ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๒๔-๒๔๒๘ นัน้ พระเจา้ น้องยาเธอ กรมหมนื่ เทวะวงษ์วโรปการยงั มิได้ดํารงตําแหนง่ เสนาบดีกระทรวงการต่าง

23

ประเทศ แตก่ ท็ รงมบี ทบาทสําคัญยิง่ ในฐานะราชเลขาธิการ ซึ่งราชทูตมกั จะทําหนังสอื กราบทูล ปรึกษาหารือเกี่ยวกบั ข้อราชการต่าง ๆ ในทกุ เรื่องอย่เู สมอ และทรงมีหนงั สือกราบทลู รายงานผล การปฏิบัติหน้าที่ในประเทศตา่ ง ๆ ที่ทรงไดร้ บั มอบหมายให้ทรงทราบอยทู่ กุ ระยะ ความสาํ เร็จของการแตง่ ตั้งราชทตู ไปประจาํ ณ ประเทศต่าง ๆ และการต้ังศาลต่างประเทศ ที่เชียงใหมท่ ั้งหมดนี้ สมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานุภาพได้ทรงบันทึกไว้ว่า “...การทงั้ สองเรื่องนี้ มิไดป้ รากฏพระนามสมเดจ็ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการในจดหมายเหตรุ าชการ เพราะในเวลา นน้ั เจา้ พระยาภานุวงศ์มหาโกษาธบิ ดียงั เปน็ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ เป็นผจู้ ดั การแลทํา

สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ กบั โตกจี ิ มาเซา อคั รราชทตู ญ่ีป่นุ และข้าราชการไทย หน้าพระท่ีนัง่ จักรมี หาปราสาท พระบรมมหาราชวงั

หนังสือสญั ญาตามรบั สั่ง แตท่ ี่แทน้ ้ันพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการได้ทรงขวนขวายตงั้ แตต่ ้นจนสาํ เรจ็ ท้งั สองเรื่อง จนเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๗ ต�ำ แหน่งเสนาบดีกรมทา่ ซง่ึ มหี นา้ ที่ดแู ลกจิ การระหว่างประเทศได้ ว่างลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั จงึ มีรับสง่ั แตง่ ตัง้ ให้สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหม่ืนเทวะวงษ์วโรปการ ตำ�รงต�ำ แหนง่ เสนาบดีกระทรวงการตา่ งประเทศแทนเจา้ พระยาภาณุ วงศฯ์ ซง่ึ ถวายหนงั สอื กราบบงั คมทลู ลาออกหลายครัง้ มาตัง้ แต่ปพี .ศ. ๒๔๒๔ และพระเจ้าอยูห่ ัว ก็ทรงมีพระดำ�ริเห็นชอบตามที่คณะขุนนางลงความเห็นกันต้ังแต่แรกว่าผู้ที่มีความเหมาะสมจะ ดำ�รงตำ�แหน่งแทนคือสมเดจ็ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมน่ื เทวะวงษว์ โรปการ แตก่ ็ทรงเกรงว่าจะ เกดิ ขอ้ ครหา เพราะในปพี .ศ. ๒๔๒๓ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืนเทวะวงษว์ โรปการ ใน เวลานน้ั มพี ระชนมายุเพียง ๒๗ ปี เทา่ นนั้ แตเ่ สนาบดีคนเก่าๆ ล้วนแต่เปน็ ผู้สงู อายุทัง้ สนิ้ คนอาจ

24

จะเข้าใจไปวา่ สมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงษ์วโรปการ ได้รบั การแต่งต้งั เพราะ ความลำ�เอียงและเมตตาสว่ นพระองค์ การแตง่ ตั้ง สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงษ์ วโรปการ ใหเ้ ป็นเสนาบดีกรมท่านี้มีความพิเศษตรงที่ยงั คงให้เจา้ พระยาภาณวุ งศฯ์ ด�ำ รงต�ำ แหน่ง เสนาบดีกรมทา่ ไวแ้ ตเ่ พียงในนาม เชน่ “เสนาบดีลอย” แต่ผูท้ ี่ปฏบิ ัตหิ น้าที่จริงนน้ั คือ สมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอ กรมหม่ืนเทวะวงษ์วโรปการ โดยที่เจ้าพระยาภาณุวงศฯ์ คอยเปน็ ที่ปรกึ ษา หารือขอ้ ราชการ ใหข้ อ้ แนะน�ำ เม่อื ทรงมีปัญหาในราชการต่างประเทศ ในฐานะที่เคยเปน็ เสนาบดี มากอ่ น วนั ที่ไดร้ ับการแต่งต้งั ใหด้ ำ�รงต�ำ แหนง่ ตรงกับวนั ที่ ๘ มิถนุ ายน ๒๔๒๘ พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว พระราชทานวงั สราญรมย์ใหเ้ ป็นสถานที่ต้งั “ศาลาวา่ การตา่ งประเทศ” ตามที่สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงษว์ โรปการ ทรงกราบบงั คมทูลขอพระราชทาน เพอื่ ใชเ้ ปน็ ที่ท�ำ การถาวรแบบเดียวกับตา่ งประเทศ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหม่ืนเทวะวงษ์ วโรปการทรงโปรดใหอ้ าราธนาพระสงฆม์ าเจริญพระพุทธมนตท์ ี่วังสราญรมยใ์ นวันที่ ๑๘ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๒๘ เวลาเยน็ และทรงทําพิธีเปิดที่วา่ การกระทรวงการต่างประเทศในวันรงุ่ ขึน้ คือ วนั ที่ ๑๙ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๒๘ หลงั เปดิ ท�ำ การแล้วก็ทำ�หนังสือกราบบังคมทูลใหพ้ ระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัวทรงทราบ รวมท้ังมลี ายพระหตั ถป์ ระทานไปยงั บรรดาทตู านุทตู ตา่ งประเทศที่เข้า มาประจาํ ในราชสํานกั ในวนั เดียวกัน เพือ่ แจ้งให้ทราบว่าพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่ หัวได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้พระองคท์ รงดํารงตําแหน่งเสนาบดีว่าการต่างประเทศใน กรุงเทพมหานคร โดยทรงหวังวา่ บรรดาทตู านุทตู ท้ังหลายคงจะมสี ว่ นชว่ ยสง่ เสริมให้ สัมพันธไมตรี ระหว่างรัฐบาลของท้ังสองฝา่ ยดํารงตอ่ ไปอยา่ งมน่ั คง และพระองค์ก็ทรงยนิ ดีที่ไดม้ โี อกาสมาทํา งานร่วมกบั บรรดาทตู านุทตู ตา่ งประเทศเหล่าน้ี และจะทรงพยายามรักษาสัมพนั ธไมตรีอันดีนี้ สบื ไป เม่อื มสี ถานที่วา่ การกระทรวงเปน็ หลกั เปน็ ฐานแล้ว สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมเทวะวงษ์ วโรปการ ไดเ้ สด็จไปทํางานที่กระทรวงเปน็ ปกติเชน่ เดียวกับข้าราชการทงั้ หลาย และได้ทรงจัด ระเบยี บราชการให้ทนั สมยั ข้ึน จนกลายเป็นแบบอย่างให้กบั กระทรวงอน่ื ๆ ที่เกดิ ขน้ึ ในภายหลงั ดว้ ย สําหรับระเบยี บราชการในกระทรวง ได้ทรงพระดํารแิ กไ้ ขปรับปรงุ แบง่ ออกเปน็ กองตา่ ง ๆ เพื่อ ให้ราชการดําเนินไป เป็นส่วน ๆ และสัมพันธ์กันตามหน้าที่ เชน่ (๑) กองกลาง มีหัวหน้าเป็นเจ้ากรม (๒) กองการทตู มีหวั หนา้ เป็นเจา้ กรม (๓) กองการกงสุลมีหัวหน้าเปน็ เจ้ากรม (๔) กองการคดี มี หัวหนา้ เป็นเจา้ กรม (๕) กองการกฎหมาย มหี วั หนา้ เปน็ เจา้ กรม (๖) กองเก็บหนงั สือ มหี วั หน้าเป็น อธบิ ดี (๗) กองแปล มีหัวหน้าเปน็ อธบิ ดี (๘) กองการบญั ชี มหี วั หน้าเปน็ ปลดั บัญชี (๙) แผนกคน ต่างประเทศ มีหวั หนา้ เปน็ ผตู้ กั เตอื นกฎหมาย (ภายหลงั แกไ้ ขเป็นกองที่ปรกึ ษา) นอกจากนยี้ ัง ทรงวางระเบียบวธิ ีรา่ งและเขยี นจดหมายราชการ ระเบยี บการรับ และสง่ หนงั สือ ตลอด จนระเบียบการเกบ็ หนังสอื และเอกสารตา่ ง ๆ ของกระทรวงใหเ้ ปน็ แบบปฏบิ ตั เิ หมาะสม

