ต วช ว ดภาษาไทย ม.๑ ภาคเร ยนท ๑ และ ๒

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปญั หาและอปุ สรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กุลให)้ ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ........................................................................................... ...................................................................... ......... ............................................................................................................................. ............................................. ลงชือ่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หนว่ ยที่ ๑ ราชาธริ าช ตอนสมงิ พระรามอาสา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรียนรูท้ ่ี ๘ วิเคราะหภ์ าษาจากราชาธิราช ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การเข้าใจลักษณะและความหมายของคาพอ้ งทใ่ี ชใ้ นวรรณคดี ทาให้เข้าใจเน้ือความท่ีอา่ นได้ถูกตอ้ ง 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลง ของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทย ไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ 3. ตวั ชี้วัด ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สร้างคาในภาษาไทย ท ๔.๑ ม. ๑/๓ วิเคราะหช์ นดิ และหน้าทีข่ องคาในประโยค 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายลกั ษณะของคาพ้องและความหมายของคาที่เปน็ คาพ้อง 2. ทักษะกระบวนการ (P) วเิ คราะห์ชนดิ ของคาพ้อง 3. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของการเรียนรู้คาพ้องท่ีทาให้ภาษาไทยไพเราะและสละสลวย 5. สาระการเรียนรู้ ๑. คาพ้อง ๒. ชนดิ ของคา 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ช้คาถามท้าทายว่าความไพเราะคมคายของเร่ือง ราชาธริ าชเกดิ จากสิ่งใดบา้ ง ขัน้ พฒั นาผ้เู รียน ๑. นกั เรยี นศึกษาความรู้เรือ่ ง คาพ้อง แล้วร่วมกันอธิบายในประเดน็ ต่อไปน้ี - คาพ้องมลี ักษณะอย่างไรบ้าง - คาพ้องรูปและคาพ้องเสียงมีลักษณะตา่ งกันอย่างไร - คาพ้องรปู พอ้ งเสียงเป็นอย่างไร - การสงั เกตความหมายของคาพ้องมหี ลักการสาคัญอย่างไร

๒. นกั เรียนช่วยกันยกตัวอยา่ งคาพ้องแต่ละชนิด พร้อมท้ังอธบิ ายความหมายของคา ๓. นกั เรยี นร่วมกันนาคาพ้องทย่ี กตัวอยา่ งมาแต่งประโยคหลาย ๆ แบบ เชน่ แต่งประโยคที่ใช้คา พอ้ ง ๑ คา แต่งประโยคท่ีใช้คาพ้อง ๒ คา ครูบนั ทึกประโยคท่ีนักเรียนแต่งบนกระดานและชว่ ยปรับปรุงแกไ้ ข ๔. นกั เรียนรว่ มกันทบทวนความรู้เร่ือง ชนดิ ของคา แล้วสรุปความเข้าใจ ๕. นกั เรียนร่วมกันวเิ คราะห์คาพอ้ งในประโยคทีอ่ ยูบ่ นกระดานว่าเป็นคาชนิดใด ครูชว่ ยอธบิ าย เพิ่มเติมและตรวจสอบความถูกต้อง ๖. นักเรยี นนาความรู้เร่อื งคาพอ้ ง และชนิดของคามาวิเคราะห์การใช้ภาษาในเรอื่ งราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา โดยพจิ ารณาประโยคที่กาหนดให้ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ม้าดีได้ต้องเอามือต้องหลังดกู ่อนจึงจะรู้ว่าดี ๒) สตรีรูปงามถา้ พร้อมดว้ ยลักษณะกริ ยิ ามารยาทตอ้ งอยา่ งจงึ ควรนบั ว่างาม ๓) ขณะเมอ่ื สมิงพระรามราสนิ้ เพลงทวนแลว้ แกล้งทากลอุบายหวังจะดูชอ่ งเกราะ หมายสาคัญ ๔) หญงิ เจ้าของจึงเอาข้าวเปลอื กมาตาได้ราแลว้ ก็รอ้ งเรียกลูกม้าดจุ ดังทุกวนั ๕) ถา้ ใจดตี ้องทดลองให้ส้นิ เชิงปัญญาก่อนจงึ จะนบั วา่ ดี ๖) ต้งั พระทยั คอยท่าสมิงพระรามอยู่ ๗. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และครูอธิบายเพม่ิ เติม ข้ันสรุป นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ การเขา้ ใจลักษณะและความหมายของคาพ้องที่ใชใ้ นวรรณคดี ทาให้เขา้ ใจเน้อื ความท่ีอ่านได้ถูกต้อง 7. สอ่ื การเรียนรู้ แถบประโยค

8.การวดั ผลประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐาน เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคัญ แบบประเมิน แบบฝึกหัด ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ การเข้าใจลักษณะและ แบบฝึกหัด “วิเคราะห์ภาษา จากราชาธริ าช” ความหมายของคาพ้องท่ีใชใ้ น “วเิ คราะห์ภาษาจาก แบบประเมนิ การ วรรณคดี ทาให้เข้าใจเนื้อความที่ ราชาธิราช” “วเิ คราะห์ภาษา จากราชาธิราช” อา่ นได้ถูกต้อง ตวั ชี้วัด -ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สรา้ งคาใน แบบฝกึ หัด ภาษาไทย “วิเคราะหภ์ าษาจาก - ท ๔.๑ ม. ๑/๓ วิเคราะห์ชนิดและ หน้าท่ีของคาในประโยค ราชาธิราช” คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เหน็ ความสาคญั ของการเรยี นรู้ แบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด “วิเคราะห์ภาษา คาในภาษาไทยเพ่อี นาไปใช้อยา่ ง “วิเคราะห์ภาษาจาก จากราชาธริ าช” ถูกต้อง ราชาธิราช”

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส)์ ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง ตอบคาถามได้ ๑. อธบิ ายลกั ษณะของ แสดงเหตุผลในการ (๓) ดี (๒) พอใช้ แตไ่ ม่แสดงเหตุผลใน การตอบคาถาม คาพ้องและความหมาย ตอบคาถาม ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง ตอบคาถามกระตุน้ ของคาทเ่ี ปน็ คาพ้อง (K) ตอบคาถามไดอ้ ย่าง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล ความคิดและ ชัดเจน ในการตอบ วิเคราะหค์ าพ้องจาก ตอ่ เนือ่ งครบถ้วน ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง คาถามได้ เรือ่ งเรื่องไม่ได้ ต่อเนือ่ งครบถว้ น ตอบคาถามได้ สมั พนั ธ์กับหัวข้อที่ กาหนด ๒. วเิ คราะห์ชนิดของ ตอบคาถามกระต้นุ ตอบคาถามกระตนุ้ ตอบคาถาม ความคดิ และและ กระตนุ้ ความคิด คาพ้อง (P) ความคดิ และ วิเคราะห์คาพ้องจาก ไดถ้ ูกตอ้ งเพยี ง เรือ่ งจากเรื่องได้ บางส่วนและและ วิเคราะหค์ าพอ้ งจาก ถกู ต้องเพียงบางส่วน วิเคราะห์คาพ้อง จากเรือ่ งไม่ได้ เรือ่ งได้ดีถกู ตอ้ ง สมบรู ณ์ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ 10-9 คะแนน 8-7 คะแนน 6-5 คะแนน 4-0 คะแนน ๓. เหน็ ความสาคัญของ นกั เรยี นใชค้ าใน นกั เรียนใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน การเรียนรคู้ าพ้องทท่ี าให้ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ภาษาไทยไพเราะและ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ถูกต้อง เขยี นยงั เขยี นคาพนื้ ฐาน สละสลวย(A) ถกู บริบทและ ถกู บริบทและ ไมถ่ ูกต้องตาม ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง กาลเทศะ เขียนคา กาลเทศะ เขยี นคา อักขรวธิ ี เขียนคา พนื้ ฐานได้ถูกต้อง พ้ืนฐานมีข้อผิดพลาด พ้ืนฐานได้ถูกต้อง ทั้งหมด เล็กนอ้ ย บ้าง เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปญั หาและอุปสรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจริ าพร กลุ ให)้ ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรยี น ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ผ้อู านวยการโรงเรยี น

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หนว่ ยท่ี ๑ ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรียนรู้ท่ี ๙ การใช้ไมย้ มก ครผู สู้ อนนางสาวจริ าพร กุลให้ วนั ท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั ไมย้ มก (ๆ) จะใชเ้ ม่ือเปน็ คาซ้า และเม่ือต้องการซ้าคา วลี หรือประโยคเดิมอีกครงั้ หน่งึ ซึ่งตอ้ งเป็นคา ชนิดเดยี วกันและอยู่ในเน้ือความเดียวกัน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ 3. ตวั ชวี้ ัด ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สร้างคาในภาษาไทย 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายหลักการใช้ไมย้ มก 2. ทกั ษะกระบวนการ (A) วิเคราะห์การใช้ไมย้ มกเพือ่ ซ้าคา 3. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (P) เหน็ ความสาคญั ของการใช้ไม้ยมกเพ่ือซา้ คาได้ถูกต้อง 5. สาระการเรียนรู้ การใชไ้ มย้ มก 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน ครสู นทนากับนักเรยี นเก่ยี วกับการใช้คาซ้า และการใช้คาซ้ามีความสาคัญอย่างไร ขัน้ พฒั นาผูเ้ รยี น ๑. นักเรียนอา่ นแถบขอ้ ความที่ครตู ดิ บนกระดานพรอ้ มกัน ดงั น้ี พ่ี ๆ นอ้ ง ๆ ของผมมกั จะพูด ๆ ว่า อานฐิ เคยมเี งินเปน็ ล้าน ๆ แตถ่ ูกเพ่ือน ๆ หลอกไปจนหมด หลงั ๆ มานี้ เขาจงึ กลัว ๆ เมอื่ ใคร ๆ ชวนไปทาธุรกิจ เขาจะปฏิเสธเสมอ ๆ

๒. นกั เรียนพจิ ารณาและแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั การใช้ภาษาของข้อความขา้ งตน้ ๓. นักเรยี นช่วยกนั เรียบเรียงข้อความใหม่ เพื่อเลือกใช้คาทีม่ ไี มย้ มกอยา่ งเหมาะสม ซง่ึ อาจ เรยี บเรียงได้ดงั นี้ พ่ีนอ้ งของผมมักจะพดู ว่า อานิฐเคยมีเงินเป็นล้าน ๆ แต่ถกู เพอ่ื นหลอกไป จนหมด ตั้งแต่นัน้ มาเขาจงึ กลวั เมือ่ ใคร ๆ ชวนไปทาธรุ กจิ เขาจะปฏิเสธเสมอ ๔. นักเรยี นทบทวนความรู้เรื่องคาซ้าไมเ่ ปล่ยี นเสียง และรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกับ ข้อควรระวังใน การใช้ไม้ยมก พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ๕. นักเรยี นพจิ ารณาการใชไ้ ม้ยมกในเรื่อง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา จากข้อความท่ี กาหนดให้ ถา้ ข้อความใดใช้ไม้ยมกไมถ่ ูกต้อง ให้แก้ไขให้ถกู ตอ้ ง ดงั น้ี “ผู้คมุ ได้ฟงั กช็ อบใจ จงึ นาถอ้ ยคาสมงิ พระรามรีบเขา้ ไปแจ้งแก่เสนาบดี ๆ ได้ฟัง กม็ คี วามชื่นชม” “มา้ ทงั้ ปวงน้ีก็สามารถเคยผจญทาสงครามได้รบั อับจนมาเป็นอนั มาก แต่ล้วนดี ๆ ทงั้ นั้นเลอื กมิได้” “ชักมา้ เปน็ เพลงผ่าหมากแลกเปล่ยี นกนั ต่าง ๆ” “สมงิ พระรามไดท้ ีกส็ อดทวนแทงถูกซอกรักแรก้ ามะนี ๆ เอนตวั ลง” “ถงึ ทา่ นจะเอาทิพยสมบัตขิ องสมเด็จอมรนิ ทรม์ ายกใหเ้ รา ๆ กม็ ิได้ปรารถนา” “พระเจ้าฝรงั่ มังฆ้องกต็ รสั เตือนวา่ มาเรว็ ๆ” “พระราชธิดาเกรงพระราชอาญาขัดรับสงั่ สมเดจ็ พระราชบิดามไิ ด้ ก็ยกพานพระศรีมาตั้งลงเฉพาะ หนา้ สมิงพระรามแตห่ า่ ง ๆ” “เสนาบดีข้าราชการใหญน่ ้อยรับ ๆ สัง่ แล้วก็ถวายบงั คมลาออกจากเฝา้ ” “ฝ่ายสมิงพระรามกก็ ลับมาที่อยู่ จงึ เขียนหนังสือสองฉบับ ๆ หน่ึงซอ่ นไวใ้ ต้หมอน” “ความทราบถงึ เสนาบดี ๆ กร็ ีบเข้าไปกราบทูลพระเจา้ มณเฑยี รทอง ๆ ไดแ้ จง้ แล้วก็สะด้งุ ตกพรระทยั ” ๖. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และครูอธิบายสรุปเป็นความร้เู พิม่ เติม ๗. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ ๕ กล่มุ ชว่ ยกันค้นหาการใชไ้ ม้ยมกจากข่าวในหนงั สอื พิมพ์ต่าง ๆ แล้วคัดลอก ขอ้ ความนน้ั ร่วมกนั พิจารณาวา่ ใช้ไมย้ มกไดถ้ ูกต้องหรอื ไม่ ถ้าไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้ถกู ต้อง ๘. แต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงาน ทุกคนรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง และแสดง ความคิดเหน็

