ต วอย าง รายงาน ภาษา ไทย ม ปลาย

  • 1. ๒ เลขที่ ๒๔ รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึงของวิชาภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) ่ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง สานักงานเขตพืนที่มธยมเขต ๑๓ ้ ั
  • 2. นี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษา หาความรู้เกี่ยวกับการจัดทา การเขียนรายงานทางวิชาการ ซึ่งรายงานทางวิชาการฉบับนี้มีเนื้อหา เกี่ยวกับ วรรณคดีเรื่ อง หัวใจชายหนุ่ม ซึ่งทาให้เรารู้ถึงการนาเอาวัฒนธรรมชาวตะวันตกมาใช้ในปัจจุบน การชิงสุก ั ก่อนห่าม การคลุมถุงชน การนับถือวัฒนธรรมที่แตกต่างระหว่างอดีตกับปัจจุบน ข้าพเจ้าหวังว่า เนื้อหาใน ั รายงานทางวิชาการฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผูที่สนใจเป็ นอย่างดี ้ รายงานเล่มนี้สาเร็ จสมบูรณ์ลงได้ดวยดี ต้องขอขอบคุณ คุณครู เพ็ญศรี สังข์สุข ที่ได้ให้คา เเนะนา ้ และเป็ นที่ปรึ กษาที่ดี กัญธิมา เอียดชูทอง ธันวาคม ๒๕๕๕
  • 3. องย่อ ๒ คาศัพท์น่ารู้ ๓ วิเคราะห์วจารณ์ ิ ๔ ข้อคิดที่ได้รับ ๕ บทสรุ ป ๕ บรรณานุกรม ๖
  • 4. ยนรู้ถึง วัฒนธรรมที่ ิ แตกต่างกัน ซึ่งในอดีตมีการคลุมถุงชนแต่ในปัจจุบนไม่มีแล้ว สอนให้รู้ถึงการไม่ชิงสุกก่ อน ห่าม การ ั แต่งตัวที่แตกต่างกัน ปัจจุบนนาเอาวัฒนธรรมตะวันตกมาเป็ นแบบอย่าง ซึ่งแตกต่างกับสมัยก่อน อย่าง ั สิ้นเชิง ดังนั้นรายงานทางวิชาการเล่มนี้มีความรู้ต่างๆมากมายเพื่อให้เพื่อนๆได้ศึกษา ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั ประวัตผู้แต่ง ิ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยลาดับที่ ๖ แห่งพระบรมราชจักรี วงศ์เสด็จ ่ ั ์ พระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ทรงเป็ นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว และสมเด็จพระศรี พชริ นทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปี หลวง ได้รับ ่ ั ั พระราชทานนามว่าสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ ามหาวชิราวุธ และได้รับการสถาปนาขึ้น เป็ นเจ้าฟ้ ากรมขุน เทพทวาราวดี ทาให้ทรงมีพระเกียรติยศเป็ นชั้นที่ ๒ รองจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ ามหาวชิรุณ หิศสยามมกุฎราชกุมาร เมื่อพ.ศ. ๒๔๓๖ทรงได้เสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษทรงได้ ศึกษาวิชาการ ทหารบกที่โรงเรี ยนนายร้อยทหารบกแซนเฮิสต์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ ต่อมาได้เสด็จไปทรงศึกษา วิชา ประวัติศาสตร์และกฎหมายที่วิทยาลัยไครสต์เชิช มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด การพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ได้กระทาเป็ นสองคราว คราวแรกเป็ นพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก ่ ั เฉลิมพระราชมณเฑียร เมื่อวันที่ ๑๑พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓ อีกคราวเป็ นพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก สมโภช ได้จดขึ้นระหว่างวันที่ ๒๘พฤศจิกายน ถึง วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ โดยมี บรรดาผูแทน ั ้ พระองค์พระมหากษัตริ ยของประเทศที่มีสมพันธไมตรี กบประเทศไทย กับข้าราชการชั้น ผูใหญ่ ซึ่งเป็ น ์ ั ั ้ ตัวแทนของประมุขประเทศต่างๆ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูหวทรงมีพระราช ธิดาพระองค์เดียว ่ ั จากพระนางเจ้า สุวทนาพระวรราชเทวี ซึ่งประสูติเมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ก่อนที่จะเสด็จ ั สวรรคต ณ พระที่นงจักรพรรดิพิมาน เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ เวลา ๑ นาฬิกา ๔๕นาที พระ ั่ ชนมพรรษาเป็ นปี ที่ ๔๖ เสด็จดารงสิริราชสมบัติได้ ๑๕ พรรษา
  • 5. นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว โดยใช้ ่ ั พระนามแฝงว่า รามจิตติ เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ ลักษณ การพระราชนิพนธ์เป็ นรู ปแบบของจดหมาย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ได้ทรงสร้างตัว ละคร ่ ั เอกขึ้นโดยสมมติให้มีตวตนจริ ง คือ ประพันธ์ ประยูรสิริ เป็ นผูถ่ายทอดความนึกคิดและสภาพของ ั ้ สังคมไทยผ่านมุมมองของ ชายหนุ่ม (นักเรี ยนนอก) ในรู ปแบบของจดหมายที่ส่งถึงเพื่อนชื่อ ประเสริ ฐ สุวฒน์ โดยทรงพระราชนิพนธ์ช้ ีแจงไว้ในคานวนิยาย ั ลักษณะการแต่ง หัวใจชายหนุ่มเป็ นร้อยแก้วในรู ปแบบของจดหมายโดยมีขอควรสังเกตสาหรับรู ปแบบจดหมาย ทั้งหมด 18 ้ ฉบับในเรื่ อง ดังนี้ ๑.) หัวจดหมาย ตั้งแต่ฉบับที่ ๑ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖- จนถึงฉบับสุดท้ายวันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖- จะเห็นว่ามีการเว้นเลขท้ายปี พ.ศ.ไว้ ๒.) คาขึ้นต้นจดหมาย ทั้ง 18 ฉบับ ใช้คาขึ้นต้นเหมือนกันหมด คือ “ถึงพ่อประเสริ ฐเพื่อนรัก” ๓.) คาลงท้าย จะใช้คาว่า “จากเพื่อน...” “แต่เพื่อน...” แล้วตามด้วยความรู้สึกของนายประพันธ์ เช่น “แต่ เพื่อนผูใจคอออกจะยุงเหยิง” (ฉบับที่ ๑๐) มีเพียง ๙ ฉบับเท่านั้น ที่ไม่มีคาลงท้าย ้ ่ ๔.) การลงชื่อ ตั้งแต่ฉบับที่ ๑๔ เป็ นต้นไปใช้บรรดาศักดิ์ที่ได้รับพระราชทาน คือ “บริ บาลบรมศักดิ์”โดย ตลอด แต่ฉบับที่ ๑-๑๓ ใช้ชื่อ“ประพันธ์ ๕.) ความสั้นยาวของจดหมาย มีเพียงฉบับที่ ๑๔ เท่านั้นที่มีขนาดสั้นที่สุด เพราะเป็ นเพียง จดหมายที่แจ้งไป ยังเพื่อนว่าตนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ จุดมุ่งหมายในการแต่ง ๑.เพื่อให้รู้ถึงวิถีชีวิตของชายหนุ่มไทย
  • 6. การแต่งงานกับชาวต่างชาติว่าแตกต่างกับคนไทยอย่างไร ๘.