ต นไม ม เปล อกแข งเป นการตอบสนองต อ

http://www.pm.ac.th/benjawan/response.ppt

การตอบสนองของพชื

การตอบสนองของพชื ต่อส่ิงแวดล้อม

1. การเคลอ่ื นไหวเนื่องจากการเจริญเตบิ โต (growth movement) - การตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) - การตอบสนองทเี่ กดิ จากสิ่งเร้าภายใน (autonomic movement)

2. การเคลอ่ื นไหวเน่ืองมาจากการเปลย่ี นแปลงแรงดนั เต่ง (turgor movement)

3. การตอบสนองของพชื ต่อสารควบคุมการเจริญเตบิ โต

การเคลอ่ื นไหวทเ่ี กดิ เน่ืองจากการเจริญเตบิ โต (growth movement)

1. การตอบสนองทเ่ี กดิ จากส่ิงเร้าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) มี 2 แบบ คอื 1.1 แบบมที ศิ ทางเกยี่ วข้องสัมพนั ธ์กบั สิ่งเร้า (tropism หรือ

tropic movement) การตอบสนองแบบนอี้ าจจะทาํ ให้ส่วนของพชื โค้งเข้าหาส่ิงเร้า เรียกว่า positive tropism หรือ เคลอื่ นทห่ี นีสิ่งเร้า ทม่ี ากระตุ้น เรียกว่า negative tropism จาํ แนกได้ตามชนิดของสิ่งเร้า ดงั นี้

1.1.1 โฟโททรอปิ ซึม (phototropism) เป็ นการตอบสนอง ของพชื ทต่ี อบสนองต่อส่ิงเร้าทเี่ ป็ นแสง พบว่าทป่ี ลายยอดพชื (ลาํ ต้น) มีทศิ ทางการเจริญเตบิ โตเจริญเข้าหาแสงสว่าง (positive phototropism) ส่วนทป่ี ลายรากจะมีทศิ ทางการ เจริญเตบิ โตหนีจากแสงสว่าง (negative phototropism)

1.1.2 จโี อทรอปิ ซึม (geotropism) เป็ นการตอบสนองของพชื ที่ ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลกโดยรากพชื จะเจริญเข้าหา แรงโน้มถ่วงของโลก (positive geotropism) เพอ่ื รับนํา้ และแร่ธาตุจาก ดนิ ส่วนปลายยอดพชื (ลาํ ต้น) จะเจริญเตบิ โตในทศิ ทางตรงข้ามกบั แรงโน้มถ่วงของโลก (negative geotropism) เพอ่ื ชูใบรับแสงสว่าง

1.1.3 เคมอทรอปิ ซึม (chemotropism) เป็ นการ ตอบสนองของพชื โดยการเจริญ เข้าหาหรือหนีจากสารเคมี บางอย่างทเี่ ป็ นส่ิงเร้า เช่น การงอกของหลอดละอองเรณู ไปยงั รังไข่ของพชื โดยมีสารเคมี บางอย่างเป็ นส่ิงเร้า

1.1.4 ไฮโดรทรอปิ ซึม (hydrotropism) เป็นการ ตอบสนองของพืชที่ ตอบสนองต่อความชื้น ซ่ึงรากของพืชจะงอกไปสู่ ท่ีมีความชื้น

1.1.5 ทกิ มอทรอปิ ซึม (thigmotropism) เป็ นการตอบสนอง ของพชื บางชนิดทต่ี อบสนองต่อการสัมผสั เช่น การเจริญของ มือเกาะ (tendril) ซ่ึงเป็ นโครงสร้างทยี่ น่ื ออกไปพนั หลกั หรือ เกาะบนต้นไม้อนื่ หรือพชื พวกทล่ี าํ ต้นแบบเลอื้ ยจะพนั หลกั ใน ลกั ษณะบิดลาํ ต้นไปรอบๆเป็ นเกลยี ว เช่น ต้นตาํ ลงึ ต้นพลู ต้นองุ่น ต้นพริกไทย เป็ นต้น

1.2 แบบมที ศิ ทางทไ่ี ม่สัมพนั ธ์กบั ทศิ ทางของส่ิงเร้า (nasty หรือ nastic movement)