ขน้ั สรุป นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ดังนี้ ไมย้ มก (ๆ) จะใช้เม่ือเป็นคาซ้า และเมื่อต้องการซ้าคา วลี หรือประโยคเดิมอีกครง้ั หนง่ึ ซึง่ ตอ้ งเปน็ คาชนดิ เดียวกันและอย่ใู นเน้ือความเดียวกัน 7. สื่อการเรียนรู้ ๑. แถบข้อความ ๒. หนงั สือพิมพ์ ๓. กระดาษสาหรบั ทากิจกรรม 8. การวดั ผลประเมินผล หลักฐาน เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน เปา้ หมาย แบบฝึกหดั แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ สาระสาคญั “ไมย้ มก” แบบฝกึ หัด “ไม้ยมก” ไม้ยมก (ๆ) จะใช้เม่อื เปน็ แบบฝกึ หดั คาซา้ และเม่ือต้องการซ้าคา วลี “ไมย้ มก” แบบประเมินการ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ หรือประโยคเดิมอีกครั้งหนง่ึ ซ่ึงตอ้ ง “ไมย้ มก” เปน็ คาชนดิ เดยี วกันและอยใู่ น เนือ้ ความเดยี วกนั ตัวชี้วัด -ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สรา้ งคาใน ภาษาไทย คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เห็นความสาคญั ของการใชไ้ ม้ “ไม้ยมก” แบบฝึกหดั “ไมย้ มก” ยมกเพ่ือซ้าคาได้ถูกต้อง

เกณฑ์การประเมินผล (รบู รกิ ส)์ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรงุ ๑. นักเรยี นอธิบาย ตอบคาถามได้ หลักการใชไ้ ม้ยมก(K) แสดงเหตผุ ลในการ (๓) ดี (๒) พอใช้ แต่ไม่แสดงเหตุผลใน ตอบคาถาม การตอบคาถาม 2. นกั เรียนวเิ คราะห์ ตอบคาถามไดอ้ ย่าง ตอบคาถามได้ถูกต้อง ตอบคาถามได้ การใชไ้ มย้ มกเพอื่ ซ้าคา ต่อเนอื่ งครบถ้วน และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง นักเรียนวเิ คราะห์คา (K) ตอบคาถามได้ การตอบคาถามได้ และแสดงเหตุผล ไม้ยมกจาก สมั พนั ธ์กบั หวั ข้อท่ี ชัดเจน ในการตอบ หนังสอื พมิ พ์ไมไ่ ด้ กาหนด ตอบคาถามไดอ้ ย่าง คาถามได้ ต่อเน่ืองครบถว้ น นักเรยี นวิเคราะห์คา ไม้ยมกจาก นกั เรยี นวเิ คราะห์คา นักเรยี นวิเคราะห์ หนังสือพมิ พ์ได้ ไม้ยมกจาก คาไมย้ มกจาก ถูกต้องทง้ั หมด หนงั สือพมิ พ์ไดม้ ี หนังสอื พมิ พ์ได้ ขอ้ ผดิ พลาดเลก็ น้อย บา้ ง ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ 10-9 คะแนน 8-7 คะแนน 6-5 คะแนน 4-0 คะแนน ๓. นกั เรียนเห็น นักเรียนใชค้ าไมย้ มก นกั เรยี นใช้คาไม้ยมก นกั เรยี นใชค้ าไม้ นักเรียนใช้คาไมย้ มก ในภาษาไทยได้ ยมกในภาษาไทย ในภาษาไทยได้ไม่ ความสาคัญของการใชไ้ ม้ ในภาษาไทยได้ ถูกต้อง และ ได้ถูกตอ้ งและ ถกู ต้อง และไม่ เหมาะสม เหมาสะมบ้าง เหมาะสมกับข้อความ ยมกเพื่อซา้ คาไดถ้ ูกต้อง ถูกต้อง และ ข้อผิดพลาดเลก็ น้อย (A) เหมาะสมทัง้ หมด เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปัญหาและอปุ สรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กุลให)้ ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ................................................................ (นางสาวนภัสนันท์ นลิ บตุ ร) ผูอ้ านวยการโรงเรยี น

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หนว่ ยที่ ๑ ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ การใช้คาเปรียบเทียบ ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ วันทีส่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ อปุ มาเปน็ การใช้ถ้อยคาเปรียบเทียบให้เหน็ ภาพพจนท์ ่ชี ดั เจน ซึ่งมกั มีคาวา่ ดัง เหมือน ดุจ ใน ขอ้ ความท่แี สดงการเปรยี บเทียบนน้ั 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชีวิต และมีนสิ ยั รักการอ่าน 3. ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบแุ ละอธิบายคาเปรยี บเทยี บและคาทม่ี หี ลายความหมายในบรบิ ท ต่าง ๆ จากการอา่ น 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายลกั ษณะของการใชค้ าเปรยี บเทยี บ 2. ทักษะกระบวนการ (A) วเิ คราะห์ความหมายของคาเปรียบเทยี บ 3. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (P) เหน็ ความสาคัญของการใช้คาเปรยี บเทยี บเพ่ือสื่อความหมายทชี่ ดั เจน 5. สาระการเรียนรู้ การใช้คาเปรียบเทยี บ 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทายว่า การอธบิ ายให้ผู้อื่นเข้าใจชดั เจนมวี ธิ ี ใดบ้าง ขั้นพัฒนาผ้เู รียน ๑. นักเรียนอ่านบตั รคาบนกระดานทีละคู่ แล้วเปรยี บเทยี บความหมาย ซน ซนเหมือนลิง ขาว ขาวเหมือนสาลี ร้อน ร้อนเหมือนไฟ

๒. นกั เรยี นศึกษาความรเู้ รอื่ ง การเปรยี บแบบอุปมา แลว้ รว่ มกันสนทนาในประเดน็ ต่อไปนี้ - อุปมาคอื อะไร - ข้อความทเี่ ปน็ อปุ มาสงั เกตได้จากส่งิ ใด ๓. นักเรียนช่วยกันยกตวั อย่างการกลา่ วอุปมาทีเ่ คยไดย้ นิ หรอื เคยใช้ในชีวิตประจาวนั ครูเขยี น บนั ทึกบนกระดาน ๔. ครยู กตัวอยา่ งการใช้อปุ มาที่ปรากฏในคาประพนั ธ์ ให้นักเรยี นศกึ ษาเปน็ แนวทาง ดงั ตัวอยา่ ง และให้นักเรยี นช่วยกนั ระบขุ ้อความท่ีเป็นอุปมาและอธิบายความหมาย ดังหมายดวงหมายเดือนดารากร ปางพี่มาดสมานสมุ าลย์สมร อนั ลอยพนื้ อาพรโพยมพราย เพลงยาวเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ๕. ครูอธิบายสรุปเป็นความร้เู พ่มิ เตมิ และให้นักเรยี นบันทึกสาระสาคัญ ๖. นกั เรียนพิจารณาข้อความจากเร่อื ง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา ทเ่ี ปน็ โวหารภาพพจน์ เชงิ อปุ มา แล้วชว่ ยกนั อธบิ ายว่ากวีเปรียบสิง่ ใดเหมือนส่ิงใด “พระเจา้ กรงุ จนี ยกมาครง้ั นน้ั อุปมาดังฝนตกหา่ ใหญ่ตกลงน้านองท่วมปา่ ไหลเชีย่ วมาเม่ือว สันตฤดูน้ัน” “ครั้นจะรบั อาสาบดั นี้เล่า กเ็ หมือนหาบสองบา่ อาสาสองเจ้าหาควรไม่” “ตกพนกั งานข้าพเจ้าจะรบั อาสาผูกจิตสมิงพระรามไวใ้ หอ้ ยู่จงได้ อุปมาดังแพทยผ์ ู้วิเศษ ผูกกณั หสปั ปะชาตคิ ืองเู หา่ ใหญด่ ว้ ยมนตราคมอันกล้าขลงั มใิ หพ้ ่นพิษและเล้อื ยหนีไปได้” “ดวงกมลก็จะหวน่ั ไหวไปดว้ ยความปฏิพทั ธอ์ ุปมาดังชายธงอนั ตอ้ งลม” “ซงึ่ ข้าพเจ้าคิดทาดงั นเ้ี ปรียบประดุจนางเมขลาเทพธิดาล่อแก้วให้รามสรู เหน็ รามสูรหรอื จะไม่รักแก้ว” “อนง่ึ ถ้าไดส้ วามีเปน็ ลูกกษัตริย์ มชี าติตระกลู เสมอกนั เลา่ ก็ตาม น่จี ะได้ผวั มอญต่างภาษาเป็น เพียงนายทหาร อุปมาดังหงส์ตกลงในฝงู กา ราชสีหเ์ ข้าปนกับหมเู่ สอื ” “อันบรุ ุษเปรยี บประดจุ พชื ธัญญาหาร ถ้าโรยปลูกเพาะหวา่ นแล้ว กม็ ีแต่งอกงามสูงใหญ่ ขึน้ ไป”

“ลูกนถี้ งึ เปน็ ราชบตุ รี เกิดในวงศ์กษัตริยม์ ชี าติตระกลู สูง กเ็ ปรยี บเหมือนตัณฑลุ า จะโปรยหวา่ นเพาะปลูกมิอาจเจรญิ ขึน้ ได้” “อนงึ่ ข้าพเจา้ เล่าก็ต่างประเทศภาษา อุปมาดังนกเคา้ ถงึ มีกาลังอยู่ก็จริงแตต่ กเขา้ อยูใ่ น ทา่ มกลางฝูงกาเม่ือกลางวัน” “พระองคไ์ มร่ กั ษาพระวาจา ตรสั ผิดไปเอง สมิงพระรามจึงไดห้ นไี ป อปุ มาดงั คนปลูก พฤ๘ก.ษชคารตูแิใลหะใ้ นหกั ญเรส่ ียงู นแรล่ว้วมตกัดันยตอรดวหจสักอกบิง่ เคสวยี า”มถกู ต้อง และอธบิ ายสรปุ เปน็ ความร้เู พ่ิมเติม ๗. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง และอธิบายสรปุ เปน็ ความร้เู พ่ิมเตมิ ขั้นสรุป นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั น้ี อุปมาเปน็ การใช้ถ้อยคาเปรียบเทียบใหเ้ หน็ ภาพพจนท์ ่ี ชัดเจน ซงึ่ มกั มีคาวา่ ดัง เหมือน ดจุ ในข้อความที่แสดงการเปรียบเทยี บนน้ั 7. สือ่ การเรียนรู้ ๑. บัตรคา ๒. แถบข้อความ 8. การวัดผลประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครือ่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคญั แบบฝึกหดั แบบประเมนิ อปุ มาเปน็ การใช้ถ้อยคา “อปุ มาพาสอนใจ” แบบฝึกหัด “อุปมาพาสอนใจ” เปรยี บเทียบให้เหน็ ภาพพจน์ที่ ชดั เจน ซงึ่ มักมีคาวา่ ดงั เหมือน ดจุ ในข้อความทแ่ี สดงการเปรยี บเทยี บ น้นั ตัวชี้วดั แบบฝึกหัด แบบประเมินการ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบแุ ละอธบิ ายคา “อปุ มาพาสอนใจ” “อุปมาพาสอนใจ” รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เปรยี บเทยี บและคาที่มีหลาย ความหมายในบรบิ ทต่าง ๆ จากการ แบบฝกึ หดั แบบประเมิน อ่าน “อุปมาพาสอนใจ” แบบฝกึ หดั “อุปมาพาสอนใจ” คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เห็นความสาคญั ของการใชค้ า เปรยี บเทียบเพื่อสอ่ื ความหมายท่ี ชดั เจน