25

พระบาทสมเด็จ็ พระจุลุ จอมเกล้้าเจ้า้ อยูู่�หััวประทับั เป็น็ ประธาน ในที่่ป� ระชุุมเสนาบดีีทางมุุขตะวัันออกเฉียี งใต้้ของพระที่่น� ั่่ง� วิิมานเมฆ พระราชวัังดุสุ ิติ

พระบรมฉายาลักั ษณ์พ์ ระบาทสมเด็จ็ พระจุลุ จอมเกล้้าเจ้า้ อยูู่�หัวั พระราชทานพระเจ้า้ น้้องยาเธอ กรมหมื่�น่ เทวะวงษ์์วโรปการ เมื่่อ� ได้ด้ ำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่งเสนาบดีีผู้�ูว่าการต่่างประเทศ

และดําเนินไปด้วยความเรียบร้อยต่อเน่ือง กันเป็นอันดี จนกระทรวงอนื่ ๆ ไดร้ ับเป็น แบบแผนในการปฏิบัตริ าชการต้งั แตน่ น้ั มา ชว่ งที่สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรม พระยาเทวะวงษ์วโรปการดำ�รงพระอิสริยยศ เปน็ กรมหม่นื ปี พ.ศ. ๒๔๓๖ โรงเรียนสุนนั ทาลยั (โรงเรียนราชนิ ีในปจั จบุ ัน) เรมิ่ รบั สตรีที่เพิ่งศึกษา จบจากต่างประเทศ หม่อมจนั ทรเ์ ป็นนักเรียนหญิงที่ได้รบั การคัดเลือกใหไ้ ปศกึ ษาต่อที่อังกฤษเดนิ ทางกลับมายงั เมืองไทย เดิมทีหมอ่ มจันทร์เปน็ เดก็ ที่อาศยั อย่ใู นเขตพระราชฐานชนั้ ในกับมารดาที่ เข้ามาพงึ่ เจา้ นายหลังจากบิดาเสยี ชีวิต และกจิ การอากรเสียหาย เดก็ หญงิ จนั ทรห์ รือลูกจันทร์เปน็ คนเฉลยี วฉลาด จึงได้รับการคดั เลือกให้ไปศึกษาตอ่ ที่ตา่ งประเทศตัง้ แต่อายุ ๑๓ ปี และกลับมาถึง เมืองไทยเม่ืออายุ ๒๔ ปี ตอนที่ลกู จันทรแ์ ละคณะอีก ๔ คนซ่งึ ไปเรียนพร้อมกนั เดนิ ทางกลับถงึ เมืองไทย สมเด็จกรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพเสดจ็ ไปรบั ทกุ คนมีญาตพิ ่ีน้องมารับยกเวน้ ลูกจันทร์ ที่เปน็ ก�ำ พร้า เพราะมารดาเสียชีวติ ระหว่างที่เล่าเรียนอยู่ที่องั กฤษ สมเดจ็ กรมพระยาด�ำ รงราชานุ ภาพ จึงทรงพาไปฝากไว้ใหท้ �ำ หน้าที่เปน็ ครูผ้ชู ่วยครแู หม่มที่โรงเรียนสนุ นั ทาลัย ต่อมาหม่อมเจ้า พิจติ รจิตราภา เทวกลุ ทรงพาลกู จนั ทร์เขา้ เฝา้ ฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว และ

26

สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ ท้งั สองพระองค์ ลกู จนั ทร์จึงได้รบั พระมหากรุณาธิคณุ โปรดเกลา้ ฯ ให้ถวาย พระอักษรเจา้ นายหลายพระองค์ อาทิ สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณฯ์ (สมเดจ็ พระ ราชปติ ฉุ า) สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ามาลนิ ีนภดาราฯ (กรมขนุ ศรีสชั นาลยั สุรกญั ญา) สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ นิภานพดลฯ (กรมขุนอู่ทองเขตขตั ตยิ นารี) พระเจา้ ลูกเธอ พระองคเ์ จา้ เยาวภาพงศส์ นทิ และพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจา้ ประภาพรรณพิไลย สมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมนื่ เทวะวงษ์วโรปการ ทรงรบั ลูกจนั ทรไ์ ว้เป็นหม่อมโดยให้ ไปอยดู่ ว้ ยที่วังสะพานถ่านต้ังแต่วนั ที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๗ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการทรงมโี อรสล�ำ ดบั ที่ ๔๐ เมอื่ ทรงมพี ระชนมายุได้ ๔๖ พรรษา คือ หม่อมเจา้ วงศานุวัตร ซงึ่ เกิดจากหมอ่ มจันทร์ ต่่อมาเมื่อ่� ถึงึ ปีี พ.ศ.๒๕๓๙ สมเด็จ็ พระเจ้า้ น้อ้ งยาเธอ กรมหมื่่น� เทวะวงษ์์วโรปการ ได้ร้ ับั พระราชทานพระอิิสริิยยศให้เ้ ป็็นกรมหลวง ยังั คงทรงงานด้้านการต่่างประเทศอย่่างสม่ำ��ำ เสมอ จนมาถึึงปีี พ.ศ. ๒๔๔๒ ก็ท็ รงมีีพระดํําริทิ ี่�จ่ ะปรัับปรุงุ ระเบีียบวิิธีีปฏิิบัตั ิริ าชการในกระทรวงการ ต่่างประเทศเสีียใหม่เ่ พื่่�อให้ส้ อดคล้้องกับั งานที่�น่ ับั วัันจะมีีมากขึ้้�น อัันจะเป็็นผลดีีต่อ่ การปฏิบิ ัตั ิิ ราชการ ให้ล้ ุลุ ่ว่ งไปได้อ้ ย่่างรวดเร็็วไม่ค่ั่ง� ค้้าง ทั้้�งนี้้ส� ืืบเนื่่อ� งมาจากภาระงานในกระทรวงการต่่าง ประเทศในขณะนั้้�นมีีมากและยุ่�งยากสลัับซับั ซ้อ้ นยิ่�งขึ้�น จํําเป็น็ จะต้อ้ งจัดั ระบบปฏิิบัตั ิิราชการให้้ รัดั กุุมกว่า่ ที่่�เคยเป็็น พระยาพิพิ ัฒั นโกษา ปลัดั ทูลู ฉลองกระทรวงการต่่างประเทศขณะนั้้�น มีีความ เห็น็ ว่่า ถ้้าไม่ไ่ ด้พ้ ระปรีีชาสามารถเป็น็ การส่ว่ นพระองค์์ของ สมเด็็จพระเจ้า้ น้้องยาเธอ กรมหมื่น�่ เทวะวงษ์์วโรปการแล้้วกระทรวงการต่่างประเทศคงจะประสบความยุ่ �งยากมาก สิ่งหนึง่ ที่ทำ�ให้เหลา่ ขุนนางข้าราชการเห็นเป็นตวั อย่าง คือ สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษ์วโรปการ เสด็จไปทรงงานที่กระทรวงการต่างประเทศทุกวัน ไมเ่ คยขาด ไม่ เคยละเว้นราชการในหนา้ ที่ ยกเวน้ เมอื่ จำ�เป็นต้องเขา้ เฝ้าฯ เมือ่ พระเจ้าอยหู่ วั เสดจ็ ไปไกล หรือ ประชวรซึง่ นานๆ จะเป็นสักครั้ง ท�ำ ให้งานของกระทรวงการตา่ งประเทศไม่เคยตดิ ขัด นอกจากการปรับปรงุ วธิ ีการทำ�งานและการบรหิ ารราชการแลว้ สมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษ์วโรปการ ทรงเอาพระทัยใสใ่ นคณุ ภาพของบคุ ลากร ทรงส่งเสริมการพฒั นา ความรูแ้ ละทกั ษะของข้าราชการกระทรวงการตา่ งประเทศอย่างจรงิ จัง โดยทรงจดั ตงั้ แผนกสอน ภาษาองั กฤษให้แก่ขา้ ราชการ เสมียนและพนักงาน วนั ละ ๒ ช่ั วโมง คือ ต้ังแต่เวลา ๑๗.๐๐ น. ถงึ ๑๙.๐๐ น. อีกท้ังทรงคดั เลือกนกั เรียนส่งไปศึกษาต่อยังต่างประเทศอีกด้วย ส่วนการปฏิบัติราชการของข้าราชการนั้นแต่เดิมมายังไม่มีการกําหนดเวลาที่แน่นอน พระองคไ์ ดท้ รงกําหนดเวลามาและกลับ ใหข้ า้ ราชการลงนามในสมดุ ประจาํ พร้อมทั้งลงเวลามา และกลบั ทุกวัน เว้นวันหยุดราชการ ครน้ั ถงึ สนิ้ ปกี ็ให้รายงานถวายให้ทรงทราบวา่ ผู้ใดมาทํางาน กี่วนั ลาราชการ ลาปว่ ย ลากจิ กี่วัน ในส่วนราชการของผูน้ ้อย เปน็ ต้นวา่ งานร่างหนังสือ คัดสํา เนา ทําบัญชีหน้าเรื่องตลอด ปหี นึ่งใครทําไดก้ ี่เรื่อง กี่หนา้ ก็โปรดใหม้ เี จา้ หน้าที่รวบรวมรายงาน