การตอบสนองแบบนีจ้ ะมที ศิ ทางคงทคี่ อื การเคลอื่ นขนึ้ หรือลง เท่าน้ัน ไม่ขนึ้ กบั ทศิ ทางของสิ่งเร้า

การบานของดอกไม้ (epinasty) เกดิ จากกล่มุ เซล์ด้านในหรือ ด้านบนของกลบี ดอกยดื ตวั หรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านนอก หรือด้านล่าง

การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกดิ จากกล่มุ เซลล์ด้านนอก หรือด้านล่างของกลบี ดอกยดื ตวั หรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ ด้านมนหรือด้านบน

ตวั อย่างเช่น - ดอกบัว ส่วนมากมักหุบในตอนกลางคนื และ บานในตอนกลางวนั

- ดอกกระบองเพชร ส่วนมากจะบานใน ตอนกลางคนื และหุบในตอนกลางวนั

การบานของดอกไม้ขึน้ อยู่กบั ชนิดของพชื และสิ่งเร้า เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสง เป็ นต้น ถ้าส่ิงเร้าเป็ นแสงแล้วทาํ ให้เกดิ การตอบสนอง (เกดิ การ เคลอ่ื นไหว ด้วยการบานการหุบของดอกไม้) โฟโตนาสที (photonasty) ถ้า อุณหภูมิเป็ นส่ิงเร้ากเ็ รียกว่า เทอร์มอนาสที (thermonasty) ตัวอย่างเช่น ดอกบัว ส่วนมากมักหุบในตอนกลางคนื และบานในตอนกลางวนั แต่ดอกกระบองเพชร จะบานในตอนกลางคนื และจะหุบในตอนกลางวนั ทเ่ี ป็ นเช่นนีเ้ นื่องจากใน ตอนกลางคนื จะมีอณุ หภูมิตํ่าหรือเยน็ ลง ทาํ ให้กลุ่มเซลล์ด้านในของกลบี ดอก เจริญมากกว่าด้านนอกจงึ ทาํ ให้กลบี ดอกบานออก แต่ตอนกลางวนั อากาศอุ่นขนึ้ อุณหภูมิสูงขึน้ จะทาํ ให้กลุ่มเซลล์ด้านนอกเจริญยดื ตัวมากกว่าดอกจะหุบ

การบานและการหุบของดอกไม้มีเวลาจํากดั เท่ากบั การเจริญของเซลล์ ของกลบี ดอก เม่ือเซลล์เจริญยดื ตวั เตม็ ทแี่ ล้วจะไม่หุบหรือบานอกี ต่อไป กลบี ดอก จะโรยและหลดุ ร่วงจากฐานดอก

โฟโตนาสที (photonasty)

2. การตอบสนองทเี่ กดิ จากสิ่งเร้าภายในของต้นพชื เอง (autonomic movement)

เป็ นการตอบสนองทเ่ี กดิ จากการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายใน จาํ พวกฮอร์โมนโดยเฉพาะออกซิน ทาํ ให้การเจริญของลาํ ต้นท้งั สอง ด้านไม่เท่ากนั ได้แก่

2.1 การเอนหรือแกว่งยอดไปมา (nutation movement) เป็ นการเคลอื่ นไหวทเี่ กดิ เฉพาะส่วนยอดของพชื สาเหตุเนื่องจาก ด้านสองด้านของลาํ ต้น (บริเวณยอดพชื ) เตบิ โตไม่เท่ากนั ทาํ ให้ยอด พชื โยกหรือแกว่งไปมาขณะทปี่ ลายยอดกาํ ลงั เจริญเตบิ โต