เกณฑ์การประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ ระดับคุณภาพ ๑. นกั เรียนอธบิ าย ลักษณะของการใช้คา (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง เปรียบเทียบ (K) ตอบคาถามได้ แสดงเหตุผลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ แต่ไม่แสดงเหตุผลใน 2. นกั เรยี นวเิ คราะห์ การตอบคาถาม ความหมายของคา ตอบคาถาม และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง เปรียบเทยี บ (K) ตอบคาถามกระตุ้น ตอบคาถามได้อยา่ ง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล ความคดิ และ วเิ คราะห์คา ต่อเนอ่ื งครบถ้วน ชดั เจน ในการตอบ เปรยี บเทียบจากเรื่อง เร่อื งไม่ได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไดอ้ ย่าง คาถามได้ สมั พันธ์กับหวั ข้อที่ ตอ่ เนอ่ื งครบถว้ น กาหนด ตอบคาถามกระตุ้น ตอบคาถามกระต้นุ ตอบคาถาม ความคดิ และ ความคดิ และและ กระตนุ้ ความคดิ วิเคราะหค์ า วิเคราะห์คา ไดถ้ ูกต้องเพียง เปรยี บเทยี บจากเรื่อง เปรียบเทียบจากเร่ือง บางสว่ นและ ไดด้ ถี ูกต้องสมบรู ณ์ จากเรือ่ งได้ถูกต้อง วิเคราะหค์ า เพียงบางส่วน เปรียบเทยี บจาก เรือ่ งไม่ได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ ทาคะแนนได้ 10-9 คะแนน 8-7 คะแนน 6-5 คะแนน 4-0 คะแนน ๓. นกั เรยี นเหน็ นกั เรยี นใช้คาใน นกั เรยี นใช้คาใน นกั เรียนใช้คาใน นกั เรยี นใช้คาใน ความสาคญั ของการใช้ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง คาเปรียบเทยี บเพื่อส่ือ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ ถูกต้อง เขยี นยัง เขยี นคาพนื้ ฐาน ความหมายทีช่ ดั เจน(A) ถกู บรบิ ทและ ถูกบริบทและ ไมถ่ ูกตอ้ งตาม ภาษาไทยไม่ถูกต้อง กาลเทศะ เขยี นคา กาลเทศะ เขียนคา อกั ขรวธิ ี เขยี นคา พื้นฐานได้ถกู ต้อง พน้ื ฐานมขี ้อผิดพลาด พื้นฐานได้ถกู ต้อง ทัง้ หมด เล็กนอ้ ย บา้ ง เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปญั หาและอุปสรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจริ าพร กลุ ให)้ ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรยี น ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ผ้อู านวยการโรงเรยี น

แผนการจัดการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หน่วยท่ี ๑ ราชาธิราช ตอนสมงิ พระรามอาสา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๑๑ การพูดแสดงความคดิ ครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั การพูดแสดงความคิดอย่างสร้างสรรค์ต้องใช้ความคิดพิจารณาประเด็นต่าง ๆ แล้วจึงแสดงความคิด นั้นใหป้ รากฏ เพอื่ ให้เปน็ ประโยชน์แกผ่ ฟู้ ัง โดยเปน็ ความคิดริเร่ิม แปลกใหม่และสร้างสรรค์สงั คม 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรูส้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างเหน็ คุณค่า และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ 3. ตวั ช้วี ดั ท ๓.๑ ม. ๑/๓ พดู แสดงความคิดเหน็ อย่างสร้างสรรค์เกย่ี วกับเร่ืองที่ฟังและดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายหลักการพูดแสดงความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - วิเคราะหป์ ระเด็นท่ีกาหนดอย่างมีเหตผุ ล - พูดแสดงความคดิ เห็นอยา่ งสร้างสรรค์ 3. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั ของการพูดแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ลและสร้างสรรค์ 5. สาระการเรยี นรู้ การพูดแสดงความคิดอย่างสร้างสรรค์ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามท้าทายว่า การพูดลกั ษณะใดทเ่ี ปน็ ผลดตี ่อผูพ้ ูด และการพูดลักษณะใดท่เี ป็นผลเสียตอ่ ผู้พูด ข้นั พัฒนาผู้เรยี น ๑. นักเรยี นศึกษาความร้เู รอ่ื ง การพูดแสดงความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ แล้วร่วมกันสรปุ ความเข้าใจ ครูอธิบายเพิ่มเตมิ

๒. นกั เรยี นศึกษาตัวอย่างการพูดแสดงความคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ เรื่อง การดลู ะครโทรทัศน์หลังข่าว ภาคค่า เพ่ือเป็นแนวทาง ดงั นี้ เรยี น อาจารย์ทเ่ี คารพ และสวัสดเี พ่ือน ๆ ทกุ คนครับ ผมเชอื่ วา่ เพ่ือน ๆ คงชอบดลู ะครโทรทัศน์หลังข่าวภาคคา่ ซ่ึงเรมิ่ ออกอากาศเวลาประมาณ ๒๐.๓๐ น. ถึงประมาณ ๒๒.๐๐ น. ดว้ ยเหตุผลต่าง ๆ กนั แต่สว่ นใหญ่ดูเพราะความท่ตี ิดละครเร่ืองนน้ั หรือชอบนกั แสดง ในละครเร่ืองน้ัน ผมคดิ ว่าการดลู ะครในชว่ งนี้ ก็มที ัง้ ขอ้ ดีและข้อเสยี ซ่ึงผมจะไดช้ แ้ี จงตามความคิดเห็นให้ เพ่อื น ๆ พิจารณา ดงั น้ี ขอ้ ดขี องการดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่า ๑. เป็นช่วงเวลาทีค่ นส่วนใหญ่เสรจ็ สิ้นภารกจิ การงาน เดินทางกลบั บา้ นแล้วรบั ประทานอาหารเย็นแล้ว หากเป็นนักเรียนก็เป็นช่วงเวลาท่ีทาการบ้าน ทบทวนหนงั สือเรียน และเตรยี มจดั หนงั สือเรียนสาหรับวันรุง่ ขึ้น เสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ เวลาทเ่ี หลอื ก่อนทจี่ ะเขา้ นอนจงึ เป็นช่วงเวลาทส่ี อดคลอ้ งกับการดลู ะครโทรทศั น์ ๒. ละครโทรทศั น์ที่ออกอากาศในช่วงเวลานี้ มีเน้ือหาสนกุ สนานชวนตดิ ตาม นกั แสดงเปน็ ดาราท่ีมี ช่ือเสยี ง ขวญั ใจผชู้ มหลาย ๆ ระดบั อายุ จึงทาให้เราไดร้ บั ทั้งความเพลดิ เพลนิ ข้อคดิ และประโยชน์อื่น ๆ จาก การดลู ะครโทรทศั น์ ๓. คนส่วนใหญจ่ ะดลู ะครโทรทศั นใ์ นช่วงเวลาน้ี จงึ ทาให้เราไม่ตกยคุ และมหี วั ข้อเรอื่ งจากการดลู ะครท่ี จะนามาสนทนากนั ไดด้ ว้ ย ขอ้ เสียของการดลู ะครโทรทัศน์ แม้ว่าละครโทรทัศน์ในช่วงหลงั ขา่ วภาคคา่ จะเป็นท่นี ิยมเพยี งใดกต็ าม ผมก็คิดว่ายงั มีข้อเสียทีเ่ พื่อน ๆ ควรพิจารณาด้วย ดงั นี้ ๑. ละครโทรทัศนเ์ กือบทกุ เรื่องจะใชเ้ วลาออกอากาศประมาณ ๑ ช่วั โมง จึงจบเวลาประมาณสี่ท่มุ กวา่ จะไดเ้ ข้านอนกต็ ้องหลงั จากสี่ทุ่มไปแล้ว หากเปน็ วนั ธรรมดากน็ ับว่าดกึ เกินไปสาหรบั ผูท้ ี่จะตอ้ งตนื่ แตเ่ ช้าไป โรงเรยี น การนอนดึกมากทาให้รา่ งกายพักผ่อนไม่เพยี งพอ สมองไม่ปลอดโปร่ง ดงั นน้ั ในวันรงุ่ ข้ึนก็จะเกิด อาการงว่ งนอน ทาให้เรียนหนงั สอื ไม่ร้เู ร่ืองเท่าที่ควร ลองคิดดูสิครับว่าถา้ เพ่ือน ๆ นอนดึกเชน่ น้ีทกุ คืน สุขภาพ รา่ งกายและจติ ใจจะเปน็ เชน่ ไร

๒. แม้วา่ เพ่ือน ๆ จะได้ทาการบ้านและทบทวนหนงั สือเรียนเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ แต่กย็ ังมีความรอู้ ีก มากมายที่ชว่ ยเสรมิ การเรียนของเรา ซ่ึงเพ่ือน ๆ จะหาความรเู้ หล่านไ้ี ดจ้ ากการอ่านหนงั สอื ดี ๆ หรือการอา่ น ในเวบ็ ไซต์ท่ีใหค้ วามรู้ เวลาครง่ึ ช่วั โมงหลงั จากการทาการบ้านเสร็จ จึงเปน็ ชว่ งเวลาท่ีมีประโยชน์ในการเปิด โลกทัศน์ของเราให้กว้างไกลยงิ่ ขน้ึ หากเพ่ือน ๆ มีเครื่องคอมพิวเตอรห์ รือมีหนังสือดี ๆ อยทู่ ่บี ้าน กน็ ่าจะใช้ เวลานเี้ พมิ่ พนู ความรู้ ให้ตัวเองดกี ว่าน่งั จมอย่หู นา้ โทรทัศน์เพ่อื ดูละครท่ีอาจจะใหแ้ ต่ความเพลิดเพลนิ อย่าง เดยี วแต่ไมม่ ีสาระความรู้เลย ๓. รายการโทรทัศนห์ ลงั ขา่ วภาคค่าไม่ได้มเี ฉพาะละครเท่านน้ั โทรทศั นบ์ างช่องนาเสนอรายการดี ๆ มี สาระ หรือรายการสรุปประเดน็ ข่าวน่าสนใจ เชน่ รายการที่นี่ประเทศไทย รายการเมอื งไทยรายวนั ก็นา่ จะเป็น ทางเลอื กทดี่ สี าหรับเพอื่ น ๆ ที่อยากจะหาความรเู้ พ่ิมเตมิ จากการดโู ทรทัศน์ ๔. แม้วา่ ละครโทรทัศน์ในชว่ งนีจ้ ะไดร้ ับความนยิ มสงู แต่ก็ใช่วา่ จะเหมาะสมกับ พวกเราไปทุกเรือ่ ง เพราะบางเรอื่ งกม็ เี น้ือหาเสยี ดสปี ระชดประชนั สังคม คนในวงการตา่ ง ๆ บางเร่ืองก็สะท้อนให้เหน็ ชีวติ และ พฤติกรรมของคนบางกลุ่มที่อาจกลายเปน็ ดาบสองคม คอื กลายเป็นตัวอยา่ งทีไ่ ม่ดีให้แก่เดก็ วยั รุน่ เพราะนสิ ัย กา้ วรา้ ว อิจฉาริษยา หรือฟมุ่ เฟอื ยไปโดยไม่รู้ตวั บางเร่อื งก็ม่งุ เนน้ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งหญิงชายอย่างไม่ เหมาะสม เพือ่ น ๆ ครบั เราควรเลือกดเู ฉพาะละครโทรทศั นบ์ างเร่ืองและบางวันเท่านั้น เชน่ เฉพาะวันศกุ ร์และ วันหยดุ หรอื ดลู ะครเร่ืองทไ่ี ดร้ บั การแนะนาว่าใหข้ ้อคดิ แกผ่ ู้ชมแต่ต้องรู้จกั การประมาณเวลาทพ่ี อดแี ก่การดู ดว้ ย เพือ่ น ๆ ครบั ละครดี ๆ มสี าระทเ่ี ปน็ ประโยชน์ก็ควรดู แต่ละครท่ีไรส้ าระ ไมม่ ีคุณค่า ก็อย่าไปดูให้ เสยี เวลา เสยี สขุ ภาพกายและใจเลยครับ สวัสดคี รับ ๓. นักเรียนรว่ มกนั พูดแสดงทรรศนะเกี่ยวกบั บทบาทของสมิงพระราม เปรียบเทยี บกับคาประพนั ธ์ ตอ่ ไปนี้ว่าเหมือนหรือต่างกนั อย่างไร ครูช่วยแนะนาเพ่ิมเติม มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์ แขนมอบถวายทรงธรรม์ เทอดหลา้ ดวงใจมอบเมียขวัญ และแม่ เกียรตศิ ักดริ์ กั ข้า มอบไว้แกต่ ัว พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๖ กลมุ่ เลือกแผ่นป้ายระดมความคิดเพือ่ พูดแสดงความคิดอย่างสร้างสรรค์ เก่ยี วกับลกั ษณะและความเหมาะสมของรายการโทรทัศนต์ ่อไปนี้ - รายการสาหรบั เดก็ - รายการข่าวประจาวัน - รายการข่าวบนั เทิง

