ต ดกล องท ายมอเตอร ไซค ถอดได ม ย

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ข้อสอบกฎหมายแพ่ง 1 และวิธีตอบคำาถามที ถูกต้อง เด็กชายดีอายุ14 ปเปนเด็กมีความประพฤติดีและสอบได้คะแนนดี นายเด่นบิดาจึงซื อจักรยานเสือภูเขาให้1 คัน ราคา 5,000 บาท เด็กชายดีขี จักรยานผ่านหน้าบ้านนายดัง (นักศึกษาปริญญาเอก) ทุกวัน ๆ ละหลาย ๆ รอบ นายดังชอบรถจักรยานคันนั น และแอบรู ้ว่าเด็กชายดีเปนคนขี เบื อ-เชื อคนง่ายจึงสอนให้เด็กชายดีขี มอเตอร์ไซค์จนเปน เด็กชายดีเบื อรถจักรยานและอยากได้ มอเตอร์ไซค์แทน นายดังจึงออกตัวว่าสงสารเด็กชายดีและจะรับซื อรถจักรยานเองแต่ขอให้ขายราคาถูกเพียง 2,000 บาท เด็ก ชายดีดีใจ จึงรีบขายทันที แล้วทุบกระปุกออมสินได้เงินมากพอไปซื อมอเตอร์ไซค์นายเด่นบิดาโกรธหาว่านายดังหลอกเด็กจึง พามาพบท่านในฐานะทนายความ ท่านจะแนะนำานายเด่นว่าอย่างไร (แนวคำาตอบ)ย่อหน้าที หนึ งเน้นหนักไปทางแก่นกฎหมายแยกเปนหมวดหมู ่สาระสำาคัญ บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เรื อง ความสามารถในการทำานิติกรรมของผู ้ เยาว์มีสาระสำาคัญสรุปได้ดังนี  -นิติกรรมใด ๆ ที ผู ้เยาว์ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู ้แทนโดยชอบธรรมก่อนย่อมเปนโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้เปน อย่างอื น -ผู ้แทนโดยชอบธรรมมีสิทธิ... 1.ให้สัตยาบันแก่นิติกรรมออันเปนโมฆียะนั นให้สมบูรณ์ได้หรือ 2.บอกล้างนิติกรรมอันเปนโมฆียะนั นให้ตกเปนโมฆะ -การให้สัตยาบันต่อนิติกรรมที ผู ้เยาว์ได้ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู ้แทนโดยชอบธรรมนั นย่อมกระทำาได้โดยแสดง เจตนาต่อคู ่กรณีอีกฝายหนึ งและมีผลให้นิติกรรมดังกล่าวสมบูรณ์ตลอดไป -การบอกล้างนิติกรรมที ผู ้เยาว์ได้ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู ้แทนโดยชอบธรรมนั น ย่อมกระทำาได้โดยแสดงต่อคู ่กรณี อีกฝายหนึ ง มีผลให้นิติกรรมดังกล่าวตกเปนโมฆะคือเสียเปล่ามาแต่เริ มแรก และให้ผู ้เปนคู ่กรณีกลับคืนสู ่ ฐานะเดิม ถ้าเปนการ พ้นวิสัยจะให้กลับคืนเช่นนั นได้ก็ให้ได้รับค่าเสียหายชดใช้แทนนอกจากนี หากผู ้มีสิทธิบอกล้างมฆียะกรรมมิได้ใช้สิทธิบอกล้าง

เมื อพ้นหนึ งปนับแต่เวลาที อาจให้สัตยาบันได้หรือเมื อพ้นเวลาสิบปนับแต่ได้ทำานิติกรรมอันเปนโมฆียะนั น (ย่อหน้าที สอง เน้นหนักไปในทางวินิจฉัย หรือปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง ภาษากฎหมายมาตรานั น วรรคนั น เขาเรียก ว่าอะไรก็เรียกไปตามนั น) กรณีตามปญหาวินิจฉัยดังนี เด็กชายดีอายุ 14 ปผู ้เยาว์ในฐานะผู ้ขายตกลงขายรถจักรยานเสือภูเขา ซึ งนายเด่นบิดาซื อมาให้ ตนในราคา 5,000 บาท แก่นายดังผู ้ซื อในราคาเพียง 2,000 บาท โดยยังไม่ได้รับความยินยอมจากนายเด่นบิดาของเด็กชายดี ในฐานะผู ้แทนโดยชอบธรรมของเด็กชายดีผู ้เยาว์ทำาให้นิติกรรมซึ งก็หมายถึงสัญญาซื อขายรถจักรยานเสือภูเขาระหว่างเด็ก ชายดีผู ้ขายกับนายดังผู ้ซื อนั นตกเปนโมฆียะ เมื อนายเด่นมาปรึกษาข้าพเจ้าในฐานะทนายความข้าพเจ้าจะแนะนำาให้นายเด่น พิจารณาทางเลือกเปน 2 แนวทางดังนี  ก.