2.2 การบิดลาํ ต้นไปรอบๆเป็นเกลียว (spiral movement) เป็นการเคล่ือนไหวที่ปลายยอดค่อยๆบิดเป็น เกลียวขึน้ ไป เม่อื เจริญเติบโตขึน้ ซึ่งเป็นการเคล่ือนไหวท่ี มองไม่เหน็ ด้วยตาเปล่า โดยปกติเราจะมองเหน็ ส่วนยอด ของพืชเจริญเติบโตขึน้ ไปตรงๆ แต่แท้จริงแล้วในส่วนที่ เจริญขึน้ ไปนัน้ จะบิดซ้ายขวาเลก็ น้อย เน่ืองจากลาํ ต้นทงั้ สองด้านเจริญเติบโตไม่เท่ากนั เช่นเดียวกบั นิวเทชนั ซ่ึง เรียกว่า circumnutation พืชบางชนิดมีลาํ ต้นอ่อนทอด เลือ้ ยและพนั หลกั ในลกั ษณะการบิดลาํ ต้นไปรอบๆ เป็นเกลียวเพ่ือพยงุ ลาํ ต้น เรียกว่า twining เช่น การพนั หลกั ของต้นมะลิวลั ย์ พริกไทย อญั ชนั ตาํ ลึง ฯลฯ

การเคลอื่ นไหวทเี่ กดิ เน่ืองจากการเปลย่ี นแปลงแรงดนั เต่ง (turgor movement)

ปกตพิ ชื จะมีการเคลอื่ นไหวตอบสนองต่อการสัมผสั (สิ่งเร้าจากภายนอก) ช้ามาก แต่มพี ชื บางชนิดทตี่ อบสนองได้เร็ว โดยการสัมผสั จะไปทาํ ให้มีการเปลยี่ นแปลงของปริมาณนํา้ ภายใน เซลล์ ทาํ ให้แรงดนั เต่ง (turgor pressure) ของเซลล์เปลยี่ นแปลงไป ซ่ึงเป็ นไปอย่างรวดเร็วและไม่ถาวร ซ่ึงมีหลายแบบ คอื

1. การหบุ ของใบจากการสะเทือน (contract movement) - การหบุ ใบของต้นไมยราบ ตรงบริเวณโคนก้านใบ

และโคนก้านใบย่อยจะมีกล่มุ เซลลช์ นิดหน่ึง (เซลล์ พาเรงคิมา) เรียกว่า พลั ไวนัส (pulvinus) ซ่ึงเป็นเซลลท์ ี่มี ขนาดใหญ่และ ผนังเซลลบ์ าง มีความไวสงู ต่อส่ิง เรา้ ที่มากระต้นุ เช่น การสมั ผสั เมือ่ ส่ิงเรา้ มาสมั ผสั หรอื กระต้นุ จะมีผลทาํ ให้แรงดนั เต่งของ กล่มุ เซลลด์ งั กล่าว เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ คือ เซลลจ์ ะสญู เสียนํ้าให้กบั เซลลข์ ้างเคียงทาํ ให้ใบหบุ ลงทนั ที หลงั จากนัน้ สกั ครนู่ ้ํา จะซึมผา่ นกลบั เข้าส่เู ซลลพ์ ลั ไวนัสอีก แรงดนั เต่ง ใน เซลลเ์ พิ่มขึน้ ทาํ ให้แรงดนั เต่งและใบกางออก

- การหุบของใบพชื พวกทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงรูปร่างไป เพอ่ื จบั แมลง ได้แก่ ใบของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลงิ ต้นสาหร่ายข้าวเหนียว ต้นกาบหอยแครง ต้นหยาดนํา้ ค้าง เป็ นต้น พชื พวกนีถ้ อื ได้ว่าเป็ นพชื กนิ แมลงจะมีการ เปลย่ี นแปลงรูปร่างของใบเพอ่ื ทาํ หน้าทจ่ี บั แมลง ภายในใบจะ มกี ล่มุ เซลล์หรือขนเลก็ ๆ (hair) ทไ่ี วต่อส่ิงเร้าอยู่ทางด้านใน ของใบ เม่อื แมลงบินมาถูกหรือมาสัมผสั จะเกดิ การสูญเสียนํา้ ใบจะเคลอ่ื นไหวหุบทนั ที แล้วจงึ ปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อย โปรตนี ของแมลงให้เป็ น กรดอะมโิ น จากน้ันจงึ ดูดซึมทผี่ วิ ด้านในน้ันเอง

2. การหุบใบตอนพลบคา่ํ ของพชื ตระกลู ถวั่ (sleep movement)