- รายการเกมโชว์ - รายการ variety - รายการสารคดี ๕. แต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมาพูดกค่ี นกไ็ ด้ เม่ือนักเรยี นฟังการนาเสนอของแต่ละกลมุ่ แล้ว ให้ รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ และประเมนิ การพดู ขนั้ สรุป นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี การพูดแสดงความคิดอยา่ งสร้างสรรค์ต้องใชค้ วามคิด พิจารณาประเดน็ ตา่ ง ๆ แล้วจึงแสดงความคิดนนั้ ให้ปรากฏ เพ่อื ให้เป็นประโยชนแ์ ก่ผฟู้ ัง โดยเปน็ ความคดิ ริเรม่ิ แปลกใหมแ่ ละสรา้ งสรรค์สังคม 7. สอื่ การเรยี นรู้ ๑. ตัวอยา่ งการพดู แสดงความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ ๒. แผน่ ปา้ ย 8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลักฐาน เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ เปา้ หมาย แบบฝึกหัด แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ สาระสาคัญ “พดู สร้างสรรค์ แบบฝึกหัด ปันความรู้” “พดู สร้างสรรค์ การพูดแสดงความคิดอย่าง ปันความรู้” สรา้ งสรรค์ต้องใชค้ วามคิดพจิ ารณา ประเดน็ ตา่ ง ๆ แล้วจึงแสดง ความคดิ น้ันใหป้ รากฏ เพ่ือให้เปน็ ประโยชน์แกผ่ ู้ฟงั โดยเปน็ ความคิด รเิ ริม่ แปลกใหม่และสร้างสรรค์ สงั คม ตัวชวี้ ดั แบบฝึกหัด แบบประเมินการ - ท ๓.๑ ม. ๑/๓ พดู แสดงความ “พูดสร้างสรรค์ “พดู สร้างสรรค์ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ คดิ เหน็ อย่างสร้างสรรคเ์ กี่ยวกับเรื่อง ปนั ความรู้” ปนั ความรู้” ท่ฟี งั และดู - ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการ แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ฟัง การดู และการพดู “พูดสร้างสรรค์ แบบฝึกหดั - ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วิเคราะห์ ปันความรู้” “พดู สรา้ งสรรค์ วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น ปนั ความรู้” พรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เหน็ ความสาคัญของการพดู แสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล และสรา้ งสรรค์

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบริกส์) ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. อธบิ ายหลกั การพูด แสดงเหตุผลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ แสดงความคดิ อยา่ ง ตอบคาถาม และแสดงเหตผุ ลใน ถกู ต้อง แตไ่ ม่แสดงเหตผุ ลใน สรา้ งสรรค(์ K) ตอบคาถามได้อย่าง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล การตอบคาถาม ตอ่ เนอ่ื งครบถ้วน ชดั เจน ในการตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้อยา่ ง คาถามได้ สัมพันธ์กบั หวั ข้อที่ ต่อเน่อื งครบถ้วน กาหนด 2. นกั เรียนวเิ คราะห์ พูดแสดงความ พูดแสดงความคดิ เหน็ พดู แสดงความ พูดแสดงความคดิ เหน็ ประเดน็ ที่กาหนดอย่าง คดิ เห็นได้อย่างมี ได้อย่างมเี หตผุ ลและ คดิ เห็นได้อยา่ งมี ได้อยา่ งมีเหตุผลและ มเี หตผุ ล พูดแสดง เหตุผลและสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ เหตผุ ลและ สรา้ งสรรค์ ความคิดเห็นอย่าง ประเมนิ เร่ืองที่ฟงั ประเมินเร่ืองที่ฟงั และ สร้างสรรค์ ประเมนิ เร่ืองท่ีฟงั และ สรา้ งสรรค์ (P) และดูได้ครบถว้ น ดไู ดค้ รบถว้ น ประเมนิ เร่ืองท่ีฟงั ดูได้ดี แต่ขาดบาง ทุกประเดน็ ทกุ ประเดน็ แต่ขาด และดูได้ดี แต่ ประเด็นที่สาคัญ รายละเอียดเล็กนอ้ ย บางประเด็นท่ี สาคญั ๓. นกั เรียนเห็น นักเรยี นลาดบั คาพูด นกั เรียนลาดับคาพูด นักเรียนลาดับ นกั เรยี นลาดบั คาพดู ความสาคญั ของการพูด ได้ถูกตอ้ ง ได้ถูกตอ้ ง ใชถ้ อ้ ยคา คาพูดไดถ้ ูกต้อง วกวน ใชถ้ ้อยคา แสดงความคดิ เหน็ อย่าง ใชถ้ ้อยคาสละสลวย สละสลวย มมี ารยาท การใชถ้ อ้ ยคา สะดุดติดขัด ไม่ มเี หตุผลและสรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการพูดท่ี ในการพดู ทเ่ี หมาะสม สะดดุ ตดิ ขดั ไม่ สละสลวย (A) เหมาะสม บ้างเล็กนอ้ ย สละสลวย มมี ารยาทในการพดู ท่ี มมี ารยาทในการ เหมาะสม พูดทเ่ี หมาะสม เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กลุ ให้) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วยที่ ๑ ราชาธริ าช ตอนสมงิ พระรามอาสา เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรียนรู้ท่ี ๑๒ การพดู สรุปความจากเรอื่ งท่ีฟงั และดู ครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วันท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั การพูดสรุปความจากเร่ืองท่ีฟังและดู ทาให้ได้รับข้อมูลท่ีกระชับ ประหยัดเวลา ได้สาระสาคัญ ครบถ้วน และทาใหก้ ารสื่อสารเกดิ ประสทิ ธิภาพ ได้รบั ประโยชน์ท้ังผู้พูดและผ้ฟู ัง 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง 3. ตัวชี้วดั ท ๓.๑ ม. ๑/๑ พูดสรปุ ใจความสาคญั ของเร่ืองท่ีฟังและดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้(K) อธิบายแนวทางการพดู สรปุ ความจากเร่อื งทีฟ่ ังและดู 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - จับใจความสาคัญจากเรื่องท่ีฟงั และดู - พดู สรปุ ความจากเร่ืองที่ฟังและดู 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั ในการพูดสรปุ ความจากเรื่องท่ีฟงั และดูในชวี ิตประจาวัน 5. สาระการเรียนรู้ การพูดสรุปความจากเร่ืองท่ีฟังและดู 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น นกั เรียนร่วมกันสนทนาเก่ยี วกับประสบการณ์การนาเร่ืองราวจากการดกู าร์ตูน ละคร หรือ ภาพยนตร์ มาเล่าสู่กนั ฟงั

ข้ันพัฒนาผูเ้ รยี น ๑. ครูนาเทปบนั ทึกรายการโทรทศั น์ที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กับบทเรียนหรอื เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี น นามาเปิดให้นักเรยี นดแู ละเขียนสรปุ ความ นาเสนอครู ๒. ครคู ัดผลงานทสี่ รุปความได้ดีทสี่ ุดจานวน ๕ ตัวอยา่ ง ใหน้ ักเรยี นพูดสรปุ ความของตนเองให้ เพ่ือนฟังหน้าช้ันเรียน ครูอธิบายแนะนาเพมิ่ เติม ๓. นักเรยี นศึกษาความรเู้ ร่ือง การพูดสรปุ ความจากเรื่องที่ฟังและดู แล้วรว่ มกนั สรปุ ความเข้าใจ ครู อธิบายเพิ่มเติม ๔. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม ๖ กลุ่ม ประชุมกลุ่มอภปิ รายในลักษณะระดมความคดิ ในหัวข้อท่ีกาหนดให้ กลุ่มละ ๑ หวั ขอ้ ดงั น้ี - ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั สานวนเปรียบเทียบท่ีว่า “หาบสองบ่า อาสาสองเจ้า หาควรไม่” - ความคดิ เห็นเก่ยี วกับการอาสาสกู้ ับทหารจนี ของสมิงพระราม - ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การศึกของพระเจ้ากรงุ จีนคร้ังนวี้ า่ เป็น “สงครามธรรมยุทธ์” - ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั วธิ ีของพระอัครมเหสีในการใช้ยางรักผูกใจสมงิ พระราม - ความคิดเห็นเกี่ยวกบั การทีส่ มิงพระรามหนกี ลับกรุงหงสาวดี - ความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั คากลา่ วที่วา่ “สตรดี ุจตัณฑลุ า บุรุษดังพืชธัญญาหาร” ๕. สมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกนั บันทึกความคิดเห็นของทุกคน แล้วนาผลการประชุมมาสรุปเป็นแผนภาพ ความคดิ เพ่ือจดั ระบบความคิด และเรียบเรยี งใจความสาคัญเปน็ บทพูด คัดเลอื กผ้พู ดู และช่วยกนั ฝกึ ซ้อม ๖. นักเรียนตัวแทนกลุ่มออกมาพูดสรุปความทีละกลุ่ม นักเรยี นและครรู ่วมกันประเมนิ ท้ังเนื้อหา และการพูด ข้ันสรปุ นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังนี้ การพูดสรปุ ความจากเรอื่ งท่ีฟังและดู ทาให้ไดร้ ับขอ้ มลู ท่กี ระชับ ประหยัดเวลา ไดส้ าระสาคัญครบถ้วน และทาใหก้ ารส่ือสารเกิดประสิทธภิ าพ ไดร้ บั ประโยชน์ทงั้ ผพู้ ูดและผฟู้ ัง 7. สือ่ การเรยี นรู้ เทปบันทึกรายการโทรทัศน์

8. การวัดผลประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐาน เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ สาระสาคัญ แบบฝึกหัด แบบประเมิน การพูดสรปุ ความจากเร่ือง “สรุปความจากเรื่อง แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ “สรปุ ความจาก ทีฟ่ งั และดู ทาให้ไดร้ บั ขอ้ มูลท่ี ทฟ่ี งั ” เรอื่ งที่ฟงั ” กระชับ ประหยดั เวลา ได้ สาระสาคญั ครบถ้วน และทาให้การ แบบฝึกหัด แบบประเมินการ สอ่ื สารเกิดประสิทธิภาพ ได้รับ “สรปุ ความจากเร่ือง “สรุปความจาก ประโยชนท์ งั้ ผพู้ ูดและผ้ฟู งั ทฟ่ี ัง” เรือ่ งท่ีฟงั ” ตัวช้ีวดั - ท ๓.๑ ม. ๑/๑ พูดสรปุ ใจความ สาคญั ของเรื่องท่ีฟงั และดู - ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มีมารยาทในการ ฟงั การดู และการพูด - ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วเิ คราะห์ วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบฝกึ หัด แบบประเมินการ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เห็นความสาคญั ในการพูดสรุป “สรปุ ความจากเรื่อง “สรปุ ความจาก ความจากเรื่องที่ฟังและดใู น ที่ฟัง” เรื่องท่ีฟงั ” ชีวติ ประจาวนั

เกณฑก์ ารประเมินผล (รูบรกิ ส)์ ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธิบายแนว แสดงเหตผุ ลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ทางการพูดสรุปความ ตอบคาถาม และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง แต่ไม่แสดงเหตผุ ลใน จากเรอ่ื งที่ฟงั และดู ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล การตอบคาถาม (K) ต่อเนอื่ งครบถ้วน ชัดเจน ในการตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไดอ้ ย่าง คาถามได้ สัมพันธ์กบั หวั ข้อที่ ตอ่ เนื่องครบถ้วน กาหนด 2. นกั เรยี นจับใจความ สรุปความร้ไู ด้ถูกต้อง สรุปความรูไ้ ดถ้ ูกต้อง สรุปความร้ไู ด้ สรุปความรู้ได้ถูกต้อง สาคญั จากเร่ืองที่ฟงั สรปุ ขอ้ คิด ได้หลาย และสรุปข้อคดิ และดู พดู สรุปความ ประเดน็ เสนอนว สรปุ ข้อคิดได้หลาย ถูกต้องสรปุ ข้อคิด เพียงประเด็นเดียว จากเรอ่ื งท่ีฟังและดู ทางการนาไปใช้ที่ การเสนอแนวทาง (P) หลากหลาย เป็นไป ประเด็น เสนอ ไดห้ ลายประเด็น ทจ่ี ะนาไปใช้ใน ในทางสร้างสรรคแ์ ละ ชวี ติ จรงิ ไมช่ ัดเจน แนวทางการนาไปใช้ท่ี แต่การเสนอ สร้างสรรค์และ แนวทางท่ีจะ เช่ือมโยงกับชีวิตจริง นาไปใชไ้ มช่ ัดเจน เชอ่ื มโยงกบั ชวี ิตจริง แตย่ ังไมห่ ลากหลาย ๓. นกั เรยี นเห็น นกั เรียนลาดับคาพดู นกั เรยี นลาดบั คาพดู นกั เรยี นลาดับ นกั เรียนลาดับคาพูด ความสาคญั ในการพูด ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง ใชถ้ ้อยคา คาพูดได้ถูกต้อง วกวน ใช้ถอ้ ยคา สรุปความจากเรอื่ งที่ฟัง ใชถ้ อ้ ยคาสละสลวย สละสลวย มมี ารยาท การใช้ถอ้ ยคา สะดุดตดิ ขัด ไม่ และดูในชีวิตประจาวนั มมี ารยาทในการพดู ที่ ในการพดู ท่ีเหมาะสม สะดุดตดิ ขดั ไม่ สละสลวย (A) เหมาะสม บ้างเล็กน้อย สละสลวย มมี ารยาทในการพูดที่ มมี ารยาทในการ เหมาะสม พูดทเี่ หมาะสม เกณฑ์การประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปญั หาและอปุ สรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กุลให)้ ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ........................................................................................... ...................................................................... ......... ............................................................................................................................. ............................................. ลงชือ่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หน่วยที่ ๑ ราชาธริ าช ตอนสมงิ พระรามอาสา เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรยี นรู้ที่ ๑๓ การเขียนแนะนาตัวเอง ครผู สู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั การเขยี นแนะนาตนเองเปน็ การนาเสนอข้อมลู เกย่ี วกบั ตนเองใหผ้ อู้ ืน่ รับทราบเพอ่ื ประโยชน์อย่างใด อยา่ งหนึง่ ซ่ึงข้อมลู ทัง้ หมดต้องเปน็ ความจริง 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียน เรื่องราวในรปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน การศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. ตวั ช้วี ัด ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขียนสอื่ สารโดยใชถ้ อ้ ยคาถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขียน 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายหลกั การเขยี นแนะนาตนเอง 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) เขียนแนะนาตนเอง 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของการเขยี นแนะนาตนเองซ่ึงสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ 5. สาระการเรยี นรู้ การเขียนแนะนาตวั เอง 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถามทา้ ทายว่า นักเรยี นช่ืนชมสง่ิ ใดในตนเอง ขั้นพัฒนาผูเ้ รยี น ๑. นักเรยี นศึกษาความรูเ้ รื่อง การเขียนแนะนาตนเอง แลว้ ร่วมกนั สนทนาในประเดน็ ต่อไปน้ี - การเขียนแนะนาตนเองมวี ตั ถุประสงคใ์ ด - การเขยี นแนะนาตนเองเขียนในโอกาสใดได้บ้าง - การเขยี นแนะนาตนเองมหี ลักการเขียนอย่างไร - ขอ้ มูลที่ควรนาเสนอในการเขียนแนะนาตนเองมีอะไรบา้ ง