สื่อถึงชายหนุ่มที่เมื่อไปอยูต่างบ้านต่างเมืองเป็ นเวลานานอาจแสดงพฤติกรรมของวัฒนธรรม ตะวันตกแต่ ่ ถึงอย่างไรก็ไม่สามารถลืมวัฒนธรรมของถิ่นกาเนิดตัวเองได้ เรื่องย่อ นายประพันธ์ ประยูรสิริ เป็ นหนุ่มไทยที่เดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษ เมื่อสาเร็ จ การศึกษาก็ เดินทางกลับประเทศไทยโดยทางเรื อ ขณะเดินทางก็เขียนจดหมายถึงเพื่อนชื่อ นายประเสริ ฐ สุวฒน์ ที่ยงคง ั ั ศึกษาอยูที่ประเทศอังกฤษ เขียนเล่าเรื่ องราวเมื่อกลับมาถึงเมืองไทยโดยผ่านจดหมาย ๑๘ ฉบับ ด้วยการ ่ ระบายความรู้สึกที่คิดถึงประเทศอังกฤษและคนรักชาวอังกฤษ การเดินทางกลับเมืองไทยในครั้งนี้ ประพันธ์ตองเข้ารับราชการด้วยการฝากเข้าตามเส้นสายซึ่งเขา ไม่ชอบ ้ แต่เขาก็ไม่สามารถหางานทาเองได้ และพ่อได้เตรี ยมหาคู่ครองที่เหมาะสมให้ชื่อ แม่กิมเน้ย ซึ่ง ประพันธ์ไม่ ประทับใจ ด้วยเห็นว่าแม่กิมเน้ยหน้าตาเหมือนนางชุนฮูหยิน สวมเครื่ องประดับมากเกินไป ดู พะรุ งพะรัง ราวต้นคริ สต์มาส และที่สาคัญประพันธ์ไม่ชอบการแต่งงานแบบคลุมถุงชน ประพันธ์ไม่มีความสุขเพราะไม่มีสถานเริ งรมย์ให้เลือกเที่ยวมากมายเหมือนที่องกฤษ แต่เขาเริ่ มมี ั ความสุขเพลิดเพลินขึ้นมาอีกครั้งเมื่อได้รู้จกกับหญิงชื่อ อุไร สาวงามที่มีความทันสมัยไม่ต่างจากสาวฝรั่ง ั ประพันธ์และอุไรคบหากันอย่างสนิทสนมและออกเที่ยวเตร่ ดวยกันจนทาให้อุไรเกิดตั้งครรภ์และ พ่อต้อง ้ จัดการแต่งงานทั้งๆที่ไม่พอใจเป็ นอย่างมาก หลังจากแต่งงานอุไรยังชอบเที่ยวเตร่ และใช้จ่ายอย่าง ฟุ่ มเฟื อย จนทั้งสองมีปากเสียงกัน ทาให้อุไรหันไปคบกับชายคนใหม่ชื่อ พระยาตระเวนนคร ทั้งๆที่เขามี ภรรยาแล้ว ถึง ๗ คน ในที่สุดประพันธ์และอุไรก็ตองหย่าขาดกัน ้
  • 7. อุไรจึงได้กลับมาขอคืนดี เพราะพระยา ตระเวนนครมี ภรรยาสาวคนใหม่จึงขอบ้านที่เธออยูคืน แต่ประพันธ์ไม่ใจอ่อนและแนะนาให้เธอกลับไปอยู่ บ้านพ่อ ไม่ ่ นานอุไรก็แต่งงานใหม่กบ หลวงพิเศษผลพานิช พ่อค้าที่มฐานะดี ทาให้ประพันธ์รู้สึกโล่งใจเป็ น อย่างมาก ั ี ต่อมาประพันธ์ได้พบกับหญิงสาวคนหนึ่งชื่อ ศรี สมาน และรู้ สึกพึงใจในตัวเธอมาก ทั้งนี้ ผูใหญ่สองฝ่ ายก็ ้ ชอบพอกัน ประพันธ์จึงหวังว่าจะแต่งงานครองคู่อยูกบศรี สมานอย่างมีความสุขยังยืนใน อนาคต ่ ั ่ คาศัพท์ น่ารู้ กรมท่าซ้าย หมายถึง ส่วนราชการในสมัยก่อนซึ่งสังกัดกรมพระคลัง ขุดอู่ หมายถึง ปลูกเรื อนตามใจผูนอน ้ ครึ หมายถึง เก่า ล้าสมัย คลุมถุงชน หมายถึง การแต่งงานที่ผใหญ่จดหาให้ ู้ ั โช หมายถึง อวดให้ดู เทวดาถอดรู ป หมายถึง มีรูปร่ างหน้าตาดีราวกับเทวดา แบชะเล่อร์ หมายถึง ชายโสด ปอปูลาร์ หมายถึง ได้รับความนิยม พิสดาร หมายถึง ละเอียดลออ กว้างขวาง พื้นเสีย หมายถึง โกรธ ไพร่ หมายถึง ชาวบ้าน ฟรี หมายถึง เป็ นอิสระจากกฎเกณฑ์หรื อการควบคลุม เร็ สตอรังต์ หมายถึง ภัตตาคาร ร้านอาหาร เรี่ ยม หมายถึง สะอาดหมดจด ลอยนวล หมายถึง ตามสบาย
  • 8. หมายถึง เจริ ญ มีอารยธรรม สิ้นพูด หมายถึง หมดคาพูดที่จะกล่าว หดหู่ หมายถึง หอเหี่ยวไม่ชื่นบาน หมอบราบ หมายถึง ยอมตามโดยไม่ขดขืน ั หมายว่า หมายถึง คาดว่า หัวนอก หมายถึง คนที่นิยมแบบฝรั่ง หัวเมือง หมายถึง ต่างจังหวัด อยูขาง หมายถึง ค่อนข้าง ่ ้ อินเตอเร้สต์ หมายถึง ความสนใจ เอดูเคชัน หมายถึง การศึกษา ่ ฮันนี่มน หมายถึง การไปเที่ยวด้วยกันของคู่แต่งงานใหม่ ู หลวง หมายถึง บรรดาศักดิ์ขาราชการที่สูงกว่าขุนและต่ากว่าพระ ้ วิเคราะห์ วจารย์ ิ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวทรงเสนอแนวคิดผ่านตัวละครเอก คือประพันธ์ที่แสดงความรังเกียจ ่ ั ดูถกบ้านเกิด แต่กลับไปชื่นชมนิยมวัฒนธรรมตะวันตก พระองค์ทรงมีพระราชดาริ ว่า คนไทยควรภูมิใจใน ู วัฒนธรรมไทยไม่ควรหลงนิยมวัฒนธรรมตะวันตกจนเกินไป จนละเลยความเป็ นไทย ควรรู้จกเลือกสรรสิ่ง ั ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อเสริ มสร้างความเป็ นไทยให้โดดเด่นยิงขึ้น ดังนั้นแกนของเรื่ อง คือ การรู้จกอนุรักษ์ ั ่ วัฒนธรรมไทยอันดีงามและในเวลาเดียวกันก็รู้จกเลือกรับวัฒนธรรมตะวันตกบางประการมาปรับปรุ ง ั เปลี่ยนแปลงให้สงคมไทยเจริ ญก้าวหน้ายิงขึ้น ั ่ บทวิเคราะห์ ตัวละคร ตัวละครทุกตัวในเรื่ องนี้ถกสร้างขึ้นเพื่อเสนอแนวคิดและสารต่างๆ โดยเสนอผ่าน ู มุมมองของประพันธ์ซ่ ึงเป็ นผูเ้ ล่าเรื่ องและตัวละครเหล่านี้ ทาให้เรารู้จกตัวละครได้ลกซึ้งยิงขึ้น ๑)ประพันธ์ ั ึ ่
  • 9. ถึงกับ ั ่ กล่าวว่า “เขากาลังเดินห่างออกมาจากถิ่นที่เคยได้รับความสุข(ประเทศอังกฤษ)แลดูไปข้างหน้าก็หวังได้แต่ จะได้เห็นความคับแคบและอึดอัดใจ” (ความคิดของประพันธ์ที่มีต่อเมืองไทย)อีกทั้งยังเปรี ยบ “รักเมืองไทย เหมือนรักพ่อแม่รักเมืองอังกฤษเหมือนรักเมีย” ความคิดของประพันธ์ยงชัดเจนขึ้นเมื่อประพันธ์เปรี ยบว่า ิ่ เมื่อเคยจากพ่อแม่ไปเห็นสิ่งสวยๆงามๆได้พบกับคนอื่นๆนอกบ้านก็เป็ นธรรมดาที่ตองรู้สึกว่าบ้านพ่อแม่คบ ้ ั แคบอึดอัดคุยกับพ่อแม่ก็ไม่สนุกเท่ากับคุยหนุ่มๆสาวๆและเมื่ออ่านจดหมายฉบับต่อๆไปก็จะเห็นความรู้สึก ขัดแย้งของประพันธ์ที่มีต่อสังคมไทยมากขึ้นเขาไม่พอใจประเพณี ไม่พอใจสภาพแวดล้อมไม่พอใจเรื่ อง ฐานันดรศักดิ์ซ่ึงประพันธ์เห็นว่าทั้งหมดล้วนเป็ นเครื่ องแสดงความล้าหลัง เมื่อมาพบอุไรสาวไทยผูทนสมัย ้ ั มีแนวคิดและมีค่านิยมแบบตะวันตกเต็มที่ประพันธ์จึงดูจะมีความสุขขึ้นและทั้งสองได้มีความสัมพันธ์กน ั อย่างใกล้ชิดจนอุไรตั้งครรภ์จึงต้องแต่งงานกันโดยเร็ ว เวลาผ่านไปประพันธ์ก็ประจักษ์แก่ใจว่าเขากับอุไรไม่ เหมาะสมกันทั้งคู่จึงต้องหย่ากันและทาให้ประพันธ์คิดได้วาผูหญิงที่เหมาะกับเขานั้นไม่ใช่ผหญิงเชยคร่ าครึ ่ ้ ู้ อย่างแม่กิมเน้ยหรื อทันสมัยอย่างอุไรแต่ควรเป็ นผูหญิงที่มลกษณะผสมผสานกันระหว่างความเป็ นไทยกับ ้ ี ั ความเป็ นตะวันตกนันก็คือศรี มาน ๒) อุไร เป็ นสาวทันสมัยใจตะวันตกอาจกล่าวได้ว่าอุไรเป็ นสัญลักษณ์ ่ ของวัฒนธรรมตะวันตกด้วยความเป็ นสาวทันสมัยมีพฤติกรรมแบบสาวตะวันตกไม่ห่วงเนื้อห่วงตัวเต้นรา เป็ นชอบเที่ยวกลางคืนมีผชายมารุ มล้อมมากมายจนกลายเป็ นสาว “ปอปูลาร์” ทาให้ประพันธ์ชื่นชมและ ู้ ถูกใจมากจึงได้คบหาสมาคมสนิทสนมจนกระทังได้แต่งงานกัน หลังจากแต่งงานพฤติกรรมของอุไรก็มิได้ ่ เปลี่ยนแปลงอุไรไม่ได้ทาหน้าที่แม่บานชอบข่มขู่สามีดูถกคนอื่นชอบเที่ยวแม้กระทังหลังจากแท้งลูกอุไรก็ ้ ู ่ ยิงเที่ยวหนักขึ้นกว่าเดิมและหนักขึ้นเรื่ อยๆจนถึงกับไปค้างแรมบ้านชายอื่นทาให้ประพันธ์ตองขอหย่าอุไร ้ ่ จึงไปอยูกบพระยาตระเวนนครซึ่งเรี ยกได้ว่าเป็ นชายชูต่อมาก็หวนกลับมาหาประพันธ์อีกเพราะถูกพระยา ่ ั ้ ตระเวนนครทิ้งแต่ประพันธ์ปฏิเสธ อุไรก็กลับไปอยูบานพ่อและแต่งงานกับหลวงพิเศษผลพานิชพ่อค้าผูมง ่ ้ ้ ั่ คังดังนั้นชีวิตของอุไรแสดงให้เห็นว่าการไม่รู้จกเลือกรับวัฒนธรรมตะวันตกแล้วเลือกนามาปรับใช้ให้ ั ่ เหมาะสมกับวิถีชีวิตแบบไทยๆนั้นเป็ นอย่างไร ฉาก ในเรื่ องนี้เป็ นสมัยที่คนไทยโดยเฉพาะคนชั้นสูงเพื่อ ได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกใหม่ๆสภาพบ้านเมืองเริ่ มมีความเจริ ญแบบตะวันตกคือมีถนน หนทาง มีการใช้หนังสือพิมพ์ในการสื่อสารผูอ่านจึงได้เห็นการใช้ภาษาไทยที่มคาศัพท์และสานวนภาษาอังกฤษมา ้ ี ปะปนอยู่ กลวิธีการแต่ง หัวใจชายหนุ่มเป็ น นวนิยายขนาดสั้น นาเสนอในรู ปแบบของจดหมายนับเป็ น ประเภทวรรณกรรมแบบตะวันตกเข้ามาในวงวรรณกรรมไทยเนื้อหาในจดหมายเป็ นการเล่าเรื่ องราวชีวิต ของนักเรี ยนนอกในยุคที่สงคมไทยกาลังปรับเปลี่ยนไปตามอิทธิพลของ วัฒนธรรมตะวันตก ั ๑.ก่อนอ่านจดหมายฉบับแรกทรงเขียนว่า รามจิตรติ หรื อข้าพเจ้าว่าเป็ นผูรวบรวมจดหมายเหล่านี้ ้
  • 10. อหาในจดหมายแสดงมุมมองของประพันธ์ที่แสดง ู้ ั ่ อย่างตรงไปตรงมาเหมือนจดหมายส่วนตัวทัวๆไป ..." ่ ข้ อคิดที่ได้ รับ ๑. พฤติกรรมของนายประพันธ์เป็ นพฤติกรรมที่มีท้งข้อดีและข้อเสีย ทั้งความถูกต้องและผิดพลาด ั เปรี ยบเสมือนกับมนุษย์ที่สามารถผิดพลาดได้ตลอดเวลา แต่อย่าลืมนาความผิดพลาดนั้นมาใช้ในการแก้ไข ตนเอง และปรับทัศนคติที่ผดอยูให้ดีข้ ึน ิ ่ ๒. อย่าหลงวัฒนธรรมตะวันตกจนลืมจิตสานึกแห่งความเป็ นไทย ควรเก็บสิ่งที่ดีมาปฏิบติ แล้วเก็บสิ่งที่ไม่ดี ั ไว้เป็ นอุทาหรณ์ ขณะเดียวกันก็อย่าดูถกบ้านเกิดเมืองนอนว่าหัวโบราณ ู ๓. การแต่งงานของหนุ่มสาวที่มาจากการชอบพอกันแค่เพียงเปลือกนอก ขาดการรู้จกและเข้าใจกันอย่าง ั แท้จริ งย่อมไม่ยงยืนและอับปางลงอย่างง่ายดาย ั่ ๔. การใช้เสรี ภาพในทางที่ผดโดยปล่อยเนื้อปล่อยตัวจนกระทังพลาดพลั้งชิงสุกก่อนห่ามจะต้องประสบ ิ ่ ชะตากรรมอันเลวร้าย ๕. คนเราควรดาเนินชีวิตในทางยุติธรรม บทสรุป การเขียนรายงานทางวิชาการเรื่ อง หัวใจชายหนุ่ม แสดงให้เห็นคุณค่าด้านเนื้อหาที่ทาให้ผอ่าน เพลิดเพลิน ู้ ไปกับเรื่ องราวและพฤติกรรมของตัวละครอันเป็ นความบันเทิงใจและได้แง่คิ ดต่างๆแล้ว บทร้อย แก้วที่นามาเขียนในรู ปของจดหมายยังมีความไพเราะงดงาม และมีความหมายลึกซึ้งและคมคาย สามารถสื่อ ความหมายได้ทนทีว่าเรื่ องราวความเป็ นมาเป็ นอย่างไร เรื่ องหัวใจชายหนุ่มจึงดีท้งด้านเนื้อหาและได้ให้ ั ั ข้อคิดไว้ต่างๆมากมาย
  • 11. ญทัศน์,๒๕๒๗ __________,หัวใจชายหนุ่ม. (ออนไลน์). http://iam.hunsa.com/tong9613/article/21148 วันที่คนหา ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ (ม.ป.พ.) ้ ใจความสาคัญหัวใจชายหนุ่ม.(ออนไลน์). http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge วันที่คนหา ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ (ม.ป.พ.) ้ กมล เภาพิจิตร. วรรณคดี . กรุ งเทพ : สานักงานอักษรเจริ ญทัศน์, ๒๕๕๓.