เป็ นการตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงความเข้มของแสงของพชื ตระกลู ถว่ั เช่น ใบก้ามปู ใบมะขาม ใบไมยราบ ใบถั่ว ใบแค ใบกระถนิ ใบ ผกั กระเฉด เป็ นต้น โดยท่ีใบจะหุบ ก้านใบจะห้อยและลู่ลงในตอนพลบคา่ํ เน่ืองจากแสงสว่างลดลง ซ่ึงชาวบ้านเรียกว่า “ต้นไม้นอน” แต่พอรุ่งเช้า ใบกจ็ ะกางตามเดมิ การตอบสนองเช่นนีเ้ กดิ จากการเปลยี่ นแปลง แรงดนั เต่งของกล่มุ เซลล์พลั ไวนัสที่โคนก้านใบ โดยกลุ่มเซลล์พลั ไวนัสนี้ เป็ นกลุ่มเซลล์ขนาดใหญ่และผนังเซลล์บาง มคี วามไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มา กระตุ้น เมอื่ ไม่มแี สงสว่างหรือแสงสว่างลดลง มผี ลทาํ ให้เซลล์ด้านหน่ึง สูญเสียนํา้ ให้กบั ช่องว่างระหว่างเซลล์ท่ีอยู่เคยี งข้างทาํ ให้แรงดนั เต่งลดลง ใบจึงหุบลง ก้านใบจะห้อยและลู่ลง พอรุ่งเช้ามแี สงสว่างนํา้ จะเคลอ่ื น กลบั มาทําให้แรงดนั เต่งเพม่ิ ขนึ้ และเซลล์เต่งดนั ให้ทล่ี ู่น้ันกางออก

3. การเปิ ดปิ ดของปากใบ (guard cell movement)

การเปิ ด-ปิ ดของปากใบขนึ้ อยู่กบั ความเต่งของเซลล์คุม (guard cell) ในตอนกลางวนั เซลล์คุมมกี ระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เกดิ ขนึ้ ทาํ ให้ภายในเซลล์คุมมรี ะดบั นํา้ ตาลสูงขนึ้ นํา้ จากเซลล์ ข้างเคยี งจะซึมผ่านเข้าเซลล์คุม ทาํ ให้เซลล์คุมมแี รงดนั เต่งเพม่ิ ขนึ้ ดนั ให้ผนังเซลล์คุมทแ่ี นบชิดติดกนั ให้เผยออก จงึ ทําให้ปากใบเปิ ด แต่เมอื่ ระดบั นํา้ ตาลลดลงเนื่องจากไม่มกี ระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง นํา้ กจ็ ะซ่ึมออกจากเซลล์คุม ทําให้แรงดนั เต่งในเซลล์คุมลดลงเซลล์จะ เหี่ยวและปากใบกจ็ ะปิ ด

การตอบสนองต่อส่ิงเร้าของพชื ด้วยการเคลอื่ นไหวแบบต่างๆ ที่ เกดิ ขนึ้ จะมีผลต่อประสิทธิภาพในการดาํ รงชีวติ ของพชื สรุปได้ดงั นี้

1. การหันยอดเข้าหาแสงสว่าง ช่วยให้พชื สังเคราะห์อาหารได้อย่างทว่ั ถงึ 2. การหันรากเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก ช่วยให้รากอยู่ในดนิ ซึ่งเป็ นแหล่ง ทพ่ี ชื ได้รับนํา้ และแร่ธาตุ 3. การเจริญเข้าหาสารเคมีของละอองเรณู ช่วยในการผสมพนั ธ์ุ การขยายกลบี ช่วยในการกระจายหรือรับละอองเกสร 4. การเคลอ่ื นไหวแบบ nutation , spiral movement และ twining movement ช่วยให้พชื เกาะพนั กบั ส่ิงอนื่ ๆสามารถชูกงิ่ หรือยอด เพอื่ รับแสงแดด หรือชูดอกและผลเพอ่ื การสืบพนั ธ์ุหรือกระจายพนั ธ์ุ 5. การหุบของต้นกาบหอยแครงช่วยในการจับแมลงหรืออาหาร การหุบ ของไมยราบช่วยในการหลบหลกี ศัตรู

สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ปัจจยั คือ 1. ปัจจยั ภายนอก (External Signals) - Light, Gravity, Mechanical, Stress, Pathogens and Insects …. 2. ปัจจยั ภายใน ( Internal Signals) - Hormones