๒. ครอู ธบิ ายสรุปเปน็ ความรเู้ พมิ่ เติม และให้นักเรียนบนั ทึกสาระสาคญั ๓. ครนู าตวั อย่างการเขียนแนะนาตนเองมาติดที่ป้ายนเิ ทศใหน้ ักเรยี นไดศ้ ึกษาเป็นแนวทาง ๔. นักเรยี นแตล่ ะคนจัดระบบข้อมลู ท่จี ะนามาเขยี นแนะนาตนเอง โดยใช้แผนภาพความคิด จากนน้ั ลองหารปู แบบการนาเสนอที่นา่ สนใจแลว้ ฝึกเรียบเรยี ง ๕. นกั เรียนเขียนแนะนาตนเองใหผ้ อู้ ื่นรู้จกั และเกิดความชน่ื ชมในตวั นกั เรยี นเปน็ ใบงาน การเขียน แนะนาตนเอง ๖. ครูคดั เลือกผลงานของนักเรียนทเี่ ขยี นแนะนาตนเองได้ดีที่สุด ๕ ตวั อยา่ ง ติดแสดงที่ ปา้ ยนิเทศ ใหน้ ักเรียนศึกษาและวิจารณ์ ขัน้ สรุป นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ การเขียนแนะนาตนเองเป็นการนาเสนอขอ้ มลู เก่ียวกับ ตนเองใหผ้ ู้อ่ืนรบั ทราบเพ่ือประโยชน์อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ซ่ึงข้อมูลทั้งหมดตอ้ งเป็นความจรงิ 7. สื่อการเรยี นรู้ ๑. ตัวอยา่ งการเขียนแนะนาตนเอง ๒. กระดาษสาหรบั ทากิจกรรม 8. การวัดผลประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐาน เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคัญ แบบฝึกหดั แบบประเมิน การเขยี นแนะนาตนเองเปน็ “การเขยี นแนะนา แบบฝกึ หัด ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ “การเขียนแนะนา รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ การนาเสนอข้อมลู เกยี่ วกบั ตนเองให้ ตัวเอง” ตวั เอง” ผู้อื่นรบั ทราบเพอ่ื ประโยชนอ์ ย่างใด อย่างหนึง่ ซึ่งขอ้ มูลทงั้ หมดต้องเป็น แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ การ ความจริง “การเขียนแนะนา ““การเขยี นแนะนา ตวั ชีว้ ดั ตัวเอง” ตัวเอง” - ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขียนสือ่ สาร แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ โดยใชถ้ อ้ ยคาถกู ต้อง ชดั เจน “การเขยี นแนะนา แบบฝกึ หัด เหมาะสม และสละสลวย “การเขียนแนะนา ตัวเอง” ตัวเอง” - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทใน การเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เห็นความสาคญั ของการ เขยี นแนะนาตนเองซ่งึ สามารถนาไป ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวันได้

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบริกส์) ประเดน็ การประเมิน ระดบั คุณภาพ ๑. นักเรยี นอธิบาย หลักการเขียนแนะนา (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ตนเอง (K) แสดงเหตผุ ลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ 2. นักเรยี นเขยี น แนะนาตนเอง (P) ตอบคาถาม และแสดงเหตุผลใน ถกู ต้อง แต่ไม่แสดงเหตุผลใน ๓. นกั เรียนเหน็ ตอบคาถามไดอ้ ย่าง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล การตอบคาถาม ความสาคัญของการ เขียนแนะนาตนเองซึ่ง ตอ่ เนือ่ งครบถ้วน ชดั เจน ในการตอบ สามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ น ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไดอ้ ย่าง คาถามได้ ชวี ิตประจาวนั ได้ (A) สมั พันธก์ บั หวั ข้อท่ี ตอ่ เนื่องครบถ้วน กาหนด เขียนแนะนา ตนเอง เขียนแนะนาตนเอง เขยี นแนะนา เขียนแนะนาตนเอง โดยใหข้ ้อมลู ถูกต้อง โดยใหข้ อ้ มูลถูกต้อง ตนเองโดยให้ โดยให้ข้อมูลถูกต้อง ครบถว้ นและเขยี นได้ ครบถ้วนและเขียนได้ ข้อมลู ถูกต้อง ครบถ้วนแตเ่ ปน็ การ น่าเชอื่ ถอื กลวิธีการ นา่ เช่อื ถอื มวี ธิ ี ครบถว้ น วธิ กี าร เขียนธรรมดา นาเสนอนา่ สนใจ นาเสนอทด่ี ี การ นาเสนอใช้ได้ แต่ การลาดบั ความคิด ลาดับความคิดดีมาก ต้องปรับปรงุ เรื่อง และใชภ้ าษาดมี าก และใช้ภาษาดี การลาดับ ความคดิ และการ ใช้ภาษา นกั เรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรียนใชค้ าใน ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ถูกต้อง เขียนยงั เขียนคาพน้ื ฐาน ถกู บรบิ ทและ ถูกบรบิ ทและ ไม่ถูกตอ้ งตาม ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง กาลเทศะ เขยี นคา กาลเทศะ เขยี นคา อักขรวิธี เขียนคา พนื้ ฐานได้ถกู ต้อง พน้ื ฐานมีข้อผดิ พลาด พ้ืนฐานได้ถกู ต้อง ทงั้ หมด เลก็ นอ้ ย บ้าง เกณฑ์การประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปญั หาและอปุ สรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กุลให)้ ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ........................................................................................... ...................................................................... ......... ............................................................................................................................. ............................................. ลงชือ่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองเป็ด

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๑ ราชาธิราช ตอนสมงิ พระรามอาสา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรียนรู้ท่ี ๑๔ การเขยี นพรรณนาโวหาร ครูผ้สู อน นางสาวจริ าพร กุลให้ วนั ท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ พรรณนาโวหารเป็นการเขียนอธิบายรายละเอยี ดของสิง่ ต่าง ๆ หรือความรู้สึกอยา่ งประณีต ละเอียดลออ เพือ่ ให้ผอู้ ่านเกิดความซาบซงึ้ และเกิดจินตภาพ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี น เรอื่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงาน การศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. ตวั ชี้วัด ท ๒.๑ ม. ๑/๔ เขียนเรียงความ ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขยี น 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายลักษณะของพรรณนาโวหาร 2. ทักษะกระบวนการ (P) เขยี นความเรียงแบบพรรณนาโวหาร 3. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) กระตือรือร้นในการเรียนร้แู ละฝึกฝน 5. สาระการเรยี นรู้ การเขียนความเรยี งแบบพรรณนาโวหาร 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ชค้ าถามทา้ ทายว่าคนมกั กล่าวกนั ว่า กวีหรือจิตรกรจะมี อารมณ์อ่อนไหว นักเรียนคิดว่าความมีอารมณ์อ่อนไหวน่าจะหมายความว่าอย่างไร ขน้ั พฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเก่ียวกับส่งิ ท่กี วมี กั จะถ่ายทอดผา่ นงานเขยี น เช่น ความคดิ ความเชอื่ จนิ ตนาการ คาสอน การพรรณนาถึงความงดงามของสิง่ ต่าง ๆ ๒. ครูอธบิ ายลกั ษณะของพรรณนาโวหารใหน้ กั เรียนฟงั พร้อมกับศกึ ษาตัวอยา่ งการเขียนพรรณนา โวหาร เชน่

บ้านดอยเม่ือสมัยสิบกว่าปีก่อนยังเป็นชนบทห่างไกล เต็มไปด้วยกล่ินอายเก่า ๆ เสียงซึงดังกังวาน ควันไฟลอยพลุ่ง ๆ พ้นยอดไม้เม่ือยามเย็น สายแห่งหมอกเหมยเฉียบช้ืนยามใกล้แจ้ง น้าค้างตกจากชายคาดัง เปาะ ๆ กองไฟลกุ โพลง (หุบเขากินคน : มาลา คาจันทร)์ “ศพนัน้ ลืมตาโพลง ลกู ตาสีเขียวเรอื ง ๆ ผมสีน้าตาล หนา้ สีน้าตาล ตัวผอม เห็นซ่โี ครงเป็นซ่ี ๆ หอ้ ย เอาหัวลงมาทานองค้างคาว แต่เป็นค้างคาวตัวใหญ่ที่สุด เม่ือจับถูกตัวก็เย็นชืด เหนียว ๆ เหมือนงู ปรากฏ เหมือนหนง่ึ วา่ ไม่มีชวี ิต แตห่ างซ่ึงเหมอื นหางแพะน้นั กระดิกได้” (นทิ านเวตาล : พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพทิ ยาลงกรณ) พลบมืดใกล้ค่านั้น ผืนฟ้าเบื้องบนสาดแสงสีแดงก่า ลูกไฟดวงโตท้ิงดวงลงลับโลกลาฟ้าอันโพล้เพล้ ทุกอย่างที่ตกอยู่ในความมืดก็อาจแลดูตะคุ่ม ๆ อาพรางสายตาคนได้ไม่ยากบนส่วนหนึ่งของพ้ืนธรณีจึงเสมือน หน่ึงจะปรากฏสัตว์เลื้อยคลานร่างกายใหญ่โตขึ้นตัวหน่ึงมองดูดามะเมื่อมไปตลอดลาตัวภายใต้ความขมุกขมัว ของเวลาเข้าไต้เข้าไฟ ภายใต้ความมืดกระดากระด่างน้ัน ดูคล้ายกับว่าเจ้าสัตว์ตัวใหญ่อักโขตัวนี้ มันอ้าปากโต ๆ เห็นแผงฟันซ่ีแหลมคมส่งเสยี งร้องหวีดแหลมกึกก้องไปทั่วปริมณฑลบริเวณ เสยี งแหลมยืดยาวนั้นไม่ทันขาด มันก็เริ่มเคลื่อนตัวอันทะมึนทึนยาวเหยียดของมันฝ่าความมืดสลัวคลานออกไปจากท่ีตรงน้ันอย่างเช่ืองช้า ดวงตากลมของมันเปดิ เรอื งขึน้ รบั ความมดื ... (เพอ่ื นรว่ มทาง : อญั ชนั ) ขณะพระองค์เสด็จมาใกลเ้ บญจคีรนี ครคือราชคฤห์ เป็นเวลาจวนส้ินทิวาวาร แดดใน ยามเย็นกาลังอ่อน ลงสู่สมัยใกล้วิกาล ทอแสงแผ่ซ่านไปยังสาลีเกษตร แลละลิ่วเห็นเป็นทางสว่าง ไปทั่วประเทศสุดสายตา ดู ประหนึ่งมีหัตถ์ทิพย์มาปกแผ่อานวยสวัสดี เบื้องบนมีกลุ่มเมฆเป็นคลื่นซ้อนซับสลับกันเป็นทิวแถว ต้อง แสงแดดจับเป็นสีระยับวะวับแววประหน่ึงเอาทรายทองไปโปรย-ปราย เลื่อนลอยล่ิว ๆ เรี่ย ๆ รายลงจดขอบ ฟ้า. ชาวนาและโคก็เมื่อยล้าด้วยตรากตราทางาน ต่างพากันดุ่ม ๆ เดินกลับเคหสถานเห็นไร ๆ. เงาหมู่ไม้อัน โดดเดี่ยวอยู่กอเดียว ก็ยืดยาวออกทุกที ๆ มีขอบปริมณฑลเป็นรัศมีแห่งสีรุ้ง. อนั กาแพงเชิงเทินป้อมปราการที่ ล้อมกรุงรวมท้ังทวารบถทางเข้านครเล่า มองดูในขณะนั้นเห็นรูปเค้าได้ชัดถนัดแจ้งด่ังนิรมิตไว้ มีสุมทุมพุ่มไม้ ออกดอกดกโอบอ้อมล้อมแน่นเป็นขนัด. ถัดไปเป็นทิวเขาสูงตระหง่าน มีสีในเวลาตะวันยอแสงปานจะฉาบ เอาไวเ้ พ่อื แข่งกับแสงสี มณวี เิ ศษ มีบษุ ยราคบณั ฑรวรรณและก่องแก้วโกเมน แม้รวมกนั ใหพ้ ่ายแพ้ฉะน้นั . กามนิต : เสฐยี รโกเศศ และนาคะประทปี