27

วังั สราญรมย์ใ์ นอดีตี พระเจ้้าน้อ้ งยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษ์์วโรปการ วังั สราญรมย์์ในปััจจุบุ ััน

ถวายด้วย เพ่ือจะไดม้ โี อกาสทรงทราบถงึ อปุ นสิ ยั ใจคอ ความวริ ิยะอุตสาหะของขา้ ราชการโดยทั่วไป อันจะ เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาความดีความชอบมิให้ บกพร่องได้ นอกจากนีย้ งั โปรดให้จดั ทําสถติ หิ นงั สือ เขา้ ออกทุกแผนกงานทกุ ประเภทเรื่อง เพอื่ จะได้ตวั เลขที่แน่นอนว่าสน้ิ ปีหนึ่ง ๆ จะมีหนังสือเขา้ ออกกี่ฉบบั เรื่องเมื่อเทียบกันระหวา่ งปีแล้วจะเพิม่ ขน้ึ หรือลดลงมากนอ้ ยเพียงไรและเพราะเหตุใด ทรงด�ำ รงต�ำ แหนง่ ดังกล่าวตั้งแต่พระชันษาได้ ๒๗ พรรษาจนถึงวนั ที่ ๒๘ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๖๖ นับเปน็ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศที่อายนุ อ้ ยที่สดุ และอยู่ในต�ำ แหนง่ ยาวนานถึง ๓๘ ปี ๑๖ วัน ซงึ่ ในระยะเวลากว่า ๓๘ ปที ี่ทรงดำ�รงตำ�แหนง่ น้ี สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหลวง เทวะวงษว์ โรปการได้สร้างความกา้ วหนา้ และผลงานในด้านการตา่ งประเทศเอาไวม้ ากมาย ได้ ทรงปรับปรุงการบริหารราชการของกระทรวงการต่างประเทศนับตั้งแต่แรกที่ทรงดํารงตําแหน่ง เสนาบดี และไดท้ รงปรับปรุงการบรหิ ารงานในกระทรวงการตา่ งประเทศใหท้ นั สมัยมาโดยตลอด ตราบจนกระท่ังสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ กิจการของกระทรวงการต่างประเทศได้เข้าสู่ระบบ ใหม่ และมีความกา้ วหน้ามาตามลําดับ ดว้ ยพระอัจฉรยิ ภาพและพระวิรยิ อตุ สาหะของพระองค์จงึ ทรงไดร้ บั พระสมญั ญานามว่า“พระบดิ าแห่งการต่างประเทศของไทย”

28

ในดา้ นที่ทรงรับหนา้ ที่ราชเลขาธิการนนั้ สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษ์ วโรปการ ไดร้ ับพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปน็ ผ้แู ทนพระองค์ไปรว่ มพระราชพิธีเฉลมิ ฉลองครอง ราชยค์ รบ ๕๐ ปขี องสมเดจ็ พระราชินีวิคตอเรียแห่งประเทศองั กฤษในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ ทรงถือ โอกาสน้เี สด็จประพาสยโุ รป สหรัฐอเมริกา แคนาดา และญี่ปนุ่ เพอื่ ศกึ ษาแบบอย่างการปกครอง และการพฒั นาของประเทศตา่ ง ๆ เหล่านน้ั นาํ มาปรบั ปรุงแกไ้ ขระบบการบรหิ ารและการพัฒนา ประเทศไทยใหเ้ จรญิ รุดหน้าตอ่ ไป ตอ่ มาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๓ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟา้ มหาวชริ าวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ก็เสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติทรงพระนามว่าพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว เป็นพระมหากษตั รยิ ล์ าํ ดบั ที่ ๖ ในพระบรมราชจกั รีวงศ์ พระเจ้าบรม วงศเ์ ธอ กรมหลวงเทวะวงษ์วโรปการ ในฐานะที่ทรงเป็นพระมาตลุ าผูใ้ หญ่ไดท้ รงดํารงตาํ แหน่ง หนา้ ที่ทวีความสาํ คัญขนึ้ เรื่อย ๆ ในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัว โดย ในทันทีที่พระองคไ์ ดเ้ สด็จขึน้ ครองราชย์ ก็ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงเทวะวงษว์ โรปการเปน็ องคมนตรี เม่ือวนั ที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ประกอบกับที่ทรงเคยเปน็ หวั หน้าคณะเสนาบดีมาแล้วในรชั กาลก่อน และพระเกียรติคุณเป็นที่ สรรเสรญิ ของบคุ คลทุกชาติทุกชั้น จึงทรงได้รบั ความเคารพ นบั ว่าทรงเป็นหลักในราชการแผ่น ดินรองลงมาจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงเป็นพระบรมวงศ์ผู้ใหญท่ ี่ไดร้ บั ความไว้วางพระราชหฤทัยเป็นอยา่ งยิง่ จึงได้รับพระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกล้าฯ ให้เลอื่ นพระ อิสริยยศพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงเทวะวงษ์วโรปการขนึ้ เป็น “กรมพระ” ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัวได้ทรงมพี ระราชดํารวิ า่ การที่กรมพระเทวะวงษ์วโรปการทรงไดร้ บั เล่ือนพระอสิ รยิ ยศมาแลว้ นัน้ ยังไม่เปน็ การเพียงพอแก่ ความดีความชอบที่ไดท้ รงมมี าแต่หนหลงั จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ล่อื นพระอสิ รยิ ยศ ขึ้นเป็น“กรมพระยา” พระนามวา่ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ ทรงศักดินา ๓๕,๐๐๐ เป็นพเิ ศษ ในการน้ียังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์สายสรอ้ ย จุลจอมเกล้าลงยาอันเปน็ ชัน้ ที่ ๑ พระราชทานอยา่ งเจ้าฟา้ อีกดว้ ย นบั ว่าทรงเป็นเจา้ นายช้ัน พระองค์เจ้าองค์แรกที่ไดร้ บั พระราชทานใหท้ รงสถาปนาเปน็ “สมเด็จกรมพระยา” ซ่งึ เปน็ ชัน้ สงู สุดเพราะในอดีตมีเพียงแต่เจ้านายช้นั เจ้าฟ้า และสมเด็จพระสังฆราชเจา้ หรือสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าเท่านนั้ ที่ทรงไดร้ บั พระราชทาน ต่อมาเกดิ เหตกุ ารณส์ งครามโลกครง้ั ที่ ๑ ข้นึ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา เทวะวงศ์วโรปการนัน้ เม่อื แรกได้ทรงดําเนินนโยบายให้ไทยตง้ั ตนเป็นกลางในระหวา่ ง สงครามโลกคร้งั น้ี จนกระท่ังถงึ คราวจําเปน็ สยามจึงไดป้ ระกาศเข้ารว่ มสงครามเม่ือวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยพระองคท์ รงมหี นา้ ที่ในการประกาศสงครามต่อฝา่ ยอักษะ