รายงานที่ดีควรมีกี่บท

- สารบัญภาพประกอบ 2. ส่วนประกอบตอนกลาง (เนื้อเรื่อง) เป็นส่วนสำคัญที่สุดของรายงาน แบ่งแยกเนื้อหาที่เขียนเป็นบทอย่างมีระบบระเบียบ ตามลำดับ รายงานทางวิชาการมีโครงสร้างมาตรฐาน 5 บท คือ - บทที่ 1 บทนำ - บทที่ 2 เอกสารและรายงานการศึกษาที่เกี่ยวข้อง

การเขียนรายงานมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง

1. การเลือกเรื่องหรือหัวข้อ 2. การค้นคว้าและรวบรวมแหล่งค้นคว้า 3. การวางโครงเรื่อง 4. การอ่านและจดบันทึกข้อมูล 5. การเรียบเรียงเนื้อเรื่อง 6. การเขียนบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง 7. การเขียนส่วนประกอบอื่นๆ (ปกนอก หน้าปกใน คานา สารบัญ)

ภาษาไทย ม.3 มีเรื่องอะไรบ้าง

ภาษาไทย ม.3 เรียนอะไรบ้าง.

ทักษะการอ่าน.

ทักษะการเขียน.

ทักษะการฟัง การดู และการพูด.

ทักษะเกี่ยวกับหลักการใช้ภาษาไทย.

ทักษะทางด้านวรรณคดีและวรรณกรรม.

องค์ประกอบการเขียนรายงานมีอะไรบ้าง

ส่วนประกอบรายงาน 1. ปกนอก 2. ปกรอง (กระดาษเปล่าสีขาว) 3. ปกใน (เหมือนปกนอกทุกประการแต่ใช้กระดาษขาว) 4. คานา 5. สารบัญ 6. สารบัญตาราง 7. สารบัญภาพ 8. เนื้อหา 9. บรรณานุกรม หรือแหล่งอ้างอิง 10. ประวัติผู้จัดทา 11. ปกรองหลัง (กระดาษเปล่าสีขาว) 12. ปกหลัง