๓. นกั เรยี นจบั คเู่ ขยี นความเรียงแบบพรรณนาโวหาร ความยาวประมาณ ๔-๖ บรรทดั โดยเลอื ก พรรณนาสิ่งใดกไ็ ดท้ ี่เคยมปี ระสบการณ์หรอื ตามความสนใจ เชน่ ความงามของปา่ เขาลาเนาไพร ดอกไม้ สถานทตี่ า่ ง ๆ หรอื พรรณนาความรูส้ กึ ความรกั อันบรสิ ุทธ์ิ ๔. นกั เรยี นผลัดกนั ออกมาอ่านผลงานให้เพือ่ นฟงั หน้าชน้ั เรียน ช่วยกันวจิ ารณ์และประเมินผลงาน ครูชว่ ยแนะนาเพิ่มเตมิ ข้ันสรปุ นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี้ พรรณนาโวหารเปน็ การเขยี นอธบิ ายรายละเอียดของ สิง่ ต่าง ๆ หรอื ความรู้สึกอยา่ งประณตี ละเอยี ดลออ เพ่อื ให้ผู้อา่ นเกดิ ความซาบซึ้ง และเกิดจนิ ตภาพ 7. สอ่ื การเรยี นรู้ ตัวอย่างการเขยี นพรรณนา 8. การวดั ผลประเมินผล เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคญั แบบฝึกหดั แบบประเมนิ พรรณนาโวหารเปน็ การเขียน “การเขยี นพรรณนา แบบฝึกหดั “การเขยี นพรรณนา อธบิ ายรายละเอยี ดของสิง่ ต่าง ๆ โวหาร” โวหาร” หรือความรู้สกึ อยา่ งประณีต ละเอียดลออ เพอ่ื ให้ผูอ้ ่านเกดิ ความ ซาบซ้งึ และเกิดจินตภาพ ตัวชว้ี ัด แบบฝกึ หัด แบบประเมินการ - ท ๒.๑ ม. ๑/๔ เขยี นเรียงความ - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการ “การเขียนพรรณนา “การเขยี นพรรณนา ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เขยี น ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ โวหาร” โวหาร” คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ กระตอื รอื ร้นในการเรยี นรแู้ ละ แบบฝึกหดั แบบประเมนิ “การเขียนพรรณนา แบบฝกึ หัด ฝกึ ฝน “การเขยี นพรรณนา โวหาร” โวหาร”

เกณฑ์การประเมินผล (รูบรกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ๑. นักเรยี นอธิบาย ลักษณะของพรรณนา (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง โวหาร (K) แสดงเหตุผลในการ ตอบคาถามได้ถูกต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ 2. นกั เรียนเขยี นความ เรยี งแบบพรรณนา ตอบคาถาม และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง แตไ่ ม่แสดงเหตุผลใน โวหาร (P) ตอบคาถามไดอ้ ย่าง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตุผล การตอบคาถาม ๓. นกั เรยี นมี กระตือรอื รน้ ในการ ตอ่ เน่อื งครบถ้วน ชัดเจน ในการตอบ เรียนรู้และฝึกฝน (A) ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง คาถามได้ สมั พนั ธก์ บั หวั ข้อที่ ต่อเนอื่ งครบถ้วน กาหนด เขยี นพรรณนาตาม เขียนพรรณนาตาม เขียนพรรณนาตาม เขียนพรรณนาตาม เรอ่ื ง ตามหวั ข้อ เรือ่ ง ตามหวั ข้อ เรอื่ ง ตามหัวข้อ เรอื่ ง ตามหัวข้อ ท่กี าหนดอยา่ ง ที่กาหนด ยกตัวอย่าง ที่กาหนดได้ มกี าร ทีก่ าหนด ยกตัวอยา่ ง ละเอียด ยกตัวอย่าง ประกอบชัดเจน อ่าน ยกตัวอย่าง ประกอบชัดเจน อ่าน ประกอบชดั เจน อา่ น แลว้ ทาใหเ้ กิดจนิ ตน ประกอบ ทาใหเ้ กิด แล้วไม่ทาใหเ้ กดิ จนิ แล้วทาใหเ้ กดิ จนิ ตน ภาพไดง้ ่าย ใชภ้ าษา จนิ ตนภาพได้บา้ ง ตนภาพ ใช้ภาษาไม่ ภาพได้งา่ ย ใชภ้ าษา ถูกต้องเข้าใจงา่ ย มี ใช้ภาษาถกู ต้อง ถกู ต้อง ถูกต้องเขา้ ใจงา่ ย ขอ้ ผดิ พลาดเล็กน้อย นักเรียนตง้ั ใจฟังท่ีครู นกั เรยี นต้งั ใจฟังที่ครู นักเรยี นตงั้ ใจฟงั ที่ นกั เรียนไม่ต้ังใจฟังท่ี สอนเนื้อหาให้ความ สอนเนอ้ื หาให้ความ ครสู อนเนอ้ื หาให้ ครสู อนเน้อื หาให้ ร่วมมือในการทา ร่วมมอื ในการทา ความร่วมมอื ใน ความร่วมมือในการ กจิ กรรมและสง่ งานที่ กิจกรรม การทากจิ กรรมใน ทากจิ กรรมและไมส่ ง่ ได้รับมอบหมายตรง บางครง้ั และสง่ งานทไี่ ดร้ บั เวลากาหนด งานท่ีได้รบั มอบหมายตรงเวลา มอบหมายตรง กาหนด ลา่ ช้า เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจริ าพร กลุ ให)้ ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภัสนันท์ นลิ บตุ ร) ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านหนองเปด็

แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หนว่ ยที่ ๑ ราชาธิราช ตอนสมงิ พระรามอาสา เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๑๕ เรยี งความสร้างสรรค์ ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ทสี่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั การเขยี นเรียงความเชงิ พรรณนาเปน็ งานเขยี นร้อยแกว้ ที่มีการแทรกเน้ือความที่กลา่ วอย่างละเอียด และเลอื กใชถ้ ้อยคาเพือ่ ให้ผ้อู ่านเห็นภาพ มโี ครงสรา้ งทีป่ ระกอบด้วยคานา เนื้อเรื่อง และสรุป 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี น เรือ่ งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. ตวั ชวี้ ดั ท ๒.๑ ม. ๑/๔ เขียนเรียงความ ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการเขยี น 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายหลกั การเขียนเรยี งความเชิงพรรณนา 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) เขยี นเรยี งความเชิงพรรณนา 3. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) กระตือรอื รน้ ในการเรยี นรู้และฝกึ ฝน 5. สาระการเรยี นรู้ การเขียนเรียงความเชงิ พรรณนา 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้คาถามทา้ ทายว่าการอ่านช่วยพฒั นาการเขยี นได้ อย่างไร ขั้นพฒั นาผูเ้ รียน ๑. นักเรียนรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกบั ลักษณะของงานเขียนประเภทตา่ ง ๆ ท่ีเคยเรียน เชน่ การเขยี น จดหมาย การเขียนย่อความ การเขยี นบนั ทึก การเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ ๒. นักเรียนศกึ ษาความรู้เรือ่ ง การเขยี นเรยี งความเชงิ พรรณนา แลว้ รว่ มกนั อธิบายในประเดน็ ต่อไปนี้

- เรียงความเป็นงานเขยี นประเภทใด - โครงสรา้ งของเรียงความประกอบด้วยอะไรบา้ ง - โครงสรา้ งแต่ละส่วนของเรียงความมีกลวิธแี ละมีความสาคัญอยา่ งไร - เรียงความเชงิ พรรณนามลี กั ษณะอย่างไร - การแทรกการพรรณนาควรอยสู่ ว่ นใดของเรยี งความ เพราะเหตุใด - ขอ้ ควรคานงึ ในการเขยี นเรียงความมีอะไรบา้ ง - การเขยี นเรียงความใหม้ ปี ระสิทธภิ าพควรทาอยา่ งไร ๓. นกั เรียนศึกษาตวั อยา่ งการเขยี นคานา การเขยี นเน้ือเรื่อง และการเขยี นสรุป ครชู ่วยแนะนา เพ่ิมเติม ๔. นักเรียนศึกษาตัวอยา่ งการเขียนเรยี งความเชิงพรรณนา สังเกตกลวิธกี ารเขียน เน้ือหา สานวน ภาษา การเสนอความคดิ และขอ้ มูลตา่ ง ๆ ครชู ว่ ยแนะนาและอธบิ ายเพิ่มเติม ๕. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ความซื่อสตั ย์ จงรกั ภักดีต่อชาติ และพระมหากษตั ริย์ ของสมิง พระราม ไมว่ ่ารา่ งกายของเขาจะอยู่แห่งใด แต่จิตใจของเขาก็ไม่เคยลมื แผ่นดนิ และพระเจ้าราชาธิราชเลย หา โอกาสท่ีจะทดแทนคุณอยตู่ ลอดเวลา ครูอธิบายเพม่ิ เติมโดยเชอ่ื มโยงใหเ้ ขา้ กบั ค่านิยม ๑๒ ประการ ได้แก่ ข้อ ๑ รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ๖. นกั เรียนเขียนเรยี งความเชิงพรรณนาในหัวขอ้ “เศรษฐกิจพอเพยี ง กับการดาเนนิ ชีวติ ” ความ ยาว ๑ หนา้ เปน็ ใบงาน โดยใชแ้ ผนภาพความคิดในการวางโครงเรื่อง ๗. ครคู ัดเลือกผลงานทดี่ ีทสี่ ดุ ๓ เรอ่ื ง นักเรียนออกมาอา่ นเรียงความของตนเองให้เพือ่ นฟังหน้า ชน้ั เรียน ครตู ิดแสดงผลงานเรียงความที่ป้ายนิเทศให้นักเรียนร่วมกนั วจิ ารณแ์ ละประเมินผลงาน ครอู ธิบาย เสนอแนะเป็นความรเู้ พ่มิ เติม ขัน้ สรุป นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี การเขยี นเรยี งความเชงิ พรรณนาเปน็ งานเขียนร้อยแกว้ ท่ีมี การแทรกเนือ้ ความท่ีกลา่ วอย่างละเอยี ด และเลือกใชถ้ ้อยคาเพอ่ื ให้ผอู้ า่ นเห็นภาพ มีโครงสร้างทป่ี ระกอบดว้ ย คานา เนือ้ เร่ือง และสรุป 7. สอ่ื การเรียนรู้ ๑. ตัวอยา่ งการเขียนคานา เนื้อเรื่อง และสรปุ ๒. ตวั อย่างเรยี งความเชงิ พรรณนา