29

และควบคุมทรพั ยส์ ินของชาตศิ ัตรใู นสยามด้วย ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัวนี้ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรม พระยาเทวะวงศว์ โรปการยังได้ทรงรับราชการในตําแหนง่ พเิ ศษ ซึ่งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหท้ รงทําเฉพาะองคอ์ ีกด้วย ที่สําคัญได้แก่ เปน็ ผรู้ ักษาราชการพระนครเมอ่ื พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัวมิได้ประทบั อยู่ในพระนคร เปน็ นายกแห่งสภาการคลงั นายกกรรมการตรวจแก้รา่ ง ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ สมุหมนตรี นายทหารพิเศษชนั้ นายพนั เอก และนายกองตรี ในกองเสอื ป่า และยงั ทรงได้รบั พระราชทานเลอื่ นพระยศจากมหาอํามาตย์เอก เป็นมหา อํามาตยน์ ายก ซึ่งตาํ แหนง่ น้ีสมัยรตั นโกสนิ ทรแ์ ล้วก็มเี พยี งสองเทา่ นนั้ คือ สมเดจ็ พระเจ้าบรม วงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กบั เจ้าพระยายมราช ในส่วนของเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ น้นั สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราช อสิ รยิ าภรณท์ กุ สกุลลว้ นช้ันสงู สุด เว้นแต่เครื่องราชอิสรยิ าภรณอ์ ันมศี กั ดริ ามาธิบดี ซงึ่ เป็นตรา ความชอบเฉพาะในราชการทหารเท่าน้ัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ ัวพระราชทานสร้างวงั ให้ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ บนที่ดินพระราชทานจากพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ชื่อวา่ วังเทวะเวสม์ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการทรงมีพระวรกายสมบรู ณแ์ ละ พระพักตร์แจ่มใสอยู่เป็นนจิ แมว้ ่าในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ที่ทรงเจริญพระชนมายุมาถงึ ๖๔ ชันษาแล้ว ก็ตาม แต่ก็ทรงปฏบิ ัติพระภารกิจตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างเข้มแข็งอยเู่ สมอ ในตอนตน้ ปียังได้ทรงราชการ ในหน้าที่เสนาบดีกระทรวงการตา่ งประเทศเป็นปรกติ คือเร่มิ แต่เวลาเยน็ จวบคํ่าไปถงึ เวลากลาง คืน ตอนดกึ เสด็จไปทรงราชการที่ศาลาวา่ การตา่ งประเทศเปน็ ประจาํ ในสมัยน้ันศาลาว่าการต่าง ประเทศยงั อยู่ที่ตึกในพระบรมมหาราชวงั ใกล้ประตูวมิ านเทเวศร์ แต่ในบางคร้งั ถา้ ประชวรเลก็ น้อย หรือทรงมภี ารกจิ อืน่ ๆ อยมู่ ากจะโปรดให้พนักงานนําหนังสือราชการซึ่งทรงเรียกว่า “หนงั สอื เวร” บรรจุหีบขนาดยอ่ มมาถวายเพือ่ ทรง ณ วังที่ประทบั แต่ถา้ วันใดจะทรงพบกับบรรดา ทูตานุทตู ชาวต่างประเทศ ก็ทรงนัดหมายกําหนดเวลาเสด็จไปที่ศาลาวา่ การตา่ งประเทศตง้ั แตเ่ วลา บ่าย ไมร่ อถึงตอนเยน็ หรือคํ่า ทรงปฏบิ ตั เิ ชน่ นม้ี านานตัง้ แต่รชั กาลที่ ๕ จนถงึ รชั กาลที่ ๖ โดยไม่มี วันหยุด แมว้ ่าจะเปน็ วนั หยุด สําหรบั พระราชพิธีต่าง ๆ หรือวนั เสารอ์ าทติ ย์ ยังเสด็จไปทรงงานที่ ศาลาวา่ การตา่ งประเทศ หรือรบั สั่งใหพ้ นกั งานนําหนังสือเวรมาถวายที่วงั หลายครง้ั ที่ทรงเครื่อง ยศเสดจ็ ไปในงานพระราชพิธี เสรจ็ แล้วเลยเสดจ็ ไปที่ศาลาวา่ การฯโดยใหน้ าํ ฉลองพระองคไ์ ปทรง เปลย่ี น ณ ที่นน้ั ด้วย ในระยะ ๒ เดือนแรกของปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ยงั ได้ทรงปฏบิ ัติราชการในหน้าที่เสนาบดีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศและในหน้าที่พเิ ศษตามปรกติ ในขณะที่พระวรกายก็ยงั ทรงมีพระโรค เดิมอยู่บา้ งเนื่องจากตั้งแตเ่ ดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔ ทรงประชวรเปน็ บดิ แล้วลงพระนาภีทรง จับไข้มพี ระอาการออ่ นเพลยี เกือบทั้งเดือน พระพาหาท้ัง ๒ ข้างมพี ระอาการเจ็บและตงึ ตาม ผวิ หนังจนทนไมไ่ ด้เวลายกพระกรสงู เพื่อสอดเสอ้ื เวลาที่ทรงขวา้ งปาส่งิ ของอยา่ งใดดว้ ยความ รวดเรว็ เกินไปก็ทรงเจบ็ ซงึ่ พระยาวิบูลอายรุ เวท ธรรมสโรช มีความสงสยั วา่ อาจจะเป็นเพราะทรง