ทางเลือกที หนึ ง หากนายเด่นตัดสินใจยอมรับนิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายที เด็กชายดีบุตรของตนในฐานะผู ้ขายได้ทำา ขึ นกับนายดังในฐานะผู ้ซื อ นายเด่นสามารถให้สัตยาบันแก่นิติกรรมหรือสัญญาซื อขายนั นได้ด้วยการแสดงเจตนายินยอมให้ นายดังรับทราบ หรือทอกระยะเวลาออกไปให้พ้นหนึ งปนับแต่เวลาที อาจให้สัตยาบันได้หรือเมื อพ้นสิบปนับแต่เด็กชายดีและ นายดังทำานิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายนั น ข. ทางเลือกที สอง หากนายเด่นตัดสินใจไม่ยอมรับนิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายที เด็กชายดีบุตรของตนในฐานะผู ้ขายได้ ทำาขึ นกับนายดังในฐานะผู ้ซื อ นายเด่นสามารถบอกล้างนิติกรรมหรือสัญญาซื อขายนั นได้ด้วยการแสดงเจตนาบอกล้างให้นาย ดังทราบ มีผลให้นิติกรรมซึ งหมายถึงสัญญาซื อขายนั นตกเปนโมฆะมาแต่เริ มแรกและให้เด็กชายดีและนายดังคู ่กรณีกลับคืนสู ่ ฐานะเดิมคือเด็กชายดีต้องคืนราคาคือเงินค่าซื อรถจักรยานที ได้รับจากนายดังให้แก่นายดังไป และนายดังต้องคืนรถจักรยาน คันที เด็กชายดีส่งมอบให้เพราะเปนการปฏิบัติตามการซื อขาย และถ้าเปนการพ้นวิสัยที จะได้คืน เช่นนายดังทำาให้รถจักรยาน พังเสียหาย นายดังก็ต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่เด็กชายดี (ย่อหน้าที สาม สรุปสั น ๆ ตามคำาถามทีละประเด็นให้ครบถ้วน) สรุปหรือธงข้าพเจ้าแนะนำาให้นายเด่นพิจารณาทางเลือกตาม ก. หรือ ข. ด้วยเหตุผลตามที กล่าวมาแล้วข้างต้น - ที มาจากหนังสือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อาญา โดย ผศ.อรรถสิทธิ ชื นสงวน - วิธีการเขียนตอบ “ข้อสอบอุทาหรณ์” (1) โครงสร้างของการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์ ข้อสอบอุทาหรณ์เกือบทั งหมด เปนข้อสอบอุทาหรณ์แบบทั วไป ซึ งมีโครงสร้างการเขียนตอบคล้ายกัน คือ จะประกอบไปด้วย เนื อหา 4 ส่วน ซึ งจะมีลำาดับการเขียนตอบก่อนหลังกัน ดังต่อไปนี  1. ประเด็นของคำาถามการเขียนตอบ โดยมากจะเริ มต้นด้วยการตั งประเด็นของคำาถาม กล่าวคือเมื อนักศึกษาอ่านคำาถามและจับประเด็นข้อสอบได้ แล้ว เพื อแสดงให้ผู ้ตรวจเห็นถึงความสามารถในการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในเบื องต้น และเพื อปองกันการวินิจฉัยผิดพลาด หรือ หลงประเด็น นักศึกควรจะเขียนประเด็นของคำาถามไว้เปนลำาดับแรกของการเขียนตอบ