8. การวัดผลประเมินผล หลักฐาน เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ เปา้ หมาย แบบฝึกหดั แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคญั “เรยี งความ แบบฝกึ หัด สรา้ งสรรค”์ “เรียงความ การเขียนเรยี งความเชงิ พรรณนา สรา้ งสรรค”์ เป็นงานเขยี นร้อยแกว้ ที่มีการแทรก แบบฝกึ หัด เนอ้ื ความท่ีกลา่ วอยา่ งละเอยี ด และ “เรียงความ แบบประเมินการ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เลือกใชถ้ ้อยคาเพ่ือใหผ้ อู้ ่านเหน็ ภาพ สร้างสรรค”์ “เรียงความ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ มโี ครงสรา้ งทป่ี ระกอบด้วยคานา สร้างสรรค”์ เนอื้ เรอ่ื ง และสรปุ แบบฝกึ หัด “เรียงความ แบบประเมิน ตัวชีว้ ัด สร้างสรรค”์ แบบฝกึ หัด - ท ๒.๑ ม. ๑/๔ เขียนเรยี งความ “เรียงความ - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการ สรา้ งสรรค”์ เขียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ กระตือรือร้นในการเรยี นรแู้ ละ ฝึกฝน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู ริกส์) ประเดน็ การประเมนิ ระดับคุณภาพ ๑. นักเรยี นอธิบาย หลกั การเขยี น (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ เรียงความเชิงพรรณนา ตอบคาถามได้ (K) แสดงเหตุผลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ แตไ่ ม่แสดงเหตุผลใน การตอบคาถาม 2. นกั เรียนเขียน ตอบคาถาม และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง เรียงความเชงิ พรรณนา เรียงความมี (P) ตอบคาถามได้อย่าง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตุผล องคป์ ระกอบ ครบถว้ น ขึ้นต้น ๓. นักเรยี นมี ต่อเนอื่ งครบถว้ น ชดั เจน ในการตอบ คานาไมม่ สี ว่ นใด กระตือรือร้นในการ นา่ สนใจเปน็ พเิ ศษ เรียนร้แู ละฝึกฝน (A) ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้อย่าง คาถามได้ การลาดบั ความ บางช่วงไม่ สัมพันธ์กับหัวข้อท่ี ต่อเนื่องครบถว้ น สมั พันธก์ นั การพรรณนาไม่มี กาหนด จดุ เด่นที่ชัดเจน การใชภ้ าษาวกวน เรียงความมี เรียงความมี เรยี งความมี นกั เรียนไมต่ ้ังใจฟังที่ องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ ครูสอนเนอ้ื หาให้ ความร่วมมอื ในการ ครบถ้วน ขน้ึ ตน้ ครบถ้วน ข้นึ ตน้ ครบถ้วน ข้นึ ตน้ ทากจิ กรรมและไมส่ ง่ งานท่ีได้รับ คานาได้นา่ สนใจ เนอ้ื คานาไดน้ ่าสนใจ เน้อื คานาได้ดี มอบหมายตรงเวลา กาหนด เร่อื งมีการลาดบั เร่อื งมีการลาดับ เนือ้ เร่อื งมคี วาม ความคิดไดต้ อ่ เนอ่ื ง ความคิดได้ต่อเนื่อง ตอ่ เน่ืองสัมพันธก์ ัน สมั พันธก์ ัน และสรปุ สมั พนั ธ์กนั และสรุป เป็นส่วนใหญ่ กระชับ กนิ ใจ ได้ความ และสรปุ ได้ ไดค้ วามชัดเจน ชดั เจน แทรกการ เชื่อมโยงกบั แทรกการพรรณนา พรรณนาอยา่ ง เน้ือหา แทรกการ อย่างเหมาะสม เหมาะสม พรรณนาเล็กน้อย ใชภ้ าษาประณีต ใช้ภาษาไดด้ ี พอใช้ได้ การใช้ ภาษาบางช่วง ต้องปรบั ปรุง นกั เรยี นตง้ั ใจฟังท่ีครู นกั เรยี นตั้งใจฟังท่ีครู นักเรียนตงั้ ใจฟังที่ สอนเนือ้ หาให้ความ สอนเนอื้ หาให้ความ ครูสอนเน้อื หาให้ ร่วมมอื ในการทา ร่วมมอื ในการทา ความรว่ มมอื ใน กิจกรรมและสง่ งานท่ี กิจกรรม การทากิจกรรมใน ไดร้ ับมอบหมายตรง บางครง้ั และส่ง เวลากาหนด งานท่ีไดร้ ับ มอบหมายตรง ลา่ ช้า เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปญั หาและอปุ สรรค ๓. ขอ้ เสนอแนะ ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กุลให)้ ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ........................................................................................... ...................................................................... ......... ............................................................................................................................. ............................................. ลงชือ่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๑ ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๑๖ จดหมายลาครู ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ทสี่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ จดหมายลาครู เป็นจดหมายกิจธรุ ะรูปแบบหนึ่ง มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือขออนุญาตครผู ู้สอนเพ่ือหยุดเรียน อันเนือ่ งมาจากนกั เรยี นมีกจิ ธุระสว่ นตวั จะต้องไปปฏิบัติหรือมีอาการปว่ ยจนไมส่ ามารถมาเรียนได้ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียน เรอ่ื งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3. ตวั ช้ีวดั ท ๒.๑ ม. ๑/๗ เขียนจดหมายสว่ นตัวและจดหมายกิจธุระ ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขยี น 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ - อธบิ ายสว่ นประกอบและหลักการเขียนจดหมายกิจธุระ - อธบิ ายลักษณะของจดหมายลาครู ทกั ษะกระบวนการ เขยี นจดหมายลาครู คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เหน็ ความสาคญั ของการเขียนจดหมายทีถ่ ูกตอ้ งตามแบบแผน เพอ่ื นาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน 5. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นจดหมายลาครู 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทายว่า เมื่อนกั เรยี นไดร้ ับข้อความที่เขยี นถึง ตนเอง นักเรียนเหน็ สง่ิ ใดท่ีสะท้อนจากข้อความนน้ั บา้ ง ขนั้ พฒั นาผเู้ รยี น ๑. นักเรยี นศกึ ษาความรเู้ ร่ือง การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ การเขยี นจดหมายลาครู แลว้ ร่วมกัน สนทนาในประเดน็ ต่อไปนี้ - จดหมายลาครเู ป็นจดหมายประเภทใด - การเขียนจดหมายลาครูมสี ว่ นประกอบใดบา้ ง - จดหมายลาครูสามารถเขยี นได้ในโอกาสใดบ้าง

- คาขึน้ ตน้ และคาลงท้ายในจดหมายลาครูต้องใชอ้ ยา่ งไร - การเขยี นจดหมายควรระมัดระวังในเร่อื งใดบ้าง ๒. ครอู ธบิ ายเสนอแนะเพิ่มเติมแล้วใหน้ ักเรียนบันทึกสาระสาคญั ๓. ครูนาตัวอย่างจดหมายลาครูมาใหน้ กั เรียนศึกษาเป็นแนวทาง ๔. นกั เรียนทาใบงานเร่ือง การเขยี นจดหมายลาครู โดยสมมตุ ิสถานการณ์วา่ นกั เรยี นเป็นประธาน การจดั การแสดงละครพันทางเรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา และจะต้องจัดเตรียมการแสดงในงาน วนั สถาปนาโรงเรียน นกั เรยี นมีความจาเปน็ ต้องขอลาเรยี นกับครปู ระจาช้นั ๑ วัน ให้นักเรียนเขียนจดหมายลา ครู ๑ ฉบบั โดยสามารถสมมุติรายละเอียดอน่ื ๆ ได้ตามความเหมาะสม ๕. ครคู ัดเลือกผลงานการเขยี นจดหมายลาครูท่สี ามารถเป็นตวั อย่างได้ ตดิ แสดงให้นกั เรียนรว่ มกัน แสดงความคิดเหน็ และวิจารณ์ ครอู ธิบายเสนอแนะสรุปเป็นความรูเ้ พมิ่ เติม ขนั้ สรปุ นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ จดหมายลาครู เป็นจดหมายกิจธรุ ะรปู แบบหนึ่ง มี วัตถุประสงค์เพ่ือขออนุญาตครูผ้สู อนเพือ่ หยดุ เรยี น อนั เน่ืองมาจากนักเรยี นมีกิจธรุ ะส่วนตัวจะตอ้ งไปปฏิบตั ิ หรือมีอาการป่วยจนไม่สามารถมาเรียนได้ 7. สอื่ การเรยี นรู้ ตวั อย่างจดหมายลาครู 8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลักฐาน เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ เปา้ หมาย แบบฝึกหดั แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ สาระสาคญั “ฝากใบลา....” แบบฝึกหัด “ฝากใบลา....” จดหมายลาครู เปน็ จดหมายกจิ ธรุ ะรูปแบบหน่งึ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อ ขออนุญาตครผู สู้ อนเพื่อหยุดเรียน อันเน่อื งมาจากนักเรียนมีกจิ ธรุ ะ ส่วนตวั จะตอ้ งไปปฏบิ ตั หิ รือมีอาการ ป่วยจนไม่สามารถมาเรียนได้ ตวั ช้ีวัด แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ การ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ - ท ๒.๑ ม. ๑/๗ เขยี นจดหมาย “ฝากใบลา....” “ฝากใบลา....” ส่วนตัวและจดหมายกิจธรุ ะ - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการ แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เขียน “ฝากใบลา....” แบบฝกึ หัด “ฝากใบลา....” คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เห็นความสาคญั ของการ เขียนจดหมายที่ถกู ต้องตามแบบ แผน เพือ่ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรยี นอธบิ าย แสดงเหตผุ ลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ สว่ นประกอบและ ตอบคาถาม และแสดงเหตุผลใน ถูกต้อง แตไ่ ม่แสดงเหตผุ ลใน หลกั การเขียนจดหมาย ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล การตอบคาถาม กจิ ธรุ ะ อธิบายลักษณะ ต่อเนื่องครบถว้ น ชัดเจน ในการตอบ ของจดหมายลาครู ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้อย่าง คาถามได้ (K) สัมพันธก์ บั หวั ข้อที่ ตอ่ เน่อื งครบถว้ น กาหนด 2. นกั เรยี นเขียน เขยี นจดหมาย เขยี นจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย จดหมายลาครู (P) ลาครตู ามรูปแบบได้ ลาครูตามรปู แบบได้ ลาครตู ามรปู แบบ ลาครตู ามรปู แบบได้ ถกู ต้องทุกประการ ถูกต้องทุกประการ ไดถ้ ูกต้องทกุ ถกู ต้องทุกประการ อธบิ ายสาเหตุและ อธิบายสาเหตุและ ประการ แต่ระบุข้อมลู ระบชุ ว่ งเวลาใน ระบชุ ว่ งเวลาใน แตอ่ ธบิ ายสาเหตุ ต่าง ๆ ไมช่ ดั ต้อง การลาอยา่ งชัดเจน การลาอย่างชัดเจน หรือระบุชว่ งเวลา ปรับปรุง การใชภ้ าษา ใชภ้ าษาถกู ต้อง ใช้ภาษาถูกต้อง ไมช่ ัดเจน ใช้คา และความสะอาดเป็น เหมาะสม เขียนดว้ ย เหมาะสม เขยี นด้วย ขนึ้ ตน้ และคาลง ระเบียบ ลายมือสวยงาม ลายมือสวยงาม ทา้ ยถูกต้อง อีกมาก สะอาด และเป็น ปรับปรุงการใช้ ระเบยี บ ภาษาและความ สะอาดเล็กนอ้ ย ๓. นักเรยี นเหน็ นักเรียนเขียนได้ดี นักเรยี นเขยี นได้ดี นกั เรยี นเขียนดว้ ย นกั เรียนมีประสบการณ์ ความสาคัญของการ ควบคุมการใช้ศพั ท์ เลือกศัพทเ์ หมาะ สม ความตงั้ ใจไมไ่ ด้ การเขยี นน้อย ใชค้ า เขียนจดหมายที่ และการวางประโยค ชวนใหอ้ า่ น มี เน้นจุดสาคญั ใช้ คลมุ เครือและสับสน ใช้ ถกู ต้องตามแบบแผน ไมม่ ีขอ้ ผดิ พลาดใน ขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อย ประโยคง่าย ๆ โครงสร้าง เพื่อนาไปใชใ้ น การเขยี นและสะกด ในการเขียน และซ้า ๆ กัน มี ประโยคง่ายใชศ้ ัพท์ ชวี ติ ประจาวนั (A) คา มีคณุ ภาพที่ และสะกดคาแต่ละ ข้อ ผดิ พลาดใน จากัด ข้อผดิ พลาด แน่นอนในการเขียน หนา้ มคี ุณภาพไม่ รูปแบบและการ เกดิ ขึ้นบ่อยคร้ังใน แตล่ ะหน้า แน่นอน สะกด แต่ยงั ดูนา่ รูปแบบและการสะกด อา่ นไม่มเี ทคนคิ ทาให้ไมน่ า่ อา่ น กระตุน้ ผู้อ่ืน เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน ๒. ปัญหาและอปุ สรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน (นางสาวจิราพร กุลให้) ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภัสนันท์ นลิ บุตร) ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๑ ราชาธริ าช ตอนสมิงพระรามอาสา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๑๗ การเขียนบทสนทนา ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันทีส่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การถ่ายทอดวรรณคดอี อกมาเป็นบทละครทาให้เข้าใจเน้อื เรื่องและความนกึ คิดของตวั ละครได้ลึกซ้ึง ย่งิ ขึน้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี น เร่อื งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงาน การศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. ตวั ช้วี ดั ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขยี นสอ่ื สารโดยใชถ้ อ้ ยคาถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายเนอื้ เร่ืองราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา 2. ทักษะกระบวนการ (P) เขียนบทสนทนาของตวั ละครจากเรือ่ ง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา 3. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการถา่ ยทอดวรรณคดผี า่ นบทละคร 5. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นบทสนทนาของตวั ละครในวรรณคดี 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ ความสนกุ สนานของละครขนึ้ อยกู่ ับส่ิงใดบา้ ง ขัน้ พัฒนาผูเ้ รยี น ๑. นักเรียนศึกษาตัวอยา่ งบทละครทต่ี ัดตอนมาจากบทละครพดู เร่ือง เหน็ แกล่ ูก พระราชนพิ นธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู วั เพื่อสงั เกตการเขยี นบทสนทนาของตัวละครและการกาหนด รายละเอยี ดต่าง ๆ ของบทละคร ครอู ธิบายเพม่ิ เติม