ไม่ว่าจะเป็นการตอบสนองต่อ ปัจจยั ภายนอก หรือปัจจยั ภายใน จะคล้ายกนั ในระดบั เซลล์ คือ เกิดโดยขบวนการท่ีเรียกว่า Signal Transduction Pathways Model ซึ่งสมารถสรปุ ได้ดงั แผนภาพ ถดั ไป และ ตวั อย่าง ในการตอบสนองต่อแสง ใน Light induced Greening Response ผา่ นการทาํ งาน ของ Phytochrome

โปรดระลึกเสมอว่า ไมว่ ่าจะเป็นการตอบสนองต่อ ปัจจยั ภายนอก หรือ ปัจจยั ภายในพืช กระบวนการ หรือ กลไก ที่เกิดขึน้ และ ขนั้ ตอนที่เกิด การ ตอบสนอง จะมีความซบั ซ้อน มาก (Complexity ) เสมอแม้ว่าจะเกิดจากปัจจยั เพียงปัจจยั เดียว ใน ตอนเริ่มต้น

ฮอรโ์ มนพืช (Phytohormone) คือ สารเคมีที่พืช สร้างขึน้ ในปริมาณเพียงเลก็ น้อย และ มีผลต่อ ขบวนการ หรือ ควบคมุ การเจริญในพืช (Plant Development)

ปัจจบุ นั พบว่า เราสามารถสงั เคราะหส์ ารได้ หลายชนิด ท่ีมีสมบตั ิเหมอื น ฮอรโ์ มนพืช จึงจดั รวม กบั ฮอรโ์ มนพืช เรียกว่า สารควบคมุ การเติบโตของ พืช ( Plant Growth Regulators หรือ Substances )

ปัจจบุ นั จะแบง่ ฮอรโ์ มนพืชออกเป็น 5-6 กล่มุ ด้วยกนั คือ

1. ออกซิน (auxin) มาจากภาษากรีก แปลว่า ทาํ ให้เพ่ิม (to

increase)

2. ไซโทไคนิน (cytokinin) มาจาก เพ่ิมการแบง่ เซลล์

cytokinesis

3. จิบเบอเรลลิน (gibberellin) มาจากชื่อรา Gibberella

fujikuroi

4. กรดแอบไซซิค (abscisic acid) มาจาก การรว่ งของใบ

abscission

5. เอทิลีน (ethylene) เป็นชนิดเดียวท่ีเป็น กา๊ ซ ช่วยเรง่ การสกุ

ฮอรโ์ มนพืช แต่ละชนิด มีประวตั ิการค้นพบท่ีแตกต่างกนั ไป

1. ออกซิน (auxin) - ฮอรโ์ มนพืชตวั แรกท่ีค้นพบ

โดยเร่ิมจาก การศึกษาเกี่ยวกบั กระบวนการโค้งงอเข้าหา แสงของ ยอดอ่อนต้นกล้าของพืชใบเลี้ยงเด่ียว( coleoptile)

ซ่ึงต่อมาเรียกว่า Phototropism

การทดลองท่ีมกั อ้างถึง ได้แก่ การทดลองของ ชารล์ ดารว์ ิน กบั ลกู ชาย(Charles and Francis Darwin) ปี ค.ศ. 1880 และ ฟริตส์ เวนต์ (Frits W. Went) ปี ค.ศ. 1926-8

การเจริญเข้าหาแสงสว่าง ( Positive Phototropism ) ของเยื่อห้มุ ยอดอ่อนของ

ข้าวโอต๊ (Oat seedling coleoptile)

การทดลองของ

  1. W. Went ในปี ค.ศ. 1926 หรือ ปี พ.ศ. 2469 เกี่ยวกบั การโค้งเข้า หาแสงของ

เยื่อห้มุ ยอดอ่อน (coleoptile) ของ ต้นกล้าข้าวโอต๊

ออกซิน ธรรมชาติ (Natural Auxin) Indole-3-Acetic Acid (IAA) Indole-3-Butyric Acid (IBA)

ออกซิน สงั เคราะห์ (Synthetic Auxin) Naphthalene Acetic Acid (NAA) 2,4-Dicholophenoxy acetic acid (2,4-D) 2,4,5-Trichlorophenoxy acetic acid (2,4,5-T)

แปemหลbลาrย่งyทยo)่ีอสดงั เคตราายะอหด์ ใในบพอืช่อชนนั้ แสลงู ะคตือ้นบอร่อิเวนณในเนเมื้อลเยด็ ื่อ(เsจeeรdิญท่ี หน้าที่สาํ คญั

เร่งการขยายตวั ของเซลล์ และ กระต้นุ การแบง่ เซลล์ กระต้นุ การออกราก - เร่งการออกดอกของพืชบางชนิด ยบั ยงั้ การเจริญของตาข้าง - ป้ องกนั ใบร่วง - เปล่ียน

เพศดอก Phototropism & Gravitropism - สารกาํ จดั วชั พืช - อ่ืน

2. ไซโทไคนิ น (cytokinin) เป็นฮอรโ์ มนพืชที่ค้นพบเน่ืองมาจากการ

วิจยั ด้านการเพาะเลีย้ งเนื้อเยอ่ื พืช (plant tissue culture) โดยทีมนักวิจยั นํา โดย F. Skoog มหาวิทยาลยั Wisconsin พบว่าน้ํามะพร้าว และ นํ้าสะกดั จาก ยีสต์ จะสามารถ เร่งการแบง่ เซลลใ์ นการเพาะเลีย้ งเนื้อเยือ่ พชื ได้ เมอื่ แยก และทาํ ให้บริสทุ ธิพบวา่ เป็น N6-furfurylamino purine และเรียกว่า kinetin เน่ืองจากเป็นสารเรง่ กระบวนการแบง่ เซลล์ (cytokinesis) ซ่ึงถอื ว่าเป็น cytokinin ตวั แรกที่ค้นพบ แต่ชนิดท่ีพบมากท่ีสดุ ในพืชคือ Zeatin (พบครงั้ แรกในข้าวโพด=Zea mays) ช่ือ cytokinin เสนอโดย Skoog และคณะ ในปี 1965

แหล่งท่ีสงั เคราะห์ ในพืชชนั้ สงู คือ บริเวณเนื้อเย่ือ ท่ีกาํ ลงั เจริญ โดยเฉพาะท่ีราก ต้นอ่อน และ ผล

หน้าท่ีสาํ คญั กระต้นุ การแบง่ เซลล์ และ เร่งการขยายตวั ของ เซลล์ ส่งเสริมการเจริญของตาข้าง - ชะลอการแก่ของ ใบ ช่วยการงอกของเมลด็ - ควบคมุ การปิ ดเปิ ด ปากใบ

 อีกตวั อย่างของการทาํ งานรว่ มกนั ของ Auxin กบั Cytokinin

3. จิบเบอเรลลิน (gibberellin) เป็นฮอรโ์ มนพืช ท่ีค้นพบโดยปัญหาท่ีพบโดย ชาวนาญ่ีป่ นุ เก่ียวกบั โรคชนิดหนึ่งของข้าว ที่ทาํ ให้ลาํ ต้นสงู กว่าปกติ และ ให้ผลผลิตตา่ํ ซ่ึงต่อมา ร1น9าัก3ชว8ินทพิยดบาหวศน่าาึ่สงสชาตเื่อหรGตช์ iาุ bเวกbeิดญreม่ีปllา่ aนุ จfชาu่ือกjiสkEuา.rรKoทiuี่ผซroลึ่งsเิตaมwโ่ือดaแยใยเนชกปื้อี gแiลbbะทerาํeใllหin้บริสทุ ธ์ิแล้ว จึงตงั้ ชื่อ สารนี้ว่า

แหล่งท่ีสงั เคราะห์ ในพืชชนั้ สงู คือ บริเวณเนื้อเย่ือท่ีกาํ ลงั เจริญ เช่นปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน และ ต้นอ่อน

หน้าที่สาํ คญั ของ GA เร่งการขยายตวั ของเซลล์ และ การยืดของลาํ ต้น เร่งการออกดอก - การแสดงออกของเพศดอก - การ ติดผล ช่วยการงอกของเมลด็ และ ตา (bud) - ทาํ ลายการพกั ตวั ของเมลด็ และ อื่น ๆ… โดยทาํ หน้าท่ีร่วมกบั hormone ชนิดอ่ืน ๆ