30

ประชวรด้วยพระโรคเบาหวาน แลว้ ก็ยงั บวกพระหทยั ออ่ นมาเป็นเวลาหลายปีแลว้ คร้ันต่อมาใน วนั ที่ ๑๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงมีพระอาการประชวรเป็นพระยอดขึ้นที่ต้นพระศอเบอื้ งขวา ตอ่ จากน้นั พระยอดไดแ้ ปลงลกั ษณะเปน็ ชนดิ ที่เรียกวา่ “ฝีฝกั บวั ” ทําให้ประชวรไขแ้ ละปรากฏ ว่ามีพระบงั คนเบาหวานดว้ ย หมอสมิธ (Dr. Malcom Smith) นายแพทย์ชาวอังกฤษประจาํ ราช สํานกั กับพระยาดํารงแพทยาคณุ (ชื่น พุทธแิ พทย์) ผู้อํานวยการโรงพยาบาลสภากาชาด ไดเ้ ปน็ ผูถ้ วายการรกั ษาอยา่ งดีที่สดุ ที่จะกระทําได้ และไดท้ ําการผ่าพระยอดถงึ ๓ ครงั้ แตพ่ ระอาการ ก็มีแตท่ รงกบั ทรุด ในขณะเดียวกันส่งิ ที่ทําใหแ้ พทย์ผู้ถวายการรกั ษาวติ กมากก็คือ พระหทัยของ พระองคท์ ี่อ่อนมาหลายปี พระยาอัศวินอาํ นวยเวท (Dr. A. Poix) นายแพทย์ชาวฝรัง่ เศสประจํา ราชสํานัก ซ่งึ ไดเ้ ขา้ ไปชว่ ยตรวจพระอาการด้วยก็ได้ลงความเหน็ วา่ พระอาการดังกลา่ วจะไมม่ ีทาง หายได้ ในที่สุดสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการก็ได้สิ้นพระชนม์ลงดว้ ย พระอาการอนั สงบ เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๖ เวลา ๑๑.๒๐ น. ท่ามกลาง ความโศรกเศรา้ อาดรู แสนสาหัสของสมาชิกแหง่ ราชสกุลเทวกุล รวมพระชนมายไุ ด้ ๖๔ ปี ๗ เดือน ๑ วนั สมเด็จ็ พระเจ้า้ บรมวงศ์์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์ว์ โรปการ ได้้ทรงรับั ราชการสนองพระ เดชพระคุณุ พระมหากษััตริยิ ์์ ๒ รััชกาลด้ว้ ยความจงรัักภักั ดีีเป็็นเวลานานถึึง ๔๕ ปีี ดัังที่่�ได้้ทรงสาบาน และถืือน้ำ��ำ พิิพััฒน์์สััตยาไว้้ด้้วยความซื่่�อสััตย์์สุุจริิตไม่่เสื่�่อมคลายตลอดพระชนม์์ชีีพได้้ทรงดํํารงตํําแหน่่ง เสนาบดีีกระทรวงการต่า่ งประเทศเป็็นเวลา ๓๘ ปีี ครั้้น� เมื่�่อสิ้น� พระชนม์ล์ งด้ว้ ยพระชัันษาเพีียง ๖๕ พรรษา นอกจากรัฐั บาลไทยจะได้้รัับโทรเลขและหนัังสืือแสดงความเสีียใจจากประมุุขและผู้�นํา ประเทศต่่างๆ ทั่่�วโลกแล้้ว หนังั สืือพิมิ พ์์ต่า่ งประเทศทั้้�งในยุโุ รป และอเมริกิ า ต่่างก็็ลงข่า่ วการ สิ้�นพระชนม์์ แสดงความอาลััยและยกย่่องพระเกีียรติคิ ุณุ ไปทั่่�ว

หมายเหตุ : พระนาม สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ นน้ั “เทวะวงศ์” สะกดด้วย “ษ” จนกระทงั่ พระบาทสมเด็จพระมงกฏุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ เลือ่ นพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ “เทวะวงษ”์ จึงสะกดด้วย “ศ” ทีม่ า : สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ โดย วมิ ลพรรณ ปิตะธวชั ชยั

31

หมอ่ มเจ้าวงศานวุ ตั ร เทวกลุ

แม้ส้ มเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์ว์ โรปการจะสิ้�นพระชนม์์ไปแล้ว้ แต่ก่ ็็มีีพระ โอรสหลายพระองค์ส์ ืืบทอดพระปณิิธานในการทำ�ำ งานด้า้ นการต่า่ งประเทศ หนึ่่�งในนั้้น� คืือหม่่อมเจ้้า วงศานุุวััตร เทวกุลุ พระโอรสลำ�ำ ดับั ที่่� ๔๐ ซึ่�งประสูตู ิแิ ก่่หม่่อมจัันทร์ซ์ึ่ง� เป็็นท่า่ นพ่อ่ ของคุุณชาย หม่อ่ มเจ้า้ วงศานุุวััตร เทวกุลุ ประสูตู ิเิ มื่�่อวัันที่่� ๑๗ กัันยายน พ.ศ. ๒๔๔๗ ที่�ว่ ังั สะพานถ่่าน เมื่่อ� เจริญิ วััยขึ้น� เข้า้ เรีียนที่โ่� รงเรีียนราชิินีี จนกระทั่่ง� เจริิญชันั ษาพอสมควรก็็ย้้ายไปศึกึ ษาต่่อที่โ�่ รงเรีียนนายร้อ้ ยพระ จุลุ จอมเกล้า้ ที่่�เวลานั้้�นรับั นัักศึกึ ษาผู้�เยาว์์ เริ่�มอบรมวิิชาสามัญั ฝึกึ กายบริิหารและการกีีฬาเพื่อ่� เข้้ารัับการ อบรมวิิชาทหารต่อ่ ไป แต่่มิิได้ท้ รงรัับราชการทหารแต่อ่ ย่่างใด ปีี พ.ศ.๒๔๖๖ หม่อ่ มเจ้า้ วงศานุุวัตั รทรงเดิินทางไปศึกึ ษาต่อ่ ที่�ป่ ระเทศอัังกฤษ ระหว่่างการเดิิน ทางนั้้�นสมเด็็จพระเจ้า้ บรมวงศ์เ์ ธอกรมพระยาเทวะวงศ์ว์ โรปการสิ้้น� พระชนม์์ หม่่อมเจ้้า วงศานุวุ ััตร มิิได้้ เดินิ ทางกลัับกรุงุ เทพ แต่่ทรงเดินิ ทางต่อ่ ไปยัังประเทศอังั กฤษเพื่อ่� ศึึกษาเล่า่ เรีียนเป็็นเวลา ๑๐ ปีี หม่อ่ มเจ้า้ วงศานุุวัตั รทรงมีีพระอารมณ์เ์ ยืือกเย็็นแฝงด้้วยอารมณ์ข์ ันั น้้อยครั้้ง� จะแสดงอารมณ์์ โกรธ ทำำ�ให้เ้ ป็น็ ที่่�รักั ใคร่ข่ องผู้�ใกล้้ชิดิ รวมทั้้�งผู้�ใต้้บัังคัับบััญชา พระนิิสัยั นี้้ถ� ่า่ ยทอดมาถึงึ คุณุ ชายด้้วยเช่่น เดีียวกันั เช่่นเดีียวกัับความใส่่พระทััยในด้้านวิชิ าชีีพการทููตและการต่า่ งประเทศที่่ส�ีื�บทอดมาจากพระ บิดิ า หม่่อมเจ้้าวงศานุวุ ัตั รทรงสำำ�เร็็จการศึกึ ษาจากประเทศอัังกฤษแล้้ว ก็เ็ ดินิ ทางกลัับประเทศไทย จาก นั้้น� ทรงเข้้ารัับราชการที่่�กระทรวงการต่า่ งประเทศ ทรงดำำ�รงตำ�ำ แหน่่งปลััดกระทรวงการต่า่ งประเทศ

32

ถึงึ ๒ วาระ นัับเป็น็ ท่า่ นแรกในประวัตั ิิศาสตร์ข์ อง กระทรวงการต่่างประเทศ วาระแรกเป็็นเวลา ประมาณ ๕ ปีี และวาระที่่� ๒ อีีก ๗ ปีเี ต็ม็ รวมระยะ เวลาทั้้�งสิ้�นที่ท�่ รงเป็็นปลััดกระทรวงเป็็นเวลา ๑๒ ปีี หม่อ่ มเจ้า้ วงศานุุวััตรจึงึ ทรงเป็น็ “ท่า่ น ปลััด” ในความรู้้�สึกนึึกคิิดของชาวสราญรมย์์ต่่อมา อีีกนาน โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งข้้าราชการไม่ว่ ่า่ ผู้�ใหญ่่ หรืือผู้้�น้อ้ ยในชั่ว� อายุุคนนั้้น� ยัังจำำ�ได้้มิริู้�ลืมถึงึ “ท่่าน วงศ์์” หรืือ “ท่่านวงศา” ด้้วยความเคารพยกย่่อง ทั้้ง� ในตััวพระองค์ท์ ่่าน และโดยเฉพาะน้ำ��ำ พระทัยั ที่�่ เปี่�ยมด้ว้ ยพระเมตตาต่อ่ ทุกุ ผู้้�ทุุกวัยั โดยเฉพาะ ข้้าราชการผู้้�น้้อย ถ้า้ หากใครผู้้�ใดจะคิดิ กล่า่ วอ้้างว่่า หม่่อมเจ้า้ วงศานุวุ ัตั ร เทวกุุลทรงเป็็น “ชาวสราญ รมย์”์ โดยกำำ�เนิดิ ก็็อาจจะไม่ผ่ ิดิ นักั เพราะท่า่ นเป็็น โอรสในสมเด็จ็ พระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์ว์ โรปการ เสนาบดีีกระทรวงการต่า่ งประเทศ สถิิต ณ วังั สราญรมย์น์ านถึงึ ๓๘ ปีี และทรงได้ร้ ับั การยกย่่องว่่าเป็น็ “พระบิิดาแห่ง่ การทูตู ไทย” หม่อ่ มเจ้้าวงศานุุวััตรทรงมีีเชษฐา ๒ องค์์ ซึ่ง� ทรงเคยดำำ�รงตำ�ำ แหน่่งปลัดั กระทรวงมาก่่อน คืือ กรมหมื่�น่ เทววงศวโรทัยั (พระนามเดิมิ คืือหม่อ่ มเจ้้าไตรทศประพัันธ์์) และหม่อ่ มเจ้้านิกิ รเทวัญั เทวกุุล และอีีกองค์ห์ นึี่�งคืือ พลตรีี หม่อ่ มเจ้า้ ปรีีดิิเทพยพงษ์์ เทวกุุล ผู้้�ทรงได้้รับั แต่่งตั้�งเป็็นรััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงการต่า่ งประเทศในรััฐบาลของจอมพล ป. พิบิ ูลู สงคราม ในระยะที่�ห่ ม่อ่ มเจ้้าวงศานุุวัตั รกำ�ำ ลังั จะได้ร้ ับั โปรดเกล้า้ ฯ แต่ง่ ตั้�งเป็็นปลัดั กระทรวงต่่างประเทศ พอจะอนุมุ านได้ว้ ่่า “ท่า่ นวงศ์์” คงมีีความสนพระทัยั ที่จ�่ ะเลืือกวิิชาชีีพการทูตู มาแต่่เยาว์ว์ ัยั ดััง เช่น่ พระบิดิ าและพระเชษฐา เพราะถึงึ แม้้จะทรงเข้้าเรีียนที่่�โรงเรีียนนายร้้อยพระจุลุ จอมเกล้้าชั้น� ประถม ในวิิชาสามัญั แต่่เมื่่อ� เสด็จ็ ไปทรงศึกึ ษาที่่ป� ระเทศอัังกฤษและจบชั้น� มัธั ยมแล้้ว ก็็ได้เ้ ข้้าศึกึ ษาที่่� มหาวิิทยาลัยั เคมบริิดจ์์ สำำ�นััก Magdalene College ในวิชิ าประวััติศิ าสตร์์จนจบได้ร้ ัับปริญิ ญาตรีี หลังั จากนั้้น� ได้้ศึึกษาเพิ่่�มเติิมในวิชิ าการทููตที่�่ Ecole Libre des Sciences Politiques ที่�ก่ รุุงปารีีส ก่อ่ นจะ กลัับมารัับราชการที่ก�่ ระทรวงการต่่างประเทศในปีี ๒๔๗๖ ระยะนั้้�นเป็็นเวลาภายหลังั การเปลี่่ย� นแปลงการปกครองแล้ว้ กรมหมื่่น� เทววงศ์์วโรทััยเพิ่่ง� พ้้น จากตำำ�แหน่ง่ เสนาบดีีกระทรวงการต่่างประเทศไป ส่่วนพระบิดิ านั้้น� สิ้น� พระชนม์์ไปนานแล้ว้ ตั้�งแต่เ่ มื่่อ� ครั้้ง� เสด็็จออกไปศึึกษา ณ ประเทศอัังกฤษ ในปีี ๒๔๗๖ รัฐั บาลในระบอบใหม่่ภายใต้ร้ ัฐั ธรรมนูญู ได้้แต่ง่ ตั้ง� หม่อ่ มเจ้า้ วรรณไวทยากร วรวรรณเป็น็ ที่�ป่ รึกึ ษาของกระทรวงการต่า่ งประเทศ จึึงเกิิดมีีหน่ว่ ยงานคืือ สำำ�นัักงานที่่�ปรึกึ ษาของ “ท่า่ นวรรณ” มีีหน้า้ ที่่ใ� ห้ค้ ำำ�ปรึกึ ษาในราชการด้า้ นต่่างๆ ของกระทรวงการต่า่ ง ประเทศ และไม่่ช้้าไม่น่ านก็เ็ ป็็นที่่�รัับรู้้�กัันดีีว่า่ เป็น็ แหล่ง่ “เพาะข้า้ ราชการ” เพราะเป็็นที่�่ “เรีียนงาน” อย่า่ งดีีเยี่�ยม หม่อ่ มเจ้้าวงศานุุวััตรได้้เริ่�มต้น้ ชีีวิติ ราชการที่ส่� ำ�ำ นัักงานที่่ป� รึึกษา และประจำำ�อยู่�ที่่น� ั่่�นเป็็น

33

เวลาหลายปีี เรีียนรู้�งานอัันหลากหลายในราชการของกระทรวงการต่่างประเทศ หม่่อมเจ้้าวงศานุวุ ััตร เทวกุลุ เจริญิ ด้้วยหน้้าที่�ร่ าชการเป็น็ ลำำ�ดัับตั้ง� แต่่ตำำ�แหน่่งเลขานุุการที่่�ปรึึกษา จนเลื่�่อนขึ้น� เป็็นข้า้ ราชการ ชั้�นเอก ตำำ�แหน่่งหััวหน้า้ กองเลขานุุการ สำำ�นักั งานที่ป�่ รึึกษา ซึ่�งในช่ว่ งที่่�ทรงรัับราชการนั้้�นตรงกัับ สงครามโลกครั้้�งที่ส�่ องจึงึ ได้ร้ ัับมอบภารกิจิ จากรััฐบาล อาทิิ ในกรณีีพิิพาทเรื่อ่� งอิินโดจีีน ได้เ้ สด็จ็ ไปทำำ� หน้า้ ที่่�ในกองเลขานุกุ ารของการประชุุมในการเจรจาทำ�ำ สััญญาสงบศึึกที่ก่� รุงุ โตเกีียวในปีี ๒๔๘๔ เป็็นต้้น ภายหลัังสงครามโลกในปีี ๒๔๙๐ หม่่อมเจ้้าวงศานุุวัตั รทรงได้ร้ ับั การเลื่่อ� นเป็็นข้า้ ราชการชั้้�น พิเิ ศษในตำำ�แหน่ง่ อธิบิ ดีีกรมการเมืืองตะวันั ออก แทนนายวิิสููตร อรรยุุกติิ (หลวงวิิสููตรวิิรััชชเทศ) ผู้�ได้้รัับ แต่ง่ ตั้�งเป็็นปลััดกระทรวงการต่า่ งประเทศ และเพีียงอีีกไม่่ถึงึ ๑ ปีีต่อ่ มา เมื่่อ� คุณุ หลวงวิสิ ูตู รย้้ายไปเป็็น เอกอัคั รราชทููตประจำ�ำ ประเทศฝรั่ง� เศส หม่อ่ มเจ้า้ วงศานุวุ ััตรก็็ทรงได้้รัับโปรดเกล้้าฯ แต่่งตั้�งเป็น็ ปลััด กระทรวงการต่่างประเทศแทน

ปลััดกระทรวงการต่่างประเทศ ครั้�งที่๑่� (พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๖)

หม่่อมเจ้้าวงศานุวุ ััตรทรงเข้า้ รัับตำำ�แหน่ง่ ปลััดกระทรวงต่า่ งประเทศ ในเวลาไล่่เลี่�ยกัับที่ร�่ ัฐั บาล ใหม่่ ภายใต้ก้ ารนำำ�ของจอมพล ป. พิบิ ููลสงครามเข้้าบริิหารประเทศ ภายหลัังที่�ไ่ ด้ม้ ีีการ “จี้”� นายก รัฐั มนตรีีควง อภััยวงศ์์ที่ม�่ าจากการเลืือกตั้้�งออกจากตำำ�แหน่่ง รััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงการต่า่ งประเทศ ในรััฐบาลของท่า่ น จอมพล ป. พิิบูลู สงครามนี้้� ได้แ้ ก่่ พลตรีี หม่่อมเจ้า้ ปรีีดิิเทพยพงษ์์ เทวกุุล นายทหาร ชั้�นผู้�ใหญ่่นอกราชการ และ ฯพณฯ นายพจน์์ สารสินิ เป็็นรััฐมนตรีีช่ว่ ยว่่าการกระทรวงการต่า่ งประเทศ สถานการณ์์ทางการเมืืองภายในประเทศในระยะนั้้น� เต็็มไปด้ว้ ยความยุ่�งเหยิิงวุ่�นวาย ถึึงแม้ร้ ััฐบาลยังั คงได้้ รับั ความค้ำำ��จุุนจาก “คณะทหาร” ที่่�ได้้ทำ�ำ การปฏิวิ ัตั ิิเมื่�อ่ วัันที่่� ๘ พฤศจิิกายน ๒๔๙๐ อยู่� แต่ร่ ััฐบาลก็็ต้อ้ ง ประสบปััญหาในรัฐั สภาและจากการ “กบฏ” ซึ่ง� ในระยะนั้้�นมีีขึ้้�นติิดๆ กันั ดังั ที่่เ� รีียกกัันว่่า “กบฏ เสนาธิิการ” และ “กบฏวังั หลวง” ซึ่ง� ส่อ่ ให้้เห็็นถึงึ ความ ไร้เ้ สถีียรภาพของบ้า้ นเมืือง ถึงึ แม้ฝ้ ่า่ ยรััฐบาลจะ สามารถปราบกบฏทั้้ง� สองได้้ในที่�ส่ ุดุ ก็็ตาม สำำ�หรับั ด้้านภายนอกประเทศ รัฐั บาลของจอมพล ป. พิิบูลู สงครามกำ�ำ ลัังมุ่�งหน้า้ สร้้างความ สัมั พันั ธ์ก์ ับั สหรััฐอเมริกิ า ในขณะที่�ฝ่ ่า่ ยสหรััฐฯ นั้้�น ในชั้น� แรกออกจะรังั เกีียจรัฐั บาลทหารที่่�โค่น่ ล้ม้ รััฐบาล ที่่ม� าจากการเลืือกตั้้�ง แต่่ในที่�ส่ ุดุ ด้้วยเล็็งเห็น็ ประโยชน์์ที่�จ่ ะร่่วมมืือกันั ต่อ่ ต้า้ นภััยคอมมิวิ นิิสต์์ซึ่�งกำำ�ลังั แพร่่ ขยายอยู่�ในเอเชีียและเอเชีียตะวันั ออกเฉีียงใต้้ จึึงหัันมาร่่วมมืือกัับไทย ระยะนั้้น� จึงึ เป็น็ สมััยแรกของการ ทำำ�ความตกลงความร่่วมมืือระหว่่างไทยกับั สหรััฐฯ ไม่ว่ ่า่ จะในทางทหารหรืือเศรษฐกิิจและวิชิ าการ ส่ว่ น อีีกมิติ ิหิ นึ่่�งของการดำำ�เนิินนโยบายต่า่ งประเทศของไทยในสมััยนั้้�น ได้้แก่่ ปัญั หาอนาคตของเพื่อ�่ นบ้้าน ของไทยที่ก�่ ำ�ำ ลังั จะหลุุดพ้น้ จากการเป็น็ อาณานิคิ มของชาติิตะวันั ตก พม่า่ เพิ่่ง� ได้้เอกราชจากอัังกฤษในต้น้ ปีี ๒๔๙๑ และอินิ โดนีีเซีียจากเนเธอร์์แลนด์ใ์ นปีี ๒๔๙๒ ซึ่�งกระทรวงการต่า่ งประเทศได้้ดำำ�เนิินนโยบาย ต่อ่ มาด้้วยการเปิดิ สถานเอกอััครราชทููตในประเทศเหล่า่ นั้้�น แต่่ที่�่เกิิดเป็็นปััญหาและกระทบกระเทืือนกระทรวงการต่่างประเทศโดยตรงก็็คืือปััญหา เวีียดนาม ซึ่ง� รััฐบาลฝรั่�งเศสร้้องขอให้ไ้ ทยรัับรองรัฐั บาลภายใต้้อดีีตจักั รพรรดิิบ๋๋าว ดั่ย� ซึ่ง� ฝรั่�งเศสเป็็นผู้�ตั้�ง ขึ้�นฯพณฯ นายพจน์์สารสินิ ซึ่ง� เวลานั้้น� (กุมุ ภาพัันธ์์ ๒๔๙๓) เป็น็ รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงการต่่างประเทศ

34

ได้้คัดั ค้้านการให้ก้ ารรัับรองแก่ร่ ัฐั บาลเวีียดนาม ด้้วยเหตุุผลในทางหลักั การ แต่่คณะรัฐั มนตรีีมีีมติใิ ห้้ การ รัับรอง ท่า่ นรัฐั มนตรีีพจน์์ สารสินิ จึึงขอลาออกจากตำ�ำ แหน่่ง หลายปีตี ่่อมาท่า่ นรัฐั มนตรีีพจน์ย์ ังั จำ�ำ ได้้ถึงึ เหตุกุ ารณ์์ในครั้้�งนั้้น� โดยกล่่าวว่า่ “ครั้�งหนึ่�งข้้าพเจ้้าได้้ตัดั สินิ ใจในเรื่�องนโยบายซึ่�งไม่่ตรงกับั รัฐั บาล ท่่านปลัดั (ม.จ.วงศานุุวัตั ร เทวกุลุ ) ได้้มาบอกข้้าพเจ้้าว่่า การตััดสิินใจนั้�นเป็็นการถููกต้อ้ งแล้้ว แต่่ อาจไม่ต่ รงกัับส่ว่ นมากของคณะรััฐมนตรีี นั่่น� คืือ “ท่่านวงศ์์” ผู้้�ทรงเป็็นบุุคคลที่�่ “พูดู น้อ้ ยต่่อยหนััก” โดยอุุปนิิสััยตามธรรมชาติิของท่า่ นอยู่�แล้ว้ อีีกทั้้ง� ยัังถููกต้้องตรงตามคุณุ ลักั ษณะของ “ปลัดั กระทรวง” ตามแบบฉบับั ที่่�ไม่่ยุ่�งเกี่�ยวกับั การเมืือง (apolitical) แต่ท่ ว่า่ มีีความสำ�ำ นึึกผิดิ ชอบชั่ว� ดีีที่�จ่ ะแสดงออกเมื่อ่� สบกัับโอกาสเสมอ อีีกประการหนึ่่�ง ส่ว่ นเกื้อ� กูลู หรืือคุุณูปู การซึ่่ง� “ท่า่ นวงศ์์” ได้ท้ รงมอบไว้ใ้ ห้เ้ ป็็นมรดก ตกทอดมาถึงึ อนุุชนรุ่�นหลัังในกระทรวงการต่า่ งประเทศ คงได้แ้ ก่่ความสำ�ำ นึึกที่่�ว่่าการดำำ�เนิินนโยบายใดๆ ไม่่ว่า่ จะมีีแหล่่งกำำ�เนิิดมาจากที่ใ่� ด จะเป็น็ ด้ว้ ยข้อ้ คำำ�นึงึ และมาจากฝ่า่ ยการเมืืองล้ว้ นๆ หรืือมาจากข้้อ เสนอแนะของฝ่า่ ยราชการประจำ�ำ ก็ต็ าม ความสำ�ำ คัญั ก็เ็ หมืือนกันั ในทั้้ง� สองกรณีี เพราะอยู่�ที่่�การสื่�่อสาร จะด้ว้ ยวาจา หรืือเป็็นลายลักั ษณ์์อักั ษร ด้ว้ ยหนังั สืือ ความละเอีียดถููกต้้องแม่่นยำำ� อีีกทั้้ง� ความสละสลวย ในถ้อ้ ยคำำ�ภาษาที่�่ใช้้ ย่่อมจะช่ว่ ยประกัันให้้ “นโยบาย” นั้้น� ๆ เกิดิ ประสิทิ ธิิผลได้้ อีีกนััยหนึ่่ง� การทูตู ก็ย็ ังั คงต้้องอาศัยั หนัังสืือเป็็นสื่�่อเป็็นสำ�ำ คัญั ระยะนั้้�น (พ.ศ. ๒๔๙๒) เป็น็ ช่ว่ งเวลาที่่�รััฐบาลกำ�ำ ลังั ทุ่�มเทงบประมาณเพื่อ�่ สร้า้ ง ”คน” โดยเปิิด การแข่ง่ ขัันสอบชิิงทุนุ ไปศึึกษาในต่่างประเทศอย่า่ งกว้้าง นัับเป็็นครั้้�งแรกตั้้ง� แต่่เสร็็จสงครามมา กระทรวง การต่่างประเทศก็็ได้ร้ ับั งบประมาณสำ�ำ หรัับทุนุ ไปศึกึ ษาวิิชากฎหมายบ้า้ ง วิิชารัฐั ศาสตร์ก์ ารทูตู บ้้าง ที่่จ� ะ ไปทำำ�การศึกึ ษานั้้น� ก็็มีีกำ�ำ หนดไว้ส้ ำ�ำ หรับั แต่่ละทุนุ ดร.โอวาท สุทุ ธิิวาทนฤพุุฒิิ อดีีตปลัดั กระทรวงการต่่าง ประเทศยัังจดจำำ�ได้้ว่า่ ท่่านสอบได้ท้ ุุนของต่่างประเทศได้้ ๒ ทุนุ และท่่านเลืือกทุนุ ที่่�จะให้ไ้ ปศึกึ ษา วิิชาการทููต ซึ่�งกำำ�หนดไว้ใ้ ห้ไ้ ปเรีียนที่่ป� ระเทศฝรั่�งเศส แต่ด่ ร.โอวาทเห็็นว่า่ การไปศึึกษาวิซิ าการทูตู ใน สหรััฐฯ น่่าจะเป็็นโอกาสที่�ก่ ว้า้ งขวางกว่่าในยุุโรป จึงึ ได้ข้ อเข้้าเฝ้า้ ท่่านวงศานุุวััตรซึ่่ง� ขณะนั้้น� ทรงดำำ�รง ตำ�ำ แหน่ง่ ปลัดั กระทรวงการต่า่ งประเทศ เป็็นผลให้ด้ ร.โอวาทเป็น็ คนแรกที่�่เข้า้ ไปศึกึ ษาที่่� The Fletcher School of Law and Diplomacy นั่่น� ก็ค็ ืือ อีีกมิิติิหนึ่่�งของบุุคลิิกภาพของ “ท่่านวงศ์”์ ที่่ท� รงเห็น็ การณ์์ ไกลด้ว้ ยวิสิ ััยทััศน์ท์ ี่่� “ทันั สมััย” เสมอ และที่�ส่ ำำ�คััญก็ค็ ืือทรงพร้้อมเสมอที่จ�่ ะที่จ่� ะรับั ฟัังความคิดิ เห็น็ ของผู้�อื่�น

เอกอััครราชทููตประจำำ�สหราชอาณาจัักร ( พ.ศ. ๒๔๙๖ - ๒๕๐๑)

หม่อ่ มเจ้า้ วงศานุวุ ัตั ร เทวกุุลและหม่่อมเจ้้ากมลปราโมทย์์ ชายาพร้้อมด้ว้ ยบุุตรชายและหญิิง เดิินทางถึงึ กรุงุ ลอนดอน ประเทศอัังกฤษ เพื่่อ� ทรงเข้า้ รับั หน้้าที่่�เอกอััครราชทููตประจำ�ำ ราชสำ�ำ นักั เซนต์์ เจมส์ท์ ัันเวลาพอดีีกับั ที่จ่� ะได้้ปฏิิบัตั ิิภารกิิจพิเิ ศษ เป็น็ ผู้�แทนพระองค์์ในพระบาทสมเด็จ็ พระชนกาธิิเบศร มหาภููมิพิ ลอดุลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิติ ร ในงานพระราชพิธิ ีีราชาภิิเษกของสมเด็จ็ พระบรมราชินิ ีีนาถ เอลิซิ าเบธที่่� ๒ แห่ง่ สหราชอาณาจักั รในเดืือนมิิถุุนายน ๒๔๙๖ ซึ่�งผ่่านพ้้นไปโดยเรีียบร้้อย การที่ร่� ัฐั บาลแต่ง่ ตั้�งหม่อ่ มเจ้า้ วงศานุุวััตร เทวกุุลเป็็นเอกอัคั รราชทููตประจำ�ำ ประเทศอัังกฤษ ได้้ รับั การกล่า่ วขวััญอย่่างชื่น�่ ชมในวงการต่า่ งๆ ว่า่ เหมาะสมที่่ส� ุดุ เพราะนอกจากทรงเป็็นข้า้ ราชการนัักการ ทูตู ที่่�อาวุุโส เคยทรงดำำ�รงตำ�ำ แหน่ง่ ปลัดั กระทรวงการต่่างประเทศมาแล้ว้ ท่า่ นยัังทรงเป็็นสมาชิกิ ในพระ

35

พระบาทสมเด็็จพระเจ้า้ อยู่่�หัวั และสมเด็็จพระนางเจ้า้ ฯ พระบรมราชิินีนี าถ ทรงฉายร่่วมกัับเอกอัคั รราชทูตู ประจำำ�ประเทศต่่างๆ และภริยิ า ในระหว่่างเสด็็จประพาสยุโุ รป พ.ศ. ๒๕๐๓

ราชวงศ์ช์ั้น� ผู้�ใหญ่่ และเป็น็ ที่ท�่ รงรู้�จักแก่พ่ ระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หัวั และสมเด็จ็ พระนางเจ้า้ ฯ พระบรม ราชินิ ีีนาถ โดยที่่�ท่่านเอกอััครราชทููตได้เ้ คยประทัับระหว่า่ งทรงศึึกษาอยู่�ที่�่ประเทศอัังกฤษเป็น็ เวลาหลาย ปีี ทำ�ำ ให้ไ้ ด้้ทรงรู้�จักเข้า้ พระทััยและซึมึ ชัับวิิถีีชีีวิิตและวััฒนธรรมขนบประเพณีีของอังั กฤษเป็น็ อย่่างดีี ทำำ�ให้้สามารถติิดต่่อและเข้้าถึึงวงการต่า่ งๆไม่ว่ ่า่ ในภาครััฐหรืือเอกซนโดยสะดวก ท่า่ นเอกอัคั รราชทููตยััง โปรดการเล่่นกีีฬาต่า่ งๆเช่น่ เทนนิิสและกอล์์ฟ อันั เป็น็ กีีฬาซึ่�งเป็น็ ที่่น� ิิยมในหมู่่�ชนชั้น� นำ�ำ ของอังั กฤษ และ ท่่านก็็ทรงสามารถใช้้ให้้เป็็นช่่องทางในการติิดต่่อจนเกิิดประโยชน์์แก่่ราชการของสถานเอกอััครราชทููต ได้้ นอกจากนั้้น� ท่า่ นเอกอััครราชทููตยังั ทรงสอนข้้าราชการสถานทููตให้ใ้ ส่ใ่ จคบค้า้ ติดิ ต่อ่ ในทางส่ว่ นตััวกัับ เจ้้าหน้า้ ที่่ข� องประเทศเจ้า้ ภาพ โดยเฉพาะกระทรวงการต่่างประเทศไว้เ้ พื่�อ่ ความสะดวกในการติิดต่อ่

เข้า้ เฝ้้าเพื่�อถวายพระราชสาส์น์ ตราตั้�ง ที่�กรุงุ ลอนดอน พ.ศ. ๒๔๙๖ ถ่่ายกับั หม่่อมเจ้้ากมลปราโมทย์์ เทวกุลุ ที่�กรุุงลอนดอน พ.ศ. ๒๔๙๖