2. หลักกฎหมายข้อสอบอุทาหรณ์จะมีคะแนนของหลักกฎหมายที เกี ยวข้องกับประเด็นของคำาถามเสมอ ซึ งอาจจะมีสัดส่วนน้อยกว่าการปรับบท ซึ งเปนส่วนที 3 แต่คะแนนของหลักกฎหมายก็อาจเปนส่วนที สามารถชี วัดผลการสอบในแต่ละข้อได้ บางครั งผู ้ตรวจข้อสอบอาจ กำาหนดสัดส่วนการให้คะแนนของหลักกฎหมายถึงครี งหนึ งของคะแนนทั งข้อ ซึ งมักจะเปนกรณีที คำาถามมีประเด็นที ถามหลาย ประเด็น3. การปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง ส่วนนี อาจจะเรียกได้ว่าเปนส่วนที สำาคัญที สุดของการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์เนื องจากเปนส่วนที วัดความเข้าใจในหลัก กฎหมาย และความสามารถในการปรับใช้หรือวินิจฉัยของนักศึกษา ความยากในการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์จึงอยู ่ที ส่วน ของการปรับบทกฎหมายนี เอง4. การสรุปคำาตอบส่วนนี อาจถือได้ว่าเปนส่วนสุดท้ายที จะมาเติมเต็มให้กับการเขียนตอบข้อสอบของนักศึกษาจบลงด้วยความสมบูรณ์ ทั งนี แม้ นักศึกษาจะจับประเด็น วางหลักกฎหมาย หรือปรับบทที ถูกต้อง แต่หากนักศึกษาไม่สรุปคำาตอบให้ตรงกับคำาถามที โจทย์ถาม ก็เหมือนนักศึกษายังไม่ได้ทำาในสิ งที ผู ้ถามประสงค์จะให้ทำา ซึ งนักศึกษาอาจเสียคะแนนที ไม่ควรจะเสียไป คำาถามนายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเล่อ ชนนางอรชรหญิงหม้ายซึ งตั งครรภ์ได้7 เดือนเศษ เปนเหตุให้สมองของทารกในครรภ์ได้ รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง ต่อมานางอรชรได้คลอดบุตรออกมา คือ ดช.ประสาท ปรากฎว่า ดช.ประสาทมีอาการ วิกลจริตเพราะสมองได้รับความกระทบกระเทือนขณะอยู ่ในครรภ์นางอรชรจึงได้ยื นฟองนายแสวงต่อศาลแทน ดช.ประสาท เรียกค่าสินไหมทดแทน โดยอ้างว่านายแสวงประมาทเลินเล่อทำาให้ดช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงให้การต่อสู ้คดีว่า ดช. ประสาทไม่มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน เพราะในขณะที ตนขับรถชนนางอรชรนั น ดช.ประสาทยังไม่มีสภาพบุคคล จึงยังไม่มี สิทธิใดๆ ให้ผู ้อื นละเมิดได้ขอให้ศาลยกฟอง ข้อต่อสู ้ของนายแสวงฟงขึ นหรือไม่เพราะเหตุใด อนึ ง เมื อ ดช.ประสาทมีอายุ17 ปเศษ ได้ซื อรองเท้าจากร้านศึกษาภัณฑ์พานิชมา 1 คู ่ในราคา 35 บาท สัญญาซื อขายรายนี จะ มีผลสมบูรณ์หรือไม่ เพราะเหตุใด (1/2520) แนวการตอบนักศึกษาคนที  1 ประเด็น1. สิทธิของทารกในครรภ์มารดา 2. ความสามารถในการทำานิติกรรมของผู ้เยาว์ 3. ความสามารถในการทำานิติกรรมของคนวิกลจริต หลักกฎหมายบัญญัติอยู ่ใน ป.พ.พ. ดังนี  มาตรา 15 วางหลักว่า สภาพบุคคลย่อมเริ มขึ นแต่เมื อคลอดแล้วอยู ่รอดเปนทารกและสิ นสุดลงเมื อตาย ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิได้หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู ่รอดเปนทารก