ละครพดู เร่อื ง “เห็นแก่ลกู ” พระขรรคเ์ พชร เป็นผู้ผกู เรือ่ งและเรียบเรียง ________________________________ ตวั ละคร พระยาภกั ดนี ฤนาถ นายล้า (ทิพเดชะ) อ้ายคา (บ่าวพระยาภักดนี ฤนาถ) แมล่ ออ ฉากห้องหนงั สอื ในบ้านพระยาภกั ดีนฤนาถ มีประตูข้างซา้ ยเข้าไปในห้องนอนขา้ งขวาออกไปเฉลยี ง ทางขึน้ ลง หลงั มหี นา้ ต่าง เคร่ืองประดับประดาไม่เปน็ ของมีราคาแตใ่ ช้ได้ดี ๆ พอเปิดม่าน อา้ ยคาพานายล้า (ทพิ เดชะ) เข้ามาทางประตูขวา นายลา้ นน้ั เปน็ คนอายุราว ๔๐ ปี แต่ หน้าตาแก่ ผมหงอกหน้าย่นมาก แลจมูกออกจะแดง ๆ เห็นได้ว่าเปน็ คนกนิ เหลา้ จดั แต่งกายค่อนขา้ งจะปอน ๆ แตย่ ังเห็นไดว้ า่ ไดเ้ คยเป็นผูด้ ีมาครงั้ หนึ่งแลว้ นายลา้ . กแ็ ล้วเจา้ คณุ เมือ่ ไหร่จะกลับ ? อา้ ยคา. เหน็ จะไมช่ ้าแล้วครับ ท่านเคยกลับจากออฟฟิศราวบ่าย ๕ โมงทกุ วัน. นายล้า. ถ้ายังงั้นฉันคอยอยู่ทีน่ ่ีกไ็ ด.้ อ้ายคา. ครับ. (ลงนง่ั กบั พ้ืนทีร่ มิ ประตูขวา.) นายลา้ . (ดูอา้ ยคาแล้วจึงพูด.) แกไมต่ ้องน่งั คอยอยกู่ บั ฉนั หรอก มธี ุระอะไรก็ไปทาเสยี เถอะ. อ้ายคา. ครบั . (นง่ั น่งิ ไมล่ ุกไป.) นายลา้ . ฮอื ! (มองดูอ้ายคาครู่หน่งึ แล้วไปยืนมองดอู ะไรเลน่ ทีห่ น้าต่างสกั ครหู่ นงึ่ อ้ายคาก็ยังน่ังนิง่ อยเู่ ฉย ๆ จึงหนั ไปพูดอีก.) แกจะคอยอะไรอีกล่ะ ? อ้ายคา. เปล่าครับ. นายล้า ถ้าจะต้องคอยอยเู่ พราะฉนั ละก็ ฉนั ขอบอกว่าไมจ่ าเปน็ แกจะไปกไ็ ด้. อ้ายคา. ครับ. (นง่ั นิ่งไมล่ ุกไป.) นายลา้ . (ดูอ้ายคาอีกครู่หนงึ่ แลว้ ก็หัวเราะ.) ฮะ ๆ ฮะ ๆ แกเหน็ ทา่ ทางฉันมันไมไ่ ด้การกระมัง แต่ทจี่ รงิ ฉนั น่ะเป็นผดู้ เี หมือนกัน มีตระกูลไม่ต่าไม่เลวไปกว่าเจ้าคุณภกั ดเี ลย. ๒. นักเรยี นช่วยกันเล่าเรือ่ ง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา เปน็ การทบทวนเน้ือเรอ่ื ง ๓. ครนู าแถบขอ้ ความที่แบ่งเนอ้ื เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา ออกเปน็ ๑๐ ตอน ติดบน กระดาน ดงั นี้ ตอนที่ ๑ สมงิ พระรามได้ยนิ ขา่ วศึกจนี จากผู้คุมคยุ กบั เพือ่ น จนถึงตอนผูค้ มุ นาเรื่องสมิงพระราม รับอาสาออกรบกับกามะนีไปแจ้งแกเ่ สนาบดี ตอนท่ี ๒ เสนาบดีนาความเข้ากราบทูลพระเจ้ามณเฑียรทอง จนถึงพระเจ้ามณเฑียรทองตรสั สงั่ เสนาบดีให้จัดหาม้าเชลยศักด์ิมาใหส้ มิงพระรามเลือก ตอนท่ี ๓ เสนาบดีออกหาม้าเชลยศักด์ิ จนถึงตอนทสี่ มิงพระรามขอรับพระราชทานขอเหลก็ กับตะกรวย ตอนท่ี ๔ สมิงพระรามกับกามะนีสูร้ บกัน จนสมิงพระรามเอาชนะได้ และพระเจ้ากรุงจนี เลกิ ทัพกลบั กรุงจนี

ตอนที่ ๕ พระเจ้ามณเฑยี รทองปนู บาเหน็จรางวัล สมิงพระรามไมย่ อมรับพระราชทานรางวัล ตอนท่ี ๖ พระเจ้ามณเฑยี รทองทรงปรารภกับพระอคั รมเหสีเร่ืองสมิงพระราม พระอคั รมเหสี รบั อาสาจะผูกใจสมิงพระรามดว้ ยยางรัก ตอนที่ ๗ พระอคั รมเหสเี กลี้ยกล่อมพระราชธดิ าให้คลายทิฐิมานะ จนถึงสมงิ พระรามได้ยลโฉม พระราชธิดาเมื่อยกพานพระศรีมาต้งั ให้สมงิ พระรามกินต่อหนา้ พระที่นั่ง ตอนท่ี ๘ สมิงพระรามยินยอมรับพระราชทานรางวัลโดยมเี ง่ือนไขสองประการ จนถึงอภเิ ษก พระราชธิดากับสมิงพระราม ตอนที่ ๙ พระเจา้ มณเฑียรทองเสดจ็ ออกว่าราชการพร้อมพระราชนัดดา ทรงเผลอพระองค์ ตรัสเรยี กสมิงพระรามว่าเชลย จนถึงสมิงพระรามหนีกลับกรุงหงสาวดี ตอนท่ี ๑๐ นายทพั นายกองพม่านาหนังสือของสมงิ พระรามมาถวายพระเจา้ มณเฑยี รทอง จนถึงพระราชธิดาทรงโศกเศร้าอาลยั สมงิ พระราม ๔. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั นาเน้อื เร่อื งมาศึกษาและแบ่งเนื้อเรอ่ื งตามขอบเขตของแตล่ ะตอนให้ ชัดเจน ๕. นักเรยี นแบง่ กลุ่มเป็น ๑๐ กลมุ่ แลว้ ส่งตัวแทนกลุ่มจับฉลากเพ่ือเลอื กตอนตามเนื้อเร่ืองท่ี กาหนดให้ ๖. แตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกันศกึ ษาเนือ้ เร่ืองราชาธิราช ในตอนที่กล่มุ จับฉลากได้ แลว้ เขยี นบทสนทนาของ ตวั ละคร จากน้นั เลือกสมาชิกในกลุ่มรบั บทเป็นตวั ละครต่าง ๆ ตามเนอ้ื เร่ืองที่ ไดร้ บั มอบหมาย ๗. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ฝึกซอ้ มการแสดงละคร ครูช่วยใหค้ าแนะนานกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ครูนัดหมายให้ นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ จัดเตรียมการแสดงในชั่วโมงตอ่ ไป ข้นั สรปุ นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ การถ่ายทอดวรรณคดีออกมาเป็นบทละครทาให้เขา้ ใจเนือ้ เรื่องและความนึกคดิ ของตัวละครไดล้ ึกซง้ึ ยิ่งขึ้น 7. สอื่ การเรียนรู้ ๑. แถบข้อความ ๒. ตวั อย่างบทละคร

8. การวดั ผลประเมินผล หลักฐาน เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เป้าหมาย แบบฝึกหัด แบบประเมิน สาระสาคัญ “สร้างเรื่อง แบบฝกึ หัด สร้างราว” “สร้างเรื่อง การถา่ ยทอดวรรณคดี สรา้ งราว” ออกมาเปน็ บทละครทาให้เข้าใจเนื้อ แบบฝกึ หดั เรอื่ งและความนึกคิดของตัวละครได้ “สรา้ งเรอื่ ง แบบประเมินการ ลึกซึง้ ย่ิงขนึ้ สรา้ งราว” “สรา้ งเรือ่ ง ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สรา้ งราว” ตวั ชีว้ ดั แบบฝึกหัด -ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขียนสอ่ื สาร “สร้างเรอ่ื ง แบบประเมนิ “สรา้ ง โดยใช้ถ้อยคาถูกต้อง ชดั เจน สร้างราว” เรอ่ื ง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เหมาะสม และสละสลวย สรา้ งราว” คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เหน็ ความสาคัญของการเรยี นรู้ คาในภาษาไทยเพ่อี นาไปใช้อยา่ ง ถูกต้อง

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู ริกส)์ ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธิบายเนื้อ แสดงเหตุผลในการ ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ เร่อื งราชาธริ าช ตอน ตอบคาถาม และแสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง แต่ไม่แสดงเหตุผลใน สมิงพระรามอาสา(K) ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง การตอบคาถามได้ และแสดงเหตุผล การตอบคาถาม ต่อเนอ่ื งครบถ้วน ชดั เจน ในการตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไดอ้ ย่าง คาถามได้ สมั พันธก์ บั หัวข้อที่ ตอ่ เนอื่ งครบถ้วน กาหนด 2. นักเรยี นเขยี นบท นักเรียนเขียนได้ดี นักเรียนเขยี นไดด้ ี นักเรยี นเขยี นดว้ ย นกั เรยี นมี สนทนาของตวั ละคร ควบคุมการใช้ศพั ท์ เลือกศัพท์เหมาะ สม ความต้ังใจไม่ได้ ประสบการณ์การ จากเรื่อง ราชาธริ าช และการวางประโยค ชวนให้อ่าน มี เน้นจุดสาคญั ใช้ เขียนน้อย ใชค้ า ตอน สมิงพระรามอาสา ไม่มีข้อผดิ พลาดใน ขอ้ ผิดพลาดเลก็ น้อย ประโยคงา่ ย ๆ คลมุ เครือและสบั สน (P) การเขียนและสะกด ในการเขียน และซา้ ๆ กนั มีขอ้ ใช้โครงสรา้ ง คา มีคณุ ภาพท่ี และสะกดคาแต่ละ ผดิ พลาดในรูปแบบ ประโยคง่ายใช้ศัพท์ แนน่ อนในการเขยี น หนา้ มีคณุ ภาพไม่ และการสะกด แต่ จากัด ขอ้ ผดิ พลาด แตล่ ะหน้า แนน่ อน ยงั ดูนา่ อ่านไมม่ ี เกดิ ขน้ึ บ่อยคร้ังใน เทคนิคกระตนุ้ ผู้อืน่ รปู แบบและการสะกด ทาใหไ้ ม่น่าอา่ น ๓. นกั เรยี นเหน็ นกั เรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใช้คาใน นักเรยี นใช้คาใน นกั เรยี นใช้คาใน ความสาคญั ของการ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ถ่ายทอดวรรณคดผี า่ น ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ ถูกต้อง เขียนยัง เขียนคาพ้นื ฐาน บทละคร (A) ถูกบริบทและ ถูกบรบิ ทและ ไม่ถูกต้องตาม ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง กาลเทศะ เขียนคา กาลเทศะ เขยี นคา อกั ขรวิธี เขียนคา พ้ืนฐานได้ถูกต้อง พื้นฐานมขี ้อผิดพลาด พ้นื ฐานได้ถกู ต้อง ทง้ั หมด เล็กน้อย บ้าง เกณฑ์การประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

ภาษาไทย ป.3 มีกี่หน่วยการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทำขึ้นสำหรับใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 8 หน่วย รวม 100 ชั่วโมง ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องปฏิบัติการสายลับจิ๋ว จำนวน 11 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องแต่เด็กซื่อ ...

หลักภาษาไทย ม.4 มีอะไรบ้าง

ภาษาไทย ม.4 เทอม 1 เรียนอะไรบ้าง.

ภาษากับการสื่อสาร.

ธรามชาติของภาษา ระดับของภาษา.

ภาษากับการสื่อสาร.

การใช้คำและกลุ่มคำ การใช้คำให้ตรงความหมาย ถูกต้องตามหลักภาษาไทย รวมไปถึงการใช้คำให้กะทัดรัด ชัดเจน และสละสลวย.

การย่อความ.

การเขียนเรียงความ.

การเขียนจดหมายธุรกิจ.

การอ่านตีความ การอ่านแปลความ และการอ่านขยายความ.

หลักภาษาไทย ป.3 มี อะไร บ้าง

สารบัญ : สรุปหลักภาษาไทย ชั้นประถมปีที่ 3.

บทที่ 1 พยางค์และคำ.

บทที่ 2 การแจกลูก การสะกดคำและการอ่านเป็นคำ.

บทที่ 3 มาตราตัวสะกด.

บทที่ 4 การผันวรรณยุกต์อักษรกลาง.

บทที่ 5 การผันวรรณยุกต์อักษรสูง.

บทที่ 6 การผันวรรณยุกต์อักษรต่ำ.

บทที่ 7 อักษรควบและอักษรนำ.

บทที่ 8 คำที่ประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์.

วิชาภาษาไทย ม. 3 เรียน อะไร บ้าง

ภาษาไทย ม.3.

General..

แนะนำการเรียนการสอน และภาษาในวรรณคดี ... .

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ... .

การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ... .

นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร ... .

บทวิเคราะห์คุณค่าด้านต่าง ๆ นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร ... .

คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย.