ต วอย างโครงงานส งคมศ กษา ม.ต น

เตาปิ้งย่างเคลอ่ื นที่

นายเกียรติศักดิ์ ดาศรี นายอรชนู นา่ สไตเนอร์

นายสาธิต จำปาเลยี ง

โครงการนี้เปน็ สว่ นหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ

สาขาวิชาช่างเช่อื มโลหะ แผนกวชิ าช่างเช่ือมโลหะ วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ นิ ทร์ ประจำปกี ารศึกษา 2564

หวั ข้อโครงการ เตาปิง้ ยา่ งเคล่อื นที่ ผู้ดำเนนิ โครงการ นายเกยี รตศิ กั ดิ์ ดาศรี

นายอรชนู นา่ สไตเนอร์ นายสาธิต จำปาเลียง

หนว่ ยงาน วทิ ยาลัยเทคนิคสุรนิ ทร์ แผนกวชิ าชา่ งเชอ่ื มโลหะ ปี พ.ศ. 2564

บทคัดยอ่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ประสิทธิภาพเตาปิ้งย่าง เคลอื่ นท่ี และเพอ่ื หาความพึงพอใจตอ่ เตาปิง้ ย่างเคลื่อนที่ ผลการวจิ ัยพบว่า ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพ มีรายละเอียดดงั นี้ 1.ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพย่างลูกชิ้นในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถ ยา่ งลกู ชิ้นได้ 10.5 กโิ ลกรมั /1 ช่วั โมง 2. ผลการทดสอบหาประสทิ ธิภาพยา่ งไส้กรอกในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถ ยา่ งไส้กรอกได้ 11.5กโิ ลกรมั /1 ชวั่ โมง 3. ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพย่างหมูในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถย่าง หมไู ด้ 9.5กโิ ลกรัม/1 ชว่ั โมง 4. ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพย่างปีกไก่ในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถ ย่างปกี ไกไ่ ด้ 12.5 กโิ ลกรัม/1 ช่วั โมง

กติ ตกิ รรมประกาศ

ขอขอบพระคุณ วิทยาลยั เทคนิคสุรนิ ทร์ แผนกวชิ าช่างเช่อื มโลหะ คณะผู้บรหิ ารใน วิทยาลัยเทคนคิ สรุ นิ ทร์ และผูท้ รงคุณวุฒิ บุคลากร เจ้าหน้าท่ีงานวจิ ยั ในวทิ ยาลยั เทคนิคสุรนิ ทร์ ตลอดจนผู้เชีย่ วชาญ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิท่ใี ห้ความร่วมมือในการทำวิจยั สำเร็จลุลว่ ง คณะผจู้ ดั ทำโครงการ ต้องขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้

คณะผ้จู ดั ทำโครงการ นายเกยี รติศกั ด์ิ ดาศรี นายอรชูนนา่ สไตเนอร์ นายสาธิต จำปาเลยี ง

สารบญั หน้า

เร่อื ง ก ข บทคัดย่อ ค กติ ติกรรมประกาศ ง สารบญั จ สารบัญ (ต่อ) ฉ สารบญั ตาราง สารบัญภาพ 1 2 บทที่ 1 บทนำ 2 2 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ 2 2. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2 3. ขอบเขตของโครงงาน 3 4. ตัวแปรที่ใชใ้ นการศึกษา 5. สมมตฐิ านของโครงการ 4 6. คำจำกัดความท่ใี ชใ้ นงานโครงการ 4 7. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 5 6 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกบั โครงการ 7 9 1. ชนดิ ของวัตถดุ ิบป้ิงย่าง 10 2. องคป์ ระกอบและโปรตีนของวตั ถุดิบ 14 3. หลกั การออกแบบ 4. วสั ดุโลหะและช้ินสว่ นท่ใี ชใ้ นการออกแบบ 5. วสั ดุช้นิ ส่วนท่ีใชใ้ นการออกแบบเตาปง้ิ ยา่ งเคล่ือนท่ี 6. แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกบั ความพึงพอใจ 7. งานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ งกบั โครงการ 8. กรอบแนวคิดของโครงการ

สารบัญ (ตอ่ ) ง

เร่ือง หน้า

บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ัย 15 15 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 16 2. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 17 3. การสร้างเครื่องมือในการวจิ ัย 17 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 18 5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู 6. สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 20 22 บทที่ 4 ผลการวจิ ัย 26 1. ผลการทดสอบหาประสทิ ธภิ าพของเตาป้ิงยา่ งเคลื่อนท่ี 27 2. การประเมนิ ผลความพงึ พอใจต่อเตาป้งิ ย่างเคลื่อนท่ี 28

บทท่ี 5 สรุปผลการวิจยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

1. สรปุ ผลการวจิ ยั 2. อภปิ รายผล 3. ข้อเสนอแนะ

บรรณานกุ รม ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

ตารางที่ 3.1 บนั ทกึ ผลการย่างลูกช้นิ 15 ตารางที่ 3.2 บนั ทกึ ผลการยา่ งไส้กรอก 15 ตารางที่ 3.3 บันทกึ ผลการย่างหมู 16 ตารางท่ี 3.4 บันทกึ ผลการยา่ งปกี ไก่ 16 ตารางที่ 4.1 บันทึกผลการย่างลูกช้นิ ในอณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซยี ส 20 ตารางท่ี 4.2 บันทึกผลการย่างไส้กรอกในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซยี ส 21 ตารางที่ 4.3 บันทึกผลการยา่ งหมูในอณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซยี ส 21 ตารางที่ 4.4 บันทกึ ผลการย่างปีกไก่ในอุณหภมู ิ 100 องศาเซลเซยี ส 21 ตารางท่ี 4.5 แสดงจำนวน และรอ้ ยละขอ้ มูลทวั่ ไปเกยี่ วกบั สถานภาพของผ้ตู อบ 22

แบบสอบถาม 23 ตารางที่ 4.6 ความพงึ พอใจตอ่ เตาปง้ิ ยา่ งเคลื่อนที่ ด้านการออกแบบ 23 ตารางท่ี 4.7 ความพึงพอใจตอ่ เตาปิ้งย่างเคลอ่ื นที่ ด้านวัสดุ 24 ตารางท่ี 4.8 ความพึงพอใจต่อเตาปิง้ ยา่ งเคลอื่ นท่ี ด้านการใชง้ าน 24 ตารางที่ 4.9 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคล่อื นที่ ด้านความปลอดภัย 25 ตารางท่ี 4.10 ความพึงพอใจต่อเตาปง้ิ ย่างเคลือ่ นที่ โดยภาพรวม

สารบญั ภาพ ฉ

ภาพที่ หน้า

ภาพท่ี 2.1 ถังเหลก็ ขนาด 200 ลติ ร 7 ภาพท่ี 2.2 ตระแกรงสแตนเลสปง้ิ ย่าง 8 ภาพท่ี 2.3 ล้อเขน็ 8 ภาพที่ 2.4 เหลก็ ท่อกลม 1x1 นว้ิ หนา 1 mm. 9 ภาพท่ี 2.5 กรอบแนวคดิ ของโครงการ 14

1

บทท่ี 1 บทนำ

1. ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ ปัจจบุ ันเตายา่ งเป็นสงิ่ ทีม่ ีความสำคญั เกย่ี วกับความเป็นอยู่เร่ืองอาหารป้งิ ย่างอยา่ งกว้างขวาง

ต่อการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวันหากพูดถึงอาหารริมทางตามท้องถนนเมืองไทยแน่นอนว่าจะต้องมีเมนูป้ิง ย่างรวมอยู่ ไม่ว่าจะเป็นหมูย่าง หมูปิ้งไก่ย่าง ปลาหมึกย่าง ปลาเผา ฯลฯ เนื่องจากเป็นอาหารที่หา ทานง่ายและเป็นที่นิยมของคนไทยจำนวนไม่น้อยซึ่งในสภาวะเร่งด่วนต้องทำงานแข่งขันกับเวลารีบ ร้อนออกจากบ้านเพื่อไปให้ทันกับงาน หรือภารกิจต่างๆ ไม่มีเวลาที่จะทำอาหารต้องไปแวะหาซ้ือ อาหารข้างหน้า จึงเกิดอาชีพหน่ึงขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งมีขายอยู่ทั่วไปมี ราคาถูกซื้อหาได้รวดเร็ว รับประทานได้ง่ายแต่สิ่งที่จำเป็นสำหรับอาชีพนี้ก็คือเตาปิ้งย่างที่มีหลาย รปู แบบ หลายขนาดตามความเหมาะสม ในการใช้งาน

ในประเทศไทยประชากรสว่ นใหญย่ งั นิยมรบั ประทานอาหารประเภทป้งิ ยา่ งทงั้ นี้อปุ กรณ์ สำคัญอยา่ งหน่ึงของการประกอบเมนนู ก้ี ค็ ือ เตาปง้ิ ย่าง ซึ่งปัจจบุ ันแมค่ ้าตลอดไปจนถึงผูป้ ระกอบการ ได้ใช้เตาปง้ิ ย่างหลายประเภท ทั้งแบบแสงอินฟราเรด แบบขดลวดไฟฟา้ แบบใช้แก๊ส หรือใชถ้ า่ นไมแ้ ต่ สว่ นใหญ่จะนยิ มใช้เตาป้งิ ย่างแบบใชถ้ ่านไม้ เพราะให้รสชาตแิ ละกลนิ่ ที่ชวนน่ารับประทาน และเปน็ เอกลกั ษณ์ ซง่ึ เตาใชถ้ า่ นไมส้ ว่ นใหญอ่ าจจะมกี ารกระจายตัวของความร้อนไม่ค่อยสม่ำเสมอ ไม่ สามารถปรับความเหมาะสนของการป้ิงยา่ งกบั ความร้อนได้ ทำให้สนิ้ เปลอื งพลังงานเสียเวลาในการ ประกอบอาหาร และอาจเกิดการไหม้หรือสกุ ไมท่ วั่ ถึง

จากปญั หาและสาเหตุดังกล่าวคณะผจู้ ัดทำโครงการไดม้ แี นวคิดท่จี ะออกแบบและพฒั นา สร้างอุปกรณช์ ่วยปิง้ ยา่ งเพื่อใหเ้ กดิ ความสะดวกในการประกอบอาหาร มีความรวดเรว็ มากยงิ่ ข้ึน เหมาะสำหรบั ผปู้ ระกอบอาชีพป้ิงย่างเน่ืองจากอปุ กรณ์ได้ออกแบบมาเพื่อเหมาะสมกัการใชง้ าน ซึ่ง เตาสามารถปรับระดับของเหลก็ ย่างใหเ้ หมาะกับการใช้การ มีลิ้นชกั ทถ่ี อดประกอบได้ทำความสะอาด ไดง้ า่ ย และมีท่ีเก็บอุปกรณ์ทีจ่ ำเป็นในการประกอบอาหาร

ปญั หาทีพ่ บ 1.1 เตาปง้ิ ยา่ งแก๊สซึ่งเคล่ือนย้ายยากลำบากและต้นทุนสูง 1.2 เตาปิง้ ยา่ งไฟฟา้ ไมส่ ามารถใช้งานในที่ ท่ีไม่มไี ฟฟ้าได้ 1.3 ใช้ต้นทุนสงู ในการลงทนุ

2

ดังนัน้ คณะผู้จดั ทำโครงงานจงึ มแี นวคิดทีจ่ ะสรา้ งเตาปง้ิ ย่างถา่ นเพ่ือชว่ ยอำนวยความสะดวก เพอ่ื ลดต้นทนุ ในการลงทุนเพ่ือไห้ใชง้ านได้งา่ ยและมีประสิทธิภาพเพ่ือใหค้ นหันมาใชเ้ ตาป้งิ ย่างถา่ น แทนเตาไฟฟา้ และ เตาป้งิ ย่างแกส๊ เคล่ือนย้ายได้สะดวกรวดเรว็

2. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 2.1 เพือ่ ออกแบบและสรา้ งเตาป้งิ ยา่ งเคลื่อนท่ีอย่างมีประสิทธภิ าพ 2.2 เพือ่ หาประสทิ ธิภาพของเตาปง้ิ ย่างเคลื่อนท่ี 2.3 เพื่อศึกษาหาความพงึ พอใจของเตาปิง้ ยา่ งเคล่อื นท่ี

3. ขอบเขตของโครงการ 3.1 ขอบเขตของประชากรและกลมุ่ ตวั ยา่ ง ประชากร คือ พ่อคา้ -แมค่ ้าขายหมปู งิ้ และลูกค้าซื้อหมูปงิ้ ในเขตจงั หวัดสรุ นิ ทร์ กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื พ่อค้า-แม่ค้าผู้ขายหมูปงิ้ และลูกคา้ ซอ้ื หมปู ิ้ง ในเขตจังหวัดสรุ ินทร์ โดย

การสมุ่ แบบ เจาะจง จำนวน 30 คน

4. ตวั แปรที่ใช้ในการศกึ ษา 4.1 ตัวแปรต้น คอื เตาปง้ิ ย่างเคลี่อนท่ี 4.2 ตัวแปรตาม คอื ประสิทธิภาพของเตาปง้ิ ยา่ งเคลอื่ นที่ 4.3 ความพึงพอใจของลกู คา้ และพ่อคา้ - แม่ต่อเตาปิ้งยา่ งเคลือ่ นที่

5. สมมตฐิ านของโครงการ เตาปงิ้ ย่างเคล่ือนทส่ี ามารถย่างหมูป้งิ ได้ครงั้ ละ 50 ไม/้ 1 รอบ

6. คำจำกดั ความที่ใช้ในงานวจิ ัย เตาปิ้งยา่ งเคล่ือนท่ี หมายถึง เตาทท่ี ำจากถงั เหล็กขนาด 200 ลิตรมีขาตงั้ 4 ขา มลี ้อสำหรับ

เคลอื่ นย้าย ใตะแกรงแสตนเลสใว้ ปิ้งยา่ งโดยใชถ้ ่านในการให้ความรอ้ น วัตถุดิบทใี่ ชใ้ นการปิง้ ยา่ ง หมายถงึ วัตถุดิบที่นำมาใสบ่ นตะแกรงสแตนเลสท่ีมีถา่ นกำลงั ติด

ไฟ เพ่อื ไห้วตั ถุดิบสกุ เชน่ เนื้อหมู เน้อื ไก่ ปลา ลูกชิ้น ฯลฯ เป็นตน้

3

7. ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 7.1 ใช้งานในครวั เรือนตลอดจนใชใ้ นการประกอบอาชีพ 7.2 ได้เตาป้ิงย่างเคลือ่ นที่ ทมี่ ีประสิทธภิ าพ 7.3 ประหยดั ค่าไฟ 7.4 สามารถปงิ้ ย่างได้อยา่ งต่อเน่ือง ในจำนวนท่เี ยอะได้

4

บทท่ี 2 ทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ งกับโครงการ

การศกึ ษาโครงการเรือ่ ง เตาปิ้งย่างถ่านเคลอื่ นท่โี ดยผ้ศู ึกษาได้ศึกษา ทฤษฎี เอกสาร และ งานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้องกบั โครงการ ซึง่ มรี ายละเอยี ดที่สำคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ชนดิ ของวตั ถดุ ิบปิ้งย่าง 1.1 หมหู มกั สว่ นผสมเนือ้ สะโพกหมูหรือสนั นอกหมู 1 กิโลกรัม รากผักชี 25 กรัม กระเทยี ม

ไทย (แกะเปลือก) 2 หัว พรกิ ไทยเมด็ 1+1/2 ช้อนชา น้ำตาลมะพร้าว 180 กรมั หวั กะทิ 1+1/2 ถว้ ย ตวง ซอี ว๊ิ ดำ 3 ช้อนชา ซีอิ๊วขาว 8 ช้อนโตะ๊ ซอสปรุงรสฝาเขยี ว 6 ชอ้ นโต๊ะ แป้งขา้ วโพด 1 ช้อนโต๊ะไข่ แดง 1 ฟอง น้ำมนั พชื 5 ชอ้ นโตะ๊ ไม้สำหรบั เสียบหมู

1.2 ไก่ยา่ ง สว่ นผสม น่องไก่ติดสะโพก ผงกะหรี่ไทย เกลือปน่ พริกไทยดำบดหยาบ นำ้ มนั มะกอก (เลก็ น้อย)คลุกน่องไก่ตดิ สะโพกกบั ผงกะหรใี่ หท้ ว่ั โรยเกลือป่นกบั พริกไทยดำเล็กนอ้ ย หมกั ท้งิ ไว้ 30 นาที

1.3 ปลาย่าง สว่ นผสม ปลาทับทิม 1 ตวั เกลอื ป่นหยาบ 200 กรมั แป้งสาลีอเนกประสงค์ 2 ชอ้ นโตะ๊ ขา่ หนั่ แวน่ 3 แว่น ตะไคร้ บุบพอแตก 4 ตน้ ใบมะกรดู 5-7 ใบ ส่วนผสมเคร่อื งเคียง ไข่ไกต่ ม้ 3 ฟอง ผักกาดขาวแกะเป็นใบ ๆ ต้มสกุ 1 หวั กะหล่ำปลตี ้มสุก 1/2 หัว แครอทหน่ั เป็นแท่ง ต้มสุก 1/2 หวั ถ่วั ฝักยาวห่ันทอ่ น ตม้ สุก 12 ฝัก มะเขือเปราะ ต้มสุก 3-4 ลูก

1.4 และอนื่ ๆ

2. องค์ประกอบและโปรตนี ของวัตถดุ ิบ 2.1 เน้ือหมู มีโปรตีนและสารอาหารต่างๆ ได้แก่ ไขมนั วติ ามินเอ วติ ามนิ ซี วติ ามินบี1 วติ ามนิ

บ2ี ไนอาซนิ โซเดยี ว โปแตสเซียม แคลเซยี ม ฟอสฟอรัส แมกนเี ซียม เหลก็ สงั กะสี ทองแดง กรดไขมนั และโคเลสเตอรอล หากแตม่ ี โปรตนี เปน็ จำนวนมาก ฟอสฟอรัสและวติ ามิบีในระดบั กลาง ส่วนแรธ่ าตุ อื่นๆน้ันมปี ริมาณน้อยในท่ีนจี้ ึงขอกล่าวถงึ สารอาหารหลกั ๆทไี่ ดร้ ับจากการรับประทานเน้ือหมู น่นั คือ โปรตนี ฟอสฟอรัส และวติ ามินบ1ี

- โปรตนี เปน็ สารอาหารชนดิ หนงึ่ ทจี่ ำเป็นสำหรบั รา่ งกาย มเี ปน็ จำนวนมากในเนื้อหมู ส่วนประกอบทางเคมขี องโปรตีน คือ กรดอะมโิ น (aminoacid) ซ่ึงรา่ งกายเราจะนำเอากรดอะมิโน เหลา่ น้ีไปใชป้ ระโยชน์ในการสรา้ งโปรตนี มากมายหลายชนิด ส่งิ ทร่ี ่างกายไดร้ ับจากโปรตนี ไดแ้ ก่ ช่วย ในการเจริญเตบิ โต ซ่อมแซมเนอ้ื เยอ่ื สว่ นทสี่ กึ หรอซึง่ ในสว่ นน้ีไขมันและคาร์โบไฮเดรตไมส่ ามารถ ทดแทนไดเ้ นื่องจากไมม่ ีไนโตรเจนอกจากนี้โปรตนี ยังช่วยรักษาปริมาณนำ้ ในเซลล์และหลอดเลอื ดให้

5

อย่ใู นเกณฑ์ทีพ่ อเหมาะโปรตีนเป็สว่ นประกอบท่ีสำคัญในการสรา้ งเอนไซน์ซึง่ เป็นระบบภูมคิ ้มุ กันของ รา่ งกาย ทำให้ร่างกายแข็งแรงและเป็นแหล่งให้พลงั งาน โดยในกรณีท่ีร่างกายได้พลังงานจาก คารโ์ บไฮเดรตและไขมันเพยี งพอ จะนำโปรตนี ไปใชท้ ดแทน

- ฟอสฟอรัส (Phosphorus) เปน็ แรธ่ าตุทีม่ ีความเกี่ยวขอ้ งกันกับกระบวนการทางเคมี ของร่างกายในเกือบทุกสว่ น ประโยชน์ท่รี ่างกายไดร้ ับจากฟอสฟอรัส ไดแ้ ก่ ชว่ ยเสรมิ สร้างสุขภาพ เหงือกและฟนั ซอ่ มแซมสว่ นที่สกึ หรอของรา่ งกาย ชว่ ยในการเผาผลาญไขมันและแปง้ ทำใหร้ า่ งกาย สดช่นื กระปรีก้ ระเปรา่

- วิตามนิ บี1 (Thiamin) คนเรานัน้ ต้องการวติ ามนิ ในปริมาณทไ่ี ม่มากแต่ก็ขาดไมไ่ ด้ วิตามนิ บี 1 ก็เชน่ กัน เป็นสารอาหารทสี่ ำคัญจำเป็นสำหรับรา่ งกายโดยทำหน้าทเี่ ร่งปฏกิ ิริยาในการเผา ผลาญอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมนั ทำให้เกิดพลังงาน วติ ามินบี 1 เป็นตวั ช่วยให้ ประสาทและระบบกลา้ มเน้ือทำงานสัมพันธก์ ันดี มีความสำคญั ต่อสมองและระบบประสาทสมั ผสั หาก ขาดวิตามินบี 1 จะมีความเส่ียงในการเป็นโรคเหนบ็ ชา

2.2 เนือ้ ไก่ เป็นอาหารท่ีใหโ้ ปรตนี สูง ทั้งยงั เป็นโปรตนี ทม่ี ีไขมันนอ้ ย จัดว่าเปน็ หนึ่งในโปรตนี ไขมันต่ำทด่ี ีต่อสุขภาพมากเลยทีเดยี ว ซ่ึงโปรตีนในเนอื้ ไก่นนั้ มีประโยชนต์ อ่ การสร้างกล้ามเน้ือ เพ่ิม ความแขง็ แรงของกระดูก เสรมิ การเจริญเติบโตของร่างกาย และดีตอ่ การลดนำ้ หนกั ด้วย เพราะการ รบั ประทานอาหารทีใ่ หโ้ ปรตีนสงู จะทำใหร้ ูส้ ึกอ่ิมได้มากขึ้น จึงช่วยลดความอยากอาหาร ลดปรมิ าณ การกินคารโ์ บไฮเดรต และลดแคลอรี่ในอาหารม้ือต่อไป นอกจากเน้ือไก่จะเป็นแหล่งอาหารสำคญั ของ โปรตีนแล้ว เน้ือไก่ก็ยังให้วติ ามินสำคัญอย่างวิตามนิ บี 1 วิตามนิ บี 5 วิตามินบี 6 และแร่ธาตจุ ำเป็น อย่างธาตุเหลก็ ทองแดง ฟอสฟอรสั สงั กะสี ซ่ึงเป็นกล่มุ สารอาหารท่ชี ว่ ยกระตนุ้ การทำงานของระบบ ตา่ งๆ ในร่างกาย เสรมิ พลงั งาน และเสรมิ ระบบภูมิค้มุ กนั ให้แข็งแรงดว้ ย

2.3 เนอ้ื ปลา มีวติ ามนิ ดชี ว่ ยเร่ืองการดูดซมึ แคลเซียมและฟอสฟอรัส ทีท่ ำให้กระดูกและฟัน แขง็ แรงโอเมก้า3 ซึ่งเป็นกรดไขมันจำเป็นทร่ี า่ งกายไม่สามารถผลิตข้นึ ไดเ้ อง ซึง่ ในโอเมก้า-3 มกี รดไข มนั ดีเอชเอ (DHA) ชว่ ยพฒั นาสมอง ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ หากกนิ เป็นประจำยงั ช่วย ลดความดนั โลหติ ลดปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือด และระดบั ไตรกลเี ซอไรด์ ซ่ึงเปน็ สาเหตหุ ลักของ โรคหลอดเลือดหัวใจ

3. หลกั การออกแบบ หลกั การออกแบบ เป็นการนำเอาองคป์ ระกอบของการออกแบบ มาจัดเขา้ ด้วยกนั อย่างมี

ระบบและมหี ลักการ จนได้รปู รา่ งของผลติ ภัณฑ์ตามท่ตี อ้ งการ หลกั การออกแบบเตาปิ้งยา่ งท่ีดีมี ดังตอ่ ไปน้ี คือ

6

3.1 หน้าที่ใช้สอย (Function) คือจะต้องออกแบบใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน เพื่อสนองความ ต้องการให้ได้มากท่สี ดุ

3.2 ความปลอดภยั (Safety) คือต้องคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ของผ้ใู ช้ และผลติ ภณั ฑต์ ้องไม่ กอ่ ใหเ้ กิดอันตรายได้ง่ายด้วย

3.3 โครงสรา้ ง (Structure) คอื ผลิตภณั ฑ์จะต้องมกี ารออกแบบโครงสรา้ งใหม้ ีความเหมาะสม ทนทาน และประหยัดให้มากท่ีสดุ

3.4 ความทนทาน (Durability) คอื วสั ดุทน่ี ำมาจะต้องมีความทนทานทนตอ่ การสึกหรอ และ มคี วามแขง็ แรงดว้ ย

3.5 ความสะดวกสบายในการใช้ (Facility) ขนาด สัดสว่ น รปู ทรง ความสงู ความกวา้ ง ความ ยาว และชนดิ ของวสั ดตุ ้องมีความเหมาะสม สามารถที่จะหยบิ ใช้ได้งา่ ย

3.6 ความสวยงาม (Beautiful) ลักษณะเส้น ความโคง้ สี เน้ือวสั ดุ การตกแตง่ ต้องเหมาะสม กับหน้าท่ี โครงสรา้ ง การออกแบบ รปู รา่ งชวนใหซ้ ื้อ และน่าเลอื กนำไปใชง้ าน

3.7 การประหยดั (Economize) ในทางเศรษฐศาสตร์แล้วจะตอ้ งเลอื กใช้วัสดใุ ห้มรี าคาถูกที่ สุด ประหยัด และวัสดุหาได้ง่าย

3.8 วสั ดุ (Material) โครงสรา้ งทน่ี ำมาผลิต จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม กบั การใชง้ าน มี ความแข็งแรง ทนทาน ทนต่อการกดั กร่อน มีคุณสมบัตเิ ฉพาะอย่ใู นตวั และนำมาขนึ้ รูปได้ง่าย

3.9 การซอ่ มแซม และบำรงุ รักษางา่ ย (Repair and Maintenance) ผลิตภณั ฑเ์ มอ่ื นำมาใช้ งานจะได้รับความเสียหายเกดิ ข้นึ สามารถทีจ่ ะแก้ไขซ่อมแซมได้ง่าย เมอื่ มกี ารชำรดุ เสยี หาย

3.10 การขนสง่ (Transportation) ควรทีจ่ ะประหยัดคา่ ขนสง่ มีความสะดวก ระยะทางความ ใกล้ไกล เช่น ทางนำ้ ทางบก และทางอากาศ เปน็ ต้น จะตอ้ งบรรจหุ ีบหอ่ อยา่ งไรบา้ ง โดยที่ไมท่ ำให้ ผลิตภัณฑ์เกิดการเสยี หายได้ง่าย

4. วัสดโุ ลหะและช้นิ ส่วนที่ใช้ในการออกแบบ วัสดุที่ใช้ในการออกแบบเตาปิ้งย่าง จำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องเลือกโลหะหรือวัสดุ และ

ช้ินส่วนเครื่องจักรกลมาใช้ให้ถูกต้องตรงกบั คุณสมบัติ และเหมาะสมกับการนำไปใชง้ าน เพ่ือให้งาน ทีอ่ อกมามีคุณภาพ เชน่ ชิ้นส่วนรถยนต์ อปุ กรณเ์ คร่ืองใชไ้ ฟฟา้ และอปุ กรณ์การเกษตร เป็นตน้ วัสดุโลหะ เหล็กท่ใี ชใ้ นการออกแบบเตาป้งิ ย่างแบบเคลื่อนที่ มีดงั นีค้ อื

4.1 เหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon Steel) เป็นเหล็กกล้าที่มีส่วนผสมของคาร์บอน เป็นหลัก และเจือจางธาตอุ ื่นผสมอยู่ เชน่ คารบ์ อน 0.05-1.5% แมงกานีส 0.025-1.65% ฟอสฟอรัส 0.040 % กำมะถัน 0.050 % และเหลก็ 97% เปน็ ตน้ สามารถแบ่งออกได้ 3 ชนดิ คือ

7

4.1.1 เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Steel) เป็นเหล็กที่มีคาร์บอนผสมอยู่ ระหวา่ ง 0.10-0.30 % นยิ มใช้ทวั่ ไปเนือ่ งจากแปรรปู ได้ง่าย ราคาถกู ชุบผวิ แขง็ ได้

4.1.2 เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง ( Medium Carbon Steel ) เป็นเหล็กมีคาร์บอน ผสมอยู่ระหว่าง 0.30 - 0.60% จะมีความเหนียวลดลงเล็กน้อย ชุบผิวแข็งได้ ในกรณีที่มีคาร์บอน มากกวา่ 0.50 %

4.1.3 เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High Carbon Steel) เป็นเหล็กที่มีปริมาณคาร์บอนผสม อยู่ระหว่าง 0.6-1.50 % มีความแขง็ และความแข็งแรงสูง 5. วัสดชุ ้นิ ส่วนทใ่ี ชใ้ นการออกแบบเตาปิ้งย่างเคลือ่ นท่ี

วัสดุชน้ิ ส่วนท่นี ำมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นช้ินสว่ นที่สามารถหาได้ง่าย ราคาถูก มี ขายอยู่ตามท้องตลาด เช่น ถังเหล็ก 200 ลิตร เหล็กท่อกลม1*1 นิ้ว ตะแกรงรองขี้ถ่าน ตะแกรงป้ิง ยา่ ง เป็นต้น

5.1 ถังเหล็กขนาด 200 ลิตร ผ่าซกี

ภาพท่ี 2.1 ถงั เหล็กขนาด 200 ลิตร

8

5.2 ตระแกรงป้งิ ย่าง ตะแกรงป้งิ ยา่ งสแตนเลส ไร้สนิม ไร้สารตะกวั่ 100%รนุ่ : เรยี บ ขนาดเล็ก : กว้าง 40 ยาว 60 ซม.รายละเอียดสินค้า :– วัสดุเป็นสแตนเลสแท้ทุกช้ินส่วน 100% ใช้ได้กับเตาถ่าน เตาแก๊ส และเตา ไฟฟ้า- ตัวตะแกรงมีช่องแบ่งท่ีขนาดพอเหมาะ ทำให้วางอาหารชิ้นเล็กๆ ตัวตะแกรงมีขอเก่ียวสแตน เลส 2 ด้าน ทำให้ง่ายต่อการหยิบจับ- ปลอดภัย ไร้สารตะกั่ว สามารถทนความร้อนได้อย่างดี ไม่เป็น สนิมแม้ใช้งานและล้างบ่อย- ตัวตะแกรงทำความสะอาดง่าย เพียงแช่ในนำ้ หลังจากใชง้ าน1ช่ัวโมง

ภาพท่ี 2.2 ตระแกรงสแตนเลสป้ิงย่าง 5.3 ล้อเขน็ ล้อยางเป็น ล้อรถเข็น ตราม้า 4 นิ้วล้อยางดำ 4 นิ้วลูกล้อยางดำแป้นหมุน เข็ฯนุ่มนวล ยืด หยุดได้ดีเหมาะสำหรับใช้กลางแจ้งใช้ได้กับพื้น กระเบื้อง เซรามิค หินอ่อน ไม้ และคอนกรีตแข็งแรง ทนทานรับน้ำหนักได้มมากเหมาะสำหรับงานอุตสาหกรรมน้ำหนัก (รวม) : 1 กก.ขนาด (กล่อง) : 16x15x9 ซม.

ภาพท่ี 2.3 ลอ้ เขน็

9

5.4 เหล็กทอ่ กลม 1x1 น้ิว หนา 1 mm. เหล็กท่อกลม หรือเหล็กแป๊บ มีชื่อเรียกอย่างหลากหลาย เช่น เหล็กแป๊บโปร่ง เหล็กกล่อง เหล็กหลอดเหลี่ยม เหล็กท่อเหลี่ยม โดยเหล็กท่อกลมถือเป็นหนึ่งในเหล็กรูปพรรณรีดเย็น (Cold formed structural steel) ผ่านกระบวนการผลิตที่ทันสมัย ตามมาตรฐานมอก. 107-2533 มี ลักษณะเป็น ผิวเรียบ แบบกลวง มีมุมฉากที่เรียบคม ได้มุมฉาก 90 องศา ขนาดความยาวเท่ากันทุก เส้น มีคณุ สมบตั ินำ้ หนักเบา แขง็ แรง ทนทาน รบั แรงต้านทานไดด้ ี

ภาพท่ี 2.4 เหลก็ ท่อกลม 1x1 นิว้ หนา 1 mm.

6. แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความหมายของความพึงพอใจ สาโรจน์ ไสยสมบัติ ได้กล่าวถึงความพึงพอใจเป็นความรู้สึกส่วนตัวของบุคคลในการ

ปฏิบัติงาน ซึ่งรวมไปถึงความพึงพอใจเป็นความรู้สึกส่วนตัวของบุคคลในการปฏิบัติงานซึ่งรวมไปถึง ความพึงพอใจในสภาพแวดล้อมทางกายภาพด้วย การมีความสุขที่ทำงานร่วมกับคนอื่นที่เข้ากันได้มี ทศั นคตทิ ีด่ ตี อ่ งานดว้ ย การวดั ความพึงพอใจ

สาโรจน์ ไสยสมบัติ ได้กล่าวว่า ความพงึ พอใจเกดิ ข้นึ หรือไม่น้ันขึ้นอยู่กบั กระบวน การจัดการ เรียนรู้ประกอบกับระดับความรู้สึกของบุคคลดังนั้นในการวัดความพึงพอใจในการเรียนรู้กระทำได้ หลายวิธี ตอ่ ไปนี้

1. การใช้แบบสอบถามซง่ึ เปน็ วิธีที่นยิ มใชม้ ากอย่างแพรห่ ลายวธิ ีหนง่ึ 2.การสมั ภาษณ์ซง่ึ เปน็ วิธีทตี่ อ้ งอาศัยเทคนิคและความชำนาญพิเศษของผูส้ ัมภาษณ์ที่จะจูงใจ ให้ผ้ตู อบคำถามตามขอ้ เท็จจริง 3. การสงั เกต เปน็ การสังเกตพฤติกรรมทงั้ กอ่ นการปฏิบตั ิกิจกรรม ขณะปฏบิ ัติกิจกรรมและ หลังการปฏิบตั กิ ิจกรรมจะเหน็ ได้ว่าการวัดความพงึ พอใจในการเรยี นรู้สามารถทจ่ี ะวดั ได้หลายวธิ ี ทงั้ น้ี

10

ขน้ึ อยูก่ ับความสะดวกความเหมาะสม ตลอดจนจดุ มุ่งหมาย หรอื เป้าหมายของการวัดด้วยจึงจะส่งผล ให้การวดั นั้น มีประสิทธภิ าพนา่ เช่ือถือ

7. งานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้องกบั โครงการ จตรุ งค์ ลงั กาพินธุ์ และรงุ่ เรอื ง กาลศริ ิศลิ ป์ (2552) ได้ทำการวิจัย เรือ่ ง การออกแบบและ

สร้างเครอ่ื งตัดวางรายต้นพนั ธุ์มนั สำปะหลงั ผลการทดสอบเครอื่ งต้นแบบในแปลงจำลองที่ความเรว็ 0.9, 1.2, และ 1.6 km/h ตามลำดบั พบวา่ เคร่อื งสามารถทำงานไดด้ ที สี่ ุดทค่ี วามเร็วในการเคล่อื นท่ี 0.9 km/h โดยสามารถทำงานได้ 0.6 ไร่ต่อชว่ั โมง มคี วามเสยี หายของต้นพนั ธุ์ 4.4% และใช้น้ำมัน เชือ้ เพลงิ 1.0 ลติ รตอ่ ช่ัวโมง คา่ ต่างๆ ที่ได้จากการทดสอบข้างต้นจะถกู นำไปพฒั นาเครื่องตดั รายต้น พนั ธม์ุ นั สำปะหลังใหส้ ามารถใช้ในการเกบ็ เก่ยี วตน้ พนั ธม์ุ ันสำปะหลงั ของประเทศไทยได้ต่อไป

จตรุ งค์ ลงั กาพนิ ธ์ุ และรุง่ เรือง กาลศริ ิศิลป์ (2552) ได้ทำการวิจัย เรือ่ ง การออกแบบและ สรา้ งเครอ่ื งตัดวางรายต้นพันธุ์มันสำปะหลัง ผลการทดสอบเครอื่ งตน้ แบบในแปลงจำลองทค่ี วามเรว็ 0.9, 1.2, และ 1.6 km/h ตามลำดับ พบว่า เครอื่ งสามารถทำงานไดด้ ที ่สี ุดที่ความเรว็ ในการเคลอ่ื นที่ 0.9 km/h โดยสามารถทำงานได้ 0.6 ไรต่ ่อชวั่ โมง มคี วามเสียหายของต้นพนั ธุ์ 4.4% และใช้นำ้ มนั เช้ือเพลิง 1.0 ลิตรตอ่ ชว่ั โมง คา่ ต่างๆ ที่ไดจ้ ากการทดสอบข้างต้นจะถูกนำไปพฒั นาเคร่ืองตัดรายตน้ พันธ์มุ ันสำปะหลงั ให้สามารถใช้ในการเก็บเกีย่ วต้นพนั ธม์ุ ันสำปะหลังของประเทศไทยได้ต่อไป

กริชตศิ กั ดิ์ เซยี มตะคุ และคณะ (2553) ได้ทำการวจิ ัย เรื่อง การสรา้ งเคร่ืองตดั ท่อนพันธ์ุมัน สำปะหลงั พบวา่ การสร้างเครอ่ื งตัดท่อนพนั ธุ์มันสำปะหลังประกอบด้วยท่อบรรจตุ น้ พันธมุ์ นั สำปะหลงั จำนวน 4 ทอ่ โดยใช้มอเตอรข์ นาด 3 แรงม้า 1 เฟสมีความเรว็ รอบ 1,450 รอบตอ่ นาทเี ป็น ตน้ กำลงั โดยมีใบเลือ่ ยวงเดือนขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 355 มลิ ลิเมตร จำนวน 72 ฟนั คมตัด สำหรับในการทดลองจะใชต้ น้ พนั ธม์ุ ันสำปะหลงั ที่มขี นาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางไมเ่ กิน 40 มลิ ลิเมตรยาว ไมเ่ กิน 1,500 มลิ ลิเมตร เปน็ ชดุ กลุม่ ตัวอย่างโดยการทดลองจะใสต่ ้นพันธุม์ นั สำปะหลังลงในท่อบรรจุ ทอ่ ละ 12 ท่อนหรอื คร้ังละ 48 ท่อน จากผลการทดลองของเครื่องตัดท่อนพนั ธ์ุมนั สำปะหลงั ทส่ี รา้ ง ขึ้นมาน้นั สามารถลดระยะเวลาในการทำงานลงได้ 6.47 นาทีท่ีเปรียบเทยี บกับคน และมีประสทิ ธิ ภาพ ในการทำงานคิด เปน็ ร้อยละ 95.06

วนดิ า รตั นมณี และประโชติ ดำสองสี (2553) ไดท้ ำการวิจัยเร่อื ง การออกแบบและสรา้ ง เครื่องช่วยผลติ น้ำตาลแวน่ พบว่า เคร่อื งจักรมอี ตั รากำลังการผลติ อยู่ที่ 53 แว่นตอ่ นาที โดยมคี า่ ความ สูญเสยี คิดเป็น 26.83% สง่ ผลให้กำลังการผลติ เพิ่มขึน้ 26 แวน่ ตอ่ นาที คดิ เปน็ 96.29% และจากการ วเิ คราะหค์ ุณคา่ ทางเศรษฐศาสตรท์ ำใหพ้ บว่าปริมาณการผลิตท่ีคมุ้ ทุนเทา่ กับ 213 กิโลกรัม โดยมี รายละเอยี ดระยะเวลาในการคนื ทุนของเครื่องจักรอยทู่ ่ี 93 วนั

11

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555) ได้ทำการวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาและออกแบบเครื่องตัดทอ่ น พนั ธ์มุ ันสำปะหลงั พบวา่ ทดสอบการทำงานของเครื่องท่คี วามเรว็ ใบเลื่อยวงเดือนหมุนตัด 600 800 1,000 และ 1,200 รอบต่อนาที และมมุ การปอ้ น 90 องศา และ 45 องศา แผ่นกั้นความยาวท่ี 25 เซนติเมตร ผลปรากฏวา่ ได้ระยะความยาวท่มี ุมการป้อน 90 องศา และ 45 องศา เทา่ กับ 26.0 และ 24.7 เซนตเิ มตร ตามลำดบั ทอ่ นพนั ธมุ์ นั สำปะหลังเกดิ ความเสยี หายที่มมุ การป้อน 90 องศา และ 45 องศา เท่ากับ 24.2 และ 38.4 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลำดับ โดยคุณภาพของท่อนพนั ธมุ์ ันสำปะหลงั จะขึ้นอยู่ กบั ความเรว็ รอบของใบเลื่อยจากผลการทดสอบนั้นพบว่าเครอื่ งตดั ทอ่ นพนั ธ์ุมนั สำปะหลงั แบบเทา้ เหยยี บ มีความเรว็ รอบใบเล่ือยที่เหมาะสมเทา่ กบั 1,000 รอบตอ่ นาที ท่มี ุมการป้อน 90 องศา และ 45 องศา มีอัตราการทางาน 1,240 และ 1,040 ท่อนต่อชัว่ โมง ตามลำดบั

คุรุวรรณ์ ภามาตย์ และคณะ (2556) ได้ทำการวจิ ยั เร่ือง วจิ ยั และพัฒนาเครื่องตดั ทอ่ นพนั ธุ์ มนั สำปะหลงั ผลการทดสอบตัดท่อนพนั ธมุ์ นั สำปะหลงั ความสามารถของเครื่องในการตดั ท่อนพันธ์ุ มันสำปะหลังได้ 3,339 ทอ่ น/ชัว่ โมง ท่อนพนั ธท์ุ ่ีไดม้ ีความเสียหายท่เี กดิ จากเครื่องนอ้ ยกวา่ 3% รอย ตัดเรียบและมีความยาวสม่ำเสมอ ความยาวในการตดั ท่อนพันธุ์สามารถปรบั ตั้งได้ 25-30 ซม. การ ทำงานใชค้ นควบคมุ เคร่อื งมือและป้อนพนั ธ์ุมนั จำนวน 1 คน

ปฐมพงศ์ พรมมาบญุ (2556) ได้ทำการศกึ ษาเรอื่ ง การออกแบบและสร้างเครื่องแยกเสน้ ใบตาล พบว่า โดยผลการประเมินสมรรถนะ สามารถแยกเส้นใบตาลขนาดความกวา้ ง 1 เซนตเิ มตร วัด คา่ เฉลี่ยได้ 1.03 เซนตเิ มตร ขนาดความกวา้ ง 1.5 เซนติเมตร วัดคา่ เฉล่ยี ได้ 1.46 เซนติเมตร ขนาด ความกว้าง 2 เซนตเิ มตร วัดค่าเฉลี่ยได้ 2.00 เซนตเิ มตร ใช้เวลาในการแยกเฉล่ีย 4 วนิ าที/ใบ ข้ึนอยู่ กับการปรบั ต้ังความเร็วมอเตอรม์ กี ำลงั เพียงพอในการขับลำเลยี งใบตาล และการประเมินคณุ ภาพของ เครอื่ งโดยผู้เชยี่ วชาญได้ค่า IOC เท่ากับ 0.94 ซ่ึงอยู่ในเกณฑท์ ี่กำหนดไว้จงึ กล่าวไดว้ า่ เคร่ืองแยกเส้น ใบตาลทพี่ ฒั นาขึ้น สามารถนำไปใชง้ านไดต้ ามวตั ถุประสงค์ทต่ี ั้งไว้

ทวิ าภรณ์ กรมภกั ดี และคณะ (2557) ได้ทำการศกึ ษาเรื่อง เครอื่ งตดั ทอ่ นพนั ธมุ์ นั สำปะหลงั พบว่า จากการตัดท่อนพนั ธุ์มันสำปะหลงั ทเี่ กษตรกรนิยมปฏิบัติ มอี ัตราการตัดท่อนพนั ธุ์มนั สำปะหลงั เฉล่ยี เทา่ กับ 18.80 ท่อน/นาที คดิ เป็นร้อยละ 31.40 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.70 เปอรเ์ ซ็นตท์ ่อนพันธุท์ เ่ี สยี หาย/อัตราการตัดท่อนพนั ธ์ุ เฉลยี่ เท่ากบั 1.4 ท่อน/นาที คิดเป็นร้อยละ 7.45 และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.99 และความยาว ของท่อนพันธ์ุมนั สำปะหลัง เฉลยี่ เท่ากบั 23.67 ซม. สว่ นการตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังโดยเครื่องตดั ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังทผ่ี ู้วจิ ัยออกแบบ และสร้างข้นึ มีอัตราการตัดท่อนพันธ์ุมันสำปะหลัง เฉลย่ี เทา่ กับ 60 ท่อน/นาที คิดเป็นรอ้ ยละ 100 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0 เปอรเ์ ซน็ ต์ทอ่ นพันธท์ุ ี่เสียหาย/อัตราการตัดท่อนพันธุ์ เฉลย่ี เท่ากบั 0.05 ท่อน/นาที คิดเป็นร้อยละ 0.08 และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.22 และความยาว ของท่อนพันธ์มุ นั สำปะหลงั เฉลี่ยเท่ากับ 27 ซม.

12

พิษณุ มนสั ปิติ และ ศิลปชัย วฒั นเสย (2559) ได้ทำการศกึ ษาเรื่อง การออกแบบและสร้าง เครอ่ื งผสมยาเส้นที่มสี ัมฤทธผิ ลสูง พบวา่ การวจิ ัยพบว่าสามารถยืนยนั สมั ฤทธผิ ลของเคร่ืองจักรโดย สามารถลดผ้ปู ฏบิ ตั งิ านลงจาก 8 คนเหลอื เพยี ง 2 คน และลดเวลาการดำเนินการจาก 1 ช่ัวโมง 45 นาที เหลือเพียง 30 นาที จึงกลา่ วไดว้ ่ากระบวนการออกแบบเคร่ืองมือ และการสรา้ งเคร่ืองจักร สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาเคร่ืองจักรอปุ กรณ์ เพื่อใช้ทดแทนผปู้ ฏบิ ัติงานได้ในสถานการณ์ที่ คล้ายคลงึ กนั

วทิ ยา อินทร์สอน และคณะ (2561) ได้ทำการศึกษาเร่ือง การพัฒนาและหาประสิทธภิ าพ เคร่อื งตดั ทอ่ นพันธ์ุมนั สำปะหลังพลงั งานแสงอาทติ ย์ พบวา่ (1) ผลการทดสอบหาประสทิ ธิภาพของ เครอ่ื งตดั ท่อนพนั ธ์ุมนั สำปะหลังพลังงานแสงอาทติ ย์ พบวา่ การตดั ท่อนพันธม์ุ นั สำปะหลงั จากแรงงาน เกษตรกร (ตัดด้วยมอื ) มีอัตราการตดั ท่อนพนั ธม์ุ ันสำปะหลัง เฉลี่ยเทา่ กับ 19.00 ท่อน/นาที จำนวนท่อนพันธท์ุ ่เี สียหาย/จำนวนท่อนพนั ธท์ุ ี่ตัดได้ เฉลี่ยเท่ากับ 1.6 ท่อน/นาที คิดเป็นร้อยละ 8.42 และความยาวของทอ่ นพันธุม์ ันสำปะหลงั เฉลี่ยเทา่ กับ 23.50 ซม. และการตัดท่อนพนั ธ์มุ นั สำปะหลงั โดยเครือ่ งตดั ท่อนพันธมุ์ ันสำปะหลังที่พลงั งานแสงอาทติ ย์ มอี ตั ราการตดั ท่อนพันธมุ์ ันสำปะหลงั เฉลย่ี เทา่ กับ 119 ท่อน/นาที จำนวนท่อนพนั ธ์ุท่ีเสยี หาย/จำนวนท่อนพนั ธุท์ ตี่ ัดได้ เฉลี่ยเทา่ กับ 0.10 ทอ่ น/นาที คดิ เป็นร้อยละ 0.08 และความยาวของท่อนพันธ์ุมนั สำปะหลงั เฉลยี่ เทา่ กบั 27 ซม. มคี วาม ยาวทส่ี ม่ำเสมอมากกวา่ การตัดทอ่ นพันธุม์ นั สำปะหลงั ดว้ ยแรงงานเกษตรกร (การตดั ด้วยมอื ) และ (2) การประเมินผลความพึงพอใจในการใช้งานของเครอื่ งตัดท่อนพนั ธ์ุมันสำปะหลังพลังงานแสงอาทิตย์ โดยภาพ รวม พบว่า อยู่ในระดับคา่ เฉลี่ยมาก ( )=4.02 เมอ่ื วิเคราะหเ์ ปน็ รายข้อ ค่าเฉลยี่ เรยี งลำดบั จากมากไปหาน้อย ดงั น้ี ดา้ นการใชง้ าน ค่าเฉลีย่ มาก ( )=4.30 ดา้ นความปลอดภยั ค่าเฉลย่ี มาก ( )=4.29 ดา้ นวสั ดุ/กรรมวิธีการผลิต คา่ เฉลยี่ มาก ( )=4.01 และดา้ นการออกแบบ คา่ เฉล่ียมาก ( )=3.51

ปัทมาพร ท่อชู และคณะ (2560) ไดท้ ำการศกึ ษาเรื่อง การเพิ่มประสทิ ธิภาพใหแ้ ก่เกษตรกรผู้ ปลูกมนั สำปะหลังดว้ ยเครอ่ื งตดั ทอ่ นพนั ธุ์มันสำปะหลงั เพือ่ ความเข็มแขง็ ในภาคเกษตร จงั หวัด สรุ ินทร์ พบว่า ผลการทดสอบหาประสทิ ธภิ าพของเครื่องตัดท่อนพนั ธม์ุ นั สำปะหลงั

- การตดั ทอ่ นพันธ์มุ ันสำปะหลังจากแรงงานเกษตรกร (ตัดดว้ ยมอื ) มีอัตราการตัดท่อน พันธุ์มันสำปะหลงั เฉลี่ยเท่ากับ 19.00 ท่อน/นาที คิดเป็นรอ้ ยละ 31.67 จำนวนท่อนพันธ์ทุ ี่เสยี หาย/ จำนวนทอ่ นพันธ์ุทตี่ ัดได้ เฉล่ยี เทา่ กับ 1.6 ท่อน/นาที คิดเป็นรอ้ ยละ 8.42 และความยาวของท่อนพนั ธ์ุ มันสำปะหลงั เฉลี่ยเทา่ กบั 23.50 ซม.

- การตัดทอ่ นพนั ธ์ุมันสำปะหลงั โดยเครือ่ งตดั ท่อนพันธม์ุ นั สำปะหลังทีผ่ ู้วิจยั ออกแบบ และสรา้ งขึน้ มีอตั ราการตดั ท่อนพันธม์ุ นั สำปะหลงั เฉล่ียเท่ากับ 60 ท่อน/นาที คิดเป็นรอ้ ยละ 100 จำนวนท่อนพนั ธทุ์ ่ีเสยี หาย/จำนวนท่อนพนั ธทุ์ ่ีตัดได้ เฉลี่ยเท่ากับ 0.05 ท่อน/นาที คิดเป็นรอ้ ยละ 0.08

13

และความยาวของทอ่ นพันธมุ์ ันสำปะหลงั เฉลีย่ เทา่ กับ 27 ซม. ซึ่งมีความยาวที่สม่ำเสมอมาก กว่าการ ตดั ทอ่ นพนั ธมุ์ ันสำปะหลัง ด้วยแรงงานเกษตรกร (การตัดด้วยมือ)

- การประเมนิ ผลความพงึ พอใจในการใชง้ านของเครื่องตัดท่อนพนั ธุ์มันสำปะหลงั โดย ภาพ รวม พบว่า อยใู่ นระดับค่าเฉล่ยี มาก ( )=4.02 เมื่อวิเคราะห์เปน็ รายข้อ ค่าเฉล่ียเรียงลำดับจาก มากไปหานอ้ ย ดงั นี้ ดา้ นการใช้งาน คา่ เฉลยี่ มาก ( )=4.30 ดา้ นความปลอดภัย ค่าเฉล่ยี มาก ( )=4.29 ดา้ นวสั ด/ุ กรรมวิธีการผลติ ค่าเฉลยี่ มาก ( )=4.01 และดา้ นการออกแบบ ค่าเฉล่ียมาก ( )=3.51

สมศักด์ิ คำมา (2561) ได้ทำการศกึ ษาเรื่อง การออกแบบและสรา้ งเครือ่ งสับย่อยเศษพืชผักใน ครวั เรอื น พบวา่ ความเรว็ รอบตัดที่เหมาะสมของเคร่ือง คือ 763 รอบต่อนาที สามารถตัดวัสดุ ไดข้ นาด เล็ก ชว่ ง 46.2 - 120.0 กโิ ลกรัมตอ่ ช่วั โมง คิดเปน็ ร้อยละ 65.0 ±3.5 ตัดตะไครไ้ ดป้ รมิ าณต่ำสดุ 46.2 กโิ ลกรัมตอ่ ช่ัวโมง และตดั ผักบ้งุ จีนไดป้ ริมาณสูงสดุ 120 กิโลกรัมตอ่ ชวั่ โมง เคร่ืองสามารถสับยอ่ ยวัสดุ ให้มขี นาดเล็กตามวัตถปุ ระสงค์การออกแบบ และค่าพลงั งานไฟฟา้ ทใี่ ช้ตดั 0.001 - 0.003 กิโลวัตตต์ ่อ ชั่วโมงตอ่ กิโลกรมั ต้นทนุ การสร้างเครอ่ื งตัดเทา่ กับ 18,500 บาท และต้นทนุ ดำเนินการเฉล่ยี ตอ่ ปี เท่ากับ 11,788 บาท และตน้ ทุนต่อหนว่ ยการผลติ เทา่ กบั 0.35 บาท จากการสรา้ งออกแบบ สิง่ ประดิษฐ์ดงั กลา่ วมีขนาดเล็ก ตน้ ทนุ ต่ำ และมีประสิทธิภาพในการตัดเศษ วสั ดใุ นระดับดมี ากกวา่ ร้อยละ 50

เอกชยั บวั คลี่ (2561) ไดท้ ำการศกึ ษาเรอ่ื ง การออกแบบและสรา้ งเคร่ืองตัดใบบัวหลวง พบวา่ การทดสอบท่คี วามเร็วตดั ของชุดลำเลียงใบบัวหลวงท่ี 0.50, 0.75 และ 1 เมตรตอ่ นาที และจำนวนช้ัน 1, 2, 3, 4 และ5 ตามลำดับ พบวา่ เครือ่ งตัดใบบัวหลวงต้นแบบสามารถทำงานได้ดที ่ีสุดทีความเรว็ ของ ชดุ ตัดลำเลยี งใบบวั หลวง 1 เมตรต่อนาที และจำนวนช้นั ใบหลวง 5 ใบ ด้วยความสามารถในการ ทำงาน 8.58 กิโลกรมั ตอ่ ชว่ั โมง เปอร์เซ็นตก์ ารตดั ใบบวั หลวง 98.9% เปอรเ์ ซ็นต์การสูญเสยี ในการตัด ใบบวั หลวง 1.1% อัตราการสิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้า 92.4 วตั ตต์ ่อชว่ั โมง จากการวเิ คราะหท์ าง เศรษฐศาสตรว์ ศิ วกรรม พบว่า เม่ือใช้เคร่ืองตัดใบบัวหลวง 1,440 ช่วั โมงต่อปี มีคา่ ใช้จา่ ยเฉลยี่ ของ เคร่อื ง 5.31 บาทตอ่ กิโลกรัม ระยคืนทุน 6.4 เดือน จดุ คุ้มทุน 40.5 ชว่ั โมงต่อปี และเคร่ืองตน้ แบบ สามารถทำงานได้เร็วกวา่ แรงงานคน 4.3 เทา่

เทดิ ศักด์ิ พรมทา และคณะ (2562) ได้ทำการศึกษาเร่ือง การออกแบบและพฒั นาเคร่ืองหนั่ สับตน้ กล้วย พบวา่ เคร่อื งห่ันสับต้นกลว้ ยสามารถหน่ั สบั ต้นกล้วย ปริมาณ 5.3 กโิ ลกรัม ภายใน 1 นาที น้ำหนักชิ้นกล้วยท่ีได้ขนาดตามขอบเขตท่ีกำหนด มปี ริมาณ 4.9 กิโลกรัม คดิ เปน็ ประสทิ ธภิ าพการ ทำงานของเคร่ือง เท่ากบั รอ้ ยละ 95.32

สรปุ วา่ การวิจัยเร่อื ง เคร่ืองสบั หัวมนั สำปะหลังแบบเคลื่อนที่ คณะผ้วู ิจัยไดร้ วบรวมทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ ง โดยมีเน้อื หารายละเอียดตามลำดับดังนี้ เช่น ความสำคัญของมนั สำปะหลัง ชนดิ ของมันสำปะหลัง องคป์ ระกอบทางเคมขี องหัวมันสำปะหลัง พันธม์ุ ันสำปะหลัง หลักการ

14

ออกแบบ วสั ดุโลหะและช้นิ ส่วนทใ่ี ชใ้ นการออกแบบเคร่ืองจกั รกล แนวคิดทฤษฎเี ก่ียวกบั ความพึง พอใจ และงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้องกับการออกแบบและพฒั นาเครอ่ื งจักร เพื่อนำมากำหนดเปน็ กรอบ แนวคิดในการวจิ ัย เครื่องสบั หวั มันสำปะหลังแบบเคลื่อนที่ ประกอบไปด้วย

7.1 ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ เตาป้ิงย่างแบบเคล่ือนที่ 7.2 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ประสิทธิภาพของเตาปิง้ ยา่ งแบบเคลือ่ นที่ ในเวลา 1 ชว่ั โมง และความ พึงพอใจของเกษตรกรและผู้ประกอบการต่อการใช้เตาปิ้งย่างแบบเคลื่อนท่ี ได้แก่ ด้านการออกแบบ ด้านวัสดุ ดา้ นการใช้งาน และด้านความปลอดภัย

8. กรอบแนวคิดของโครงการ การวจิ ยั เรอื่ ง เตาป้ิงย่างเคลื่อนที่ ผวู้ ิจัยได้ทำการศกึ ษาค้นควา้ เอกสารทฤษฎี และงานวิจัยท่ี

เก่ียวข้อง โดยกำหนดเปน็ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ได้ดังนี้

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม เตาปงิ้ ยา่ งเคล่ือนที่ ประสิทธภิ าพของเตาปิ้งย่างเคลอ่ื นท่ี ในเวลา 1 ช่วั โมง

ความพึงพอใจของพอ่ ค้า-แมค่ า้ ขายหมปู ิ้ง และลูกคา้ ซอ้ื หมปู ้ิงต่อการใช้เตาปง้ิ ย่างแบบ เคลือ่ นที่ ได้แก่

1. ดา้ นการออกแบบ 2. ดา้ นวสั ดุ/กรรมวธิ กี ารผลิต 3. ด้านการใชง้ าน 4. ดา้ นความปลอดภยั

ภาพท่ี 2.5 กรอบแนวคดิ ของโครงการ

15

บทท่ี 3

วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย

การวจิ ยั เรื่องเตาป้ิงย่างเคลื่อนที่ คณะผู้วิจัยไดด้ ำเนนิ การวจิ ัยตามกระบวนการวจิ ัยเชิงทด ลอง (Experimental Research) โดยมรี ายละเอยี ดวธิ กี ารดำเนนิ การวิจัย ดังนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวยา่ ง ประชากร คือ พอ่ ค้า-แมค่ ้าขายหมปู ง้ิ และลูกค้าซอ้ื หมูปิง้ ในเขตจังหวัดสุรินทร์ กลุม่ ตวั อย่าง คือ พอ่ คา้ -แม่คา้ ผู้ขายหมปู งิ้ และลูกค้าซื้อหมูปง้ิ ในเขตจงั หวัดสรุ นิ ทร์ โดยการ

สมุ่ แบบ เจาะจง จำนวน 30 คน

2. เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 2.1 การหาประสทิ ธิภาพของเตาปิง้ ย่างเคลอ่ื นที่ 2.1.1 การหาประสิทธิภาพของเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี ประกอบด้วยปริมาณการย่างที่ได้ต่อ

เวลา 1 ชั่วโมง ผู้วิจัยทำการทดสอบจำนวน 3 ครั้ง 2.1.2 ผู้วิจัยดำเนินการทดลองเก็บรวบรวมข้อมูลลงในใบบันทึกผลการหาประสิทธิภาพ

ของเตาป้งิ ย่างเคล่อื นที่ด้วยตนเอง

ตารางท่ี 3.1 บันทึกผลการยา่ งลกู ช้นิ เวลา (ชั่วโมง) จำนวน (กโิ ลกรมั ) ลำดับ รายการยา่ งลูกช้ิน 1 0 1 1 0 2 1 0 3 รวม

ตารางท่ี 3.2 บนั ทึกผลการยา่ งไส้กรอก เวลา (ชั่วโมง) จำนวน (กโิ ลกรมั ) ลำดบั รายการย่างไส้กรอก 1 0 1 1 0 2 1 0 3 รวม

16

ตารางที่ 3.3 บนั ทึกผลการย่างหมู เวลา (ชว่ั โมง) จำนวน (กโิ ลกรมั ) ลำดับ รายการยา่ งหมู 1 0 1 1 0 2 1 0 3 รวม เวลา (ช่วั โมง) จำนวน (กิโลกรมั ) 1 0 ตารางท่ี 3.4 บันทึกผลการยา่ งปกี ไก่ 1 0 ลำดบั รายการยา่ งปกี ไก่ 1 0 1 2 3 รวม

3. การสรา้ งเครื่องมอื ในการวจิ ยั การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี ผู้วิจัยได้ดำเนินการสร้าง

เครอื่ งมอื ในการวิจัย ดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 ศึกษาข้อมูล เอกสาร รวบรวมทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็น

เครอื่ งมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในวิธีสร้างแบบสอบถาม 3.2 กำหนดรปู แบบของคำถาม โดยศกึ ษาจากตำราเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 3.3 ร่างแบบสอบถามเตาป้งิ ยา่ ง 3.4 นำร่างแบบสอบถามเตาปิ้งเคลื่อนท่ี ให้ที่ปรึกษาพิจารณาแบบสอบถามที่สร้างขึ้น

และปรบั ปรงุ แก้ไขนำใหท้ ปี่ รึกษาตรวจสอบอีกคร้งั ทำการสรา้ งแบบสอบถามทผ่ี า่ นการตรวจสอบจาก ท่ปี รึกษา/ผเู้ ชี่ยวชาญ โดยแบง่ ออกเป็น 3 ตอน ดงั นี้

ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามปลายปิด (Closed Questionnaire) คำถาม ใช้มาตรวัดแบบ Nominal Scale ชนิดเลือกตอบ (Check List) ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ และระดับการศกึ ษา

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจพ่อค้า-แม่ค้าที่มีต่อเตาปิ้งย่าง เคลื่อนที่ ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการออกแบบ (2) ด้านวัสดุ (3) ด้านการใช้งาน และ (4) ด้านความปลอดภัย เป็นต้น แบบสอบถามปลายปิด (Closed Questionnaire) ชนิดเลือกตอบ

17

(Check List) โดยคำถามใช้แบบมาตราประเมินค่า (Likert Scale Questions) แต่ละคำถามมีคำตอบให้ เลือกตามลำดับความคดิ เห็น 5 ระดับ โดยกำหนดคา่ น้ำหนักของการแปลความหมาย ดงั นี้

ระดับ 5 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ ระดับดมี าก ระดบั 4 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจ ระดบั ดี ระดบั 3 หมายถึง มีความพึงพอใจ ระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ ระดบั นอ้ ย ระดบั 1 หมายถงึ มีความพึงพอใจ ระดบั นอ้ ยมาก ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ชุมชน เป็นแบบสอบ ถามปลายเปิด (Opened Questionnaires) 3.5 ดำเนินการจัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เพื่อนำไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม พ่อคา้ -แมค่ า้ ขายหมูปิง้ ตอ่ ไป

4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4.1 ผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นฉบับสมบูรณ์ เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

ไปขอ้ ความรว่ มมือกบั พอ่ ค้า-แม่คา้ ขายหมปู งิ้ ในเขตจงั หวดั สุรินทร์ 4.2 ผู้วิจัยเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จนครบตามจำนวนกลุ่มตัวอย่าง และนำ

ขอ้ มูลไปวิเคราะห์ตามขัน้ ตอนทางสถิตติ ่อไป

5. การวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic)

แสดงผลการวิเคราะห์ในรูปตาราง ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ และระดับการศึกษา สถิติที่ใช้ วิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ย การแจกแจงความถ่ี (Frequency) และคา่ ร้อยละ (Percentage)

5.2 การวิเคราะห์แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของพ่อค้า-แม่ค้าขายหมูปิ้งที่มี ต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี ประกอบด้วย 4 ดา้ น ได้แก่ (1) ด้านการออกแบบ (2) ด้านวัสดุ (3) ด้านการใช้ งาน และ (4) ด้านความปลอดภัย เป็นต้น สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลด้วย การหาค่าเฉลี่ย (X ) และค่า สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD.) แล้วนำขอ้ มลู เป็นตารางประกอบความเรยี ง

5.3 การวิเคราะห์ข้อมูลและการกำหนดเกณฑ์ในการประเมินความเหมาะสม ผู้วิจัยดำเนนิ การ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD.) กำหนดเกณฑ์ การให้คะแนนค่าน้ำหนักตามแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert Scale) 5 ระดับ และหากผล การวเิ คราะห์ข้อมลู มีคะแนนเฉลี่ยตกอยูร่ ะหว่างชน้ั ของคะแนนเฉลย่ี ใด จะแปลผลตามช่วงชั้นคะแนน เฉล่ียของความเหมาะสม ดังมีความหมายตอ่ ไปน้ี

18

ค่าเฉล่ีย ความหมาย ค่าเฉลี่ย 4.50-5.00 เตาปิ้งย่างเคล่ือนท่ีมีความเหมาะสมมากที่สุด คา่ เฉลี่ย 3.50-4.49 เตาป้งิ ยา่ งเคล่ือนท่ีมีความเหมาะสมมาก คา่ เฉลยี่ 2.50-3.49 เตาป้ิงย่างเคล่ือนที่มีความเหมาะสมปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.50-2.49 เตาปงิ้ ยา่ งเคลื่อนที่มีความเหมาะสมน้อย ค่าเฉล่ีย 1.00-1.4 เตาปิง้ ย่างเคล่ือนที่มีความเหมาะสมน้อยท่สี ดุ

6. สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) นำเสนอด้วยค่าร้อยละ (Percentage: %)

ค่าเฉล่ีย (Mean : X ) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)

6.1 ค่ารอ้ ยละ (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2554)

P = f x 100

N

เม่อื P = คา่ รอ้ ยละ

f = จำนวนหรือความถ่ีท่ีต้องการหาคา่ ร้อยละ

n = จำนวนขอ้ มลู ทั้งหมด

6.2 ค่าเฉลย่ี (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2554)

X = X N

เมื่อ X = ค่าเฉล่ยี ของคะแนน

X = ผลรวมของข้อมูลหรือคะแนน N = จำนวนขอ้ มลู 6.3 คา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (บุญชม ศรีสะอาด. 2554)

S.D. = N  x2 − ( x)2

N(N −1)

เมอื่ S.D. = ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน x 2 = ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกำลังสอง (x)2 = ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดยกกำลงั สอง

19

N = จำนวนในกลมุ่ ตวั อยา่ งหรือจำนวนขอ้ มูล

20

บทที่ 4

ผลการวิจยั

การวจิ ยั เรื่อง เตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี มวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อออกแบบและสรา้ งเตาป้ิงย่างเคลื่อนที่ เพื่อหาประสิทธิภาพเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ และเพื่อหาความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี โดยมี รายละเอียดตาม ลำดับขน้ั ตอนผลการวิจยั ไดด้ ังตอ่ ไปน้ี

1. ผลการทดสอบหาประสทิ ธภิ าพของเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการใช้จำนวน 30คน โดยเป็นงานวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Research) ประมวลผล ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือจำนวน (n) ค่าร้อยละ (Percentage : %) ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD.) ตามลำดบั ดงั นี้

1. ผลการทดสอบหาประสิทธภิ าพของเตาป้ิงย่างเคล่ือนท่ี ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของเตาป้ิงย่างเคลื่อนท่ี โดยทำการทดลองย่างเป็นเวลา 1

ชั่วโมง จำนวน 1 คร้ัง แสดงผลดงั ตารางที่ 4.1

ตารางท่ี 4.1 บันทึกผลการย่างลกู ชนิ้ ในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส

ลำดับ รายการย่างลกู ชนิ้ เวลา (ชวั่ โมง) จำนวน (กิโลกรมั ) 10 1 ลกู ชิ้น 1 10.5 11 2 ลกู ช้ิน 1 10.5

3 ลกู ชน้ิ 1

รวม 1

จากตารางท่ี 4.1 บันทึกผลการย่างลูกช้ินในอุณหภมู ิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถย่าง ลูกชิน้ ได้ 10.5 กิโลกรัม/1 ชั่วโมง

21

ตารางท่ี 4.2 บันทึกผลการยา่ งไส้กรอกในอณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซยี ส

ลำดบั รายการย่างไส้กรอก เวลา (ชัว่ โมง) จำนวน (กโิ ลกรมั ) 11 1 ไส้กรอก 1 11.5 12 2 ไส้กรอก 1 11.5

3 ไสก้ รอก 1

รวม 1

จากตารางที่ 4.2 บันทึกผลการย่างไส้กรอกในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถ ย่างไสก้ รอกได้ 11.5กิโลกรัม/1 ชวั่ โมง

ตารางที่ 4.3 บันทึกผลการยา่ งหมูในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซยี ส

ลำดับ รายการยา่ งไส้กรอก เวลา (ชว่ั โมง) จำนวน (กโิ ลกรมั )

1 หมู 19

2 หมู 1 9.5

3 หมู 1 10

รวม 1 9.5

จากตารางที่ 4.3 บันทึกผลการยา่ งหมูในอณุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถย่างหมู ได้ 9.5กโิ ลกรัม/1 ชวั่ โมง

ตารางที่ 4.4 บันทึกผลการยา่ งปีกไกใ่ นอณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซียส

ลำดับ รายการยา่ ง เวลา (ชว่ั โมง) จำนวน (กิโลกรัม) 12 1 ปีกไก่ 1 12.5 13 2 ปีกไก่ 1 12.5

3 ปีกไก่ 1

รวม 1

จากตารางที่ 4.4 บันทึกผลการย่างปีกไก่ในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถย่าง ปีกไกไ่ ด้ 12.5 กโิ ลกรัม/1 ชั่วโมง

22

2. การประเมินผลความพงึ พอใจของพอ่ คา้ -แมค่ า้ ท่ีมีต่อเตาป้ิงย่างเคลื่อนที่

การประเมินผลความพึงพอใจของพ่อค้า-แม่ค้าที่มีต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่สำหรับนำเสนอ

ด้วยจำนวน (n) และรอ้ ยละ (%) ปรากฏดงั ตารางท่ี 4.2

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปเก่ยี วกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตารางท่ี 4.5 แสดงจำนวน และรอ้ ยละข้อมูลทวั่ ไปเกย่ี วกับสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม

ข้อมูลท่ัวไป จำนวน (n= 35 คน) ร้อยละ (%)

เพศ 20 57.14 ชาย 15 42.86 หญงิ อายุ 3 8.57 21-30 ปี 7 20.00 31-40 ปี 15 42.86 41-50 ปี 10 28.57 51-60 ปี สถานภาพ 8 22.86 โสด 27 77.14 สมรส ระดบั การศกึ ษา ประถมศึกษา 2 5.71 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 22 62.86 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 5 14.29 อนุปรญิ ญา 6 17.14 ปริญญาตรี - ปริญญาโท อาชพี 28 80.00 เกษตรกรรม 2 5.71 คา้ ขาย/เจ้าของธุรกจิ 3 8.58 รับจา้ ง/พนักงานเอกชน 2 5.71 รับราชการ 35 100 รวม

23

จากตารางที่ 4.5 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อายุ 41-50 จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 420 สถานภาพสมรส จำนวน 17 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 68.00 ระดบั การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 12 คน คิดเป็น ร้อยละ 48.00 และอาชีพ ค้าขาย จำนวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48.00 ตอนที่ 2 ข้อมูลเกีย่ วกับความพงึ พอใจของเตาป้ิงย่างเคลื่อนที่

การวิเคราะห์ความพึงพอใจของเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา นำเสนอด้วย คา่ เฉล่ีย ( X ) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ในการแปลผลดงั น้ี

ตารางท่ี 4.6 ความพงึ พอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ด้านการออกแบบ

ด้านการออกแบบ X S.D. แปลค่า ลำดบั 1. มกี ารออกแบบคำนงึ ถงึ ความสน้ิ เปลอื งวสั ดุนอ้ ยทีส่ ุด 4.40 0.60 มาก 4

2. มกี ารออกแบบเลอื กใช้วัสดทุ ีเ่ หมาะสมและความสวยงาม 4.60 0.50 มากที่สุด 3

3. การออกแบบสามารถบำรงุ รักษาไดง้ า่ ย 4.17 0.71 มาก 5

4. สามารถตอบสนองความต้องการของเกษตรกร 4.97 0.17 มากท่สี ดุ 1

5. ลกั ษณะทั่วไปรปู แบบ รูปทรง และขนาดมีความ 4.63 0.49 มากท่สี ุด 2

เหมาะสม

รวม 4.55 0.25 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.6 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ด้านการออก แบบ อยู่ในระดับ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.55 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ ค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย พบว่า สามารถตอบสนองความต้องการ พ่อค้า-แม่ค้าค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X =4.97 และมีการการออกแบบ สามารถบำรงุ รักษาไดง้ า่ ย ค่าเฉลย่ี มาก (X )=4.17

ตารางที่ 4.7 ความพงึ พอใจต่อเตาปิง้ ย่างเคลอื่ นที่ ด้านวสั ดุ

ด้านวัสดุ X S.D. แปลคา่ ลำดับ 1. โครงสรา้ งวัสดุไม่ซบั ซ้อน 4.43 0.50 มากทส่ี ุด 3

2. วัสดุทีใ่ ชม้ ีความทนทาน 4.71 0.46 มากท่ีสดุ 2

3. วสั ดุที่ใช้มคี วามแขง็ แรง 4.89 0.32 มากที่สุด 1

4. เลอื กใช้วสั ดทุ ี่สามารถแปรรูปไดง้ ่าย เชน่ เชอ่ื ม กลงึ ตดั 4.09 0.28 มาก 5

5. เลือกใชว้ ัสดุที่หาซ้อื ไดง้ ่าย มีจำหน่ายในท้องตลาด 4.17 0.38 มาก 4

รวม 4.46 0.19 มากท่สี ุด

24

จากตารางที่ 4.7 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ด้านวัสดุ อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด ( X )=4.46 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ ค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย พบว่า วัสดุที่ใช้มี ความแข็งแรง ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.89 และเลือกใช้วัสดุที่สามารถแปรรูปได้ง่าย เช่น เชื่อม กลึง อละตดั คา่ เฉล่ียมาก (X )=4.49

ตารางท่ี 4.8 ความพึงพอใจต่อเตาป้ิงย่างเคลื่อนที่ ดา้ นการใชง้ าน

ด้านการใชง้ าน X S.D. แปลคา่ ลำดบั 1. สะดวกในการเคลื่อนย้าย 4.37 0.49 มาก 3 2. การบำรงุ รักษา ดูแลไดง้ ่าย 4.20 0.41 มาก 4

3. มคี วามแขง็ แรง ทนทานตอ่ การใช้งาน 4.51 0.51 มากทีส่ ุด 2 4. สามารถใชง้ านได้งา่ ย ไม่ซับซ้อน 4.71 0.46 มากท่สี ดุ 1

รวม 4.45 0.25 มาก

จากตารางที่ 4.8 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ด้านการใช้งาน อยู่ในระดับค่าเฉล่ีย มาก (X )=4.45 เมื่อวเิ คราะห์เปน็ รายข้อ ค่าเฉลย่ี เรยี งลำดับจากมากไปหานอ้ ย พบว่า สามารถใช้งาน ได้ง่าย ไม่ซับซ้อน ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.71 และการบำรุงรักษา ดดูแลง่าย ค่าเฉลี่ยมาก ( X )=4.20

ตารางที่ 4.9 ความพงึ พอใจต่อเตาป้ิงย่างเคลื่อนที่ ด้านความปลอดภัย

ดา้ นความปลอดภยั X S.D. แปลค่า ลำดับ 1. มีความปลอดภัยต่อการใช้งาน 4.83 0.38 มากที่สดุ 1 มากท่สี ุด 3 2. มรี ะบบปอ้ งกันความปลอดภัย 4.54 0.51 5 มาก 2 3. มคี ู่มอื ความปลอดภยั ในการใชง้ าน 4.23 0.65 มากท่สี ุด 4

4. โครงสร้างแขง็ แรงมคี วามปลอดภยั 4.69 0.47 มาก มากที่สดุ 5. ชุดใบมีดตดั และสายพานลำเลยี งมกี ารจับยึดทปี่ ลอดภัย 4.51 0.51

รวม 4.56 0.25

จากตารางที่ 4.9 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ด้านความปลอดภัย อยู่ในระดับ ค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด ( X )=4.55 เมอื่ วิเคราะหเ์ ป็นรายข้อ คา่ เฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย พบว่า มี

25

ความปลอดภัยต่อการใช้งาน ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.83 และมีคู่มือความปลอดภัยในการใช้งาน คา่ เฉล่ียมาก (X )=4.23

ตารางท่ี 4.10 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคล่ือนท่ี โดยภาพรวม

โดยภาพรวมทุกด้าน X S.D. แปลคา่ ลำดบั 1. ดา้ นการออกแบบ 4.55 0.25 มากทสี่ ดุ 2 3 2. ด้านวสั ดุ 4.46 0.19 มาก 4 มาก 1 3. ดา้ นการใช้งาน 4.45 0.25 มากที่สดุ มากทสี่ ดุ 4. ดา้ นความปลอดภยั 4.56 0.25

รวม 4.50 0.23

จากตารางที่ 4.10 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ โดยภาพรวม พบว่าในระดับ คา่ เฉลี่ยมาก (X )=4.02 เมือ่ วเิ คราะหเ์ ป็นรายขอ้ ค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหานอ้ ย

1. ด้านความปลอดภยั คา่ เฉล่ยี มากท่ีสดุ (X )=4.56 2. ด้านการออกแบบ คา่ เฉล่ียมากทส่ี ดุ (X )=4.55 3. ด้านวัสดุ ค่าเฉล่ยี มาก ( X )=4.46 4. ดา้ นการใชง้ าน ค่าเฉลี่ยมาก (X )=4.45

26

บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง เตาปิ้งย่างเคลื่อนที่สำหรับ มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างเตาปิ้งย่าง เคลื่อนท่ี เพื่อหาประสิทธิภาพเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี และเพื่อหาความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ โดยมีกลมุ่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการใชจ้ ำนวน 35 คน โดยเป็นงานวิจยั เชงิ ทดลอง (Experiment Research) ประมวลผล ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือจำนวน (n) ค่าร้อยละ (Percentage : %) ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD.) โดยสามารถ สรปุ ผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ตามลำดับดังนี้

1. สรปุ ผลการวิจยั 1.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 20 คน คิด

เป็นร้อยละ 57.14 อายุ 41-50 จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 420 สถานภาพสมรส จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 68.00 ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 48.00 และอาชพี ค้าขาย จำนวน 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 48.00

1.2 ความพึงพอใจต่อเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ โดยภาพรวม พบว่าในระดับค่าเฉลี่ยมาก ( X )=4.02 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ ค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ประกอบด้วย ด้านความ ปลอดภัย ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.56 ด้านการออกแบบ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.55 ด้านวัสดุ คา่ เฉลย่ี มาก (X )=4.46 และดา้ นการใชง้ าน คา่ เฉลยี่ มาก (X )=4.45 ตามลำดับ

1.3 ผลการทดสอบหาประสทิ ธภิ าพ มีรายละเอยี ดดงั นี้ 1.3.1 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพย่างลูกชิ้นในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่า

สามารถยา่ งลูกชน้ิ ได้ 10.5 กโิ ลกรัม/1 ช่วั โมง 1.3.2 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพยา่ งไส้กรอกในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่า

สามารถยา่ งไส้กรอกได้ 11.5กโิ ลกรัม/1 ช่วั โมง 1.3.3 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพย่างหมูในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่า

สามารถยา่ งหมูได้ 9.5กิโลกรมั /1 ช่ัวโมง 1.3.4 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพย่างปีกไก่ในอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส พบว่า

สามารถยา่ งปีกไกไ่ ด้ 12.5 กิโลกรัม/1 ชัว่ โมง

27

2. อภิปรายผล การวิจัยเรื่อง เตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของพ่อค้า-แม่ค้าและ

ผูป้ ระกอบการท่ีมีตอ่ เตาป้ิงย่างเคลื่อนท่ี โดยแยกเปน็ รายด้าน 2.1 ด้านการออกแบบ อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.55 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ

ค่าเฉลี่ยเรียงลำดบั จากมากไปหาน้อย พบว่า สามารถตอบสนองความต้องการของเกษตรกร ค่าเฉลี่ย มากที่สุด ( X =4.97 และมีการการออกแบบสามารถบำรุงรักษาได้ง่าย ค่าเฉลี่ยมาก ( X )=4.17 ซ่ึง สอดคล้องกับหลักการของวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2564) ได้กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง การ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือปรับปรุงดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และมีรูปแบบที่เปลี่ยนไปจากเดิม การ ถา่ ยทอดรปู แบบจากความคิดออกมาเป็นผลงาน ทผี่ อู้ ่ืนสามารถมองเหน็ รับรู้ หรือสมั ผัสได้ และสอด คล้องกับงานวิจัยของปฐมพงศ์ พรมมาบุญ (2556) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การออกแบบและสร้างเครื่อง แยกเส้นใบตาล ด้านการออกแบบ พบว่า ขนาดของเคร่ืองมคี วามเหมาะสม และการออกแบบเลือกใช้ วัสดทุ ่เี หมาะสม

2.2 ด้านวัสดุ อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.46 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ ค่าเฉล่ีย เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย พบว่า วัสดุที่ใชม้ ีความแข็งแรง ค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด ( X )=4.89 และเลือก ใชว้ ัสดทุ ีส่ ามารถแปรรูปได้ง่าย เชน่ เชอื่ ม กลึง และตดั ค่าเฉลี่ยมาก ( X )=4.49 สอดคล้องกับแนวคิด ของไพฑูรย์ ประสมศรี (2543) ได้กล่าวว่า วัสดุ (Materials) หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุที่นำมาใช้ ประกอบกันเป็นชิ้นงานตาม การออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้และมีคุณสมบัติเฉพาะตัวทาง ฟิสิกส์ ทางเคมี ไฟฟ้า หรือคุณสมบัติเชิงกลแตกตา่ งกัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของชูชาติ พะยอม (2555) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การสร้างและหาประสิทธิภาพเครื่องสาวไหมแบบกึ่งอัตโนมัติ ด้านวัสดุ พบว่า วัสดุที่ใช้มีความแข็งแรง มีความทนทาน โครงสร้างไม่ซับซ้อน หาซื้อได้ง่ายมีจำหน่ายในท้อง ตลาด และควรเลือกวัสดทุ ่ีสามารถแปรรูปไดง้ า่ ย

2.3 ด้านการใช้งาน อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมาก ( X )=4.45 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ ค่าเฉลี่ย เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย พบว่า สามารถใช้งานได้ง่าย ไม่ซับซ้อน ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X )=4.71 และการบำรุงรกั ษา ดดูแลงา่ ย ค่าเฉล่ยี มาก (X )=4.20 ซง่ึ สอดคล้องกบั งานวิจัยของบุญตดิ ตุลาจันทร์ (2558) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การสร้างเครื่องคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวระบบโรตารี่ ด้านการใช้งาน พบว่า สามารถใชง้ านไดง้ ่าย มีความแข็งแรงทนทานต่อการใช้งาน สะดวกในการเคลื่อนย้าย และบำรุงรักษา ได้ง่าย

2.4 ด้านความปลอดภัย อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X )=4.55 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ ค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย พบว่า มีความปลอดภัยต่อการใช้งาน ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X ) \=4.83 และมีคู่มือความปลอดภัยในการใช้งาน ค่าเฉลี่ยมาก ( X )=4.23 ซึ่งมีความสอดคล้องกับ งานวิจัยของ ทิวาภรณ์ กรมภักดี และคณะ (2557) ได้ทำการศึกษาเรื่อง เครื่องตัดท่อนพันธุ์มัน

28

สำปะหลัง ด้านความปลอดภัยของเครื่องจักร ได้กล่าวว่า ควรที่จะมีระบบป้องกันความปลอดภัย มี ความปลอดภัยต่อการนำไปใช้ของกลุ่มเกษตรกร ชุดใบมีดตัดควรที่จะจับยึดแกนให้แน่น และควรมี การตรวจเช็คทุกครั้งก่อนนำไปใช้งานจริงทุกครั้ง เพื่อความปลอดภัยในการนำไปใช้งาน และมี สอดคล้องกับแนวคิดของ จรูญ พรมสุทธิ์ (2559) ได้กล่าวว่า ความปลอดภัย หมายถึง การป้องกัน อันตรายที่อาจจะเกิดข้ึนกับอวัยวะต่าง ๆของรา่ งกายในขณะปฏิบัติงาน ซึง่ สามารถป้องกันอันตรายท่ี อาจจะเกดิ ข้นึ โดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายความมรี ะเบียบ ความมวี ินยั และการปฏิบัติตาม กฎความปลอดภัยโดยเครง่ ครดั

3. ขอ้ เสนอแนะ 3.1 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ จากการวจิ ัยเรอื่ ง เตาป้ิงย่างเคล่ือนท่ี คณะผวู้ จิ ัยมีขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ ดงั น้ี 3.1.1 ด้านการออกแบบ - ควรมกี ารออกแบบให้สามารถบำรุงรักษาได้งา่ ย - ออกแบบใหค้ ำนงึ ถึงความสน้ิ เปลอื งวสั ดใุ ห้น้อยทส่ี ุด - มกี ารออกแบบเลอื กใช้วสั ดุท่ีเหมาะสมและความสวยงาม 3.1.2 ดา้ นวสั ดุ - วัสดุที่นำมาใช้ควรที่จะสามารถนำมาทำการแปรรูปได้ง่าย เช่น เชื่อม ตัด เจาะ

และกลงึ - ควรเลือกใชว้ ัสดทุ ่ีใชใ้ นการผลิต สามารถหาซ้อื ไดง้ ่าย มีจำหน่ายในราคาท้องตลาด - โครงสร้างวัสดุไมซ่ ับซอ้ น และวสั ดุที่ใชม้ ีความทนทาน

3.1.3 ดา้ นการใช้งาน - การบำรงุ รกั ษา ดูแลได้ง่าย - ควรท่ีจะเคลือ่ นย้ายไดส้ ะดวก และมีความแขง็ แรง ทนทานต่อการใชง้ าน

3.1.4 ดา้ นความปลอดภยั - ควรมคี มู่ ือความปลอดภยั ในการใช้งาน - มีระบบปอ้ งกนั ความปลอดภยั

3.2 ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ัยครั้งต่อไป 3.2.1 การพฒั นาเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี ควรมีพัดลมเพิ่มเติม 3.2.2 การพัฒนาเตาปิ้งย่างเคลื่อนที่ ตะแกรงสแตนเลสควรจะสามารถหาซื้อได้ใน

ท้องตลาด

29

3.2.3 การพฒั นาเตาปิ้งย่างเคลื่อนท่ี ควรทำเพื่อใหส้ ามารถเคล่อื นยา้ ยไดส้ ะดวก เพราะ จะได้นำไปใชใ้ นพื้นที่ทไ่ี มม่ รี ะบบไฟฟ้าได้

30

บรรณานุกรม

บุญติด ตุลาจนั ทร์. (2558). การสรา้ งเครือ่ งคดั แยกเมลด็ พันธ์ขุ า้ วระบบโรตารี่. แผนกวชิ าช่างเชือ่ ม โลหะ วทิ ยาลัยเทคนิคสรุ ินทร์.

วทิ ยา อนิ ทรส์ อน. (2562). วสั ดุงานช่างอุตสาหกรรม. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ศนู ยห์ นังสือเมืองไทย. วิทยา อนิ ทร์สอน และคณะ. (2561). การพฒั นาและหาประสิทธิภาพเคร่ืองตัดทอ่ นพันธุ์มันสำปะหลัง

พลงั งานแสงอาทิตย.์ วทิ ยาลัยเทคนคิ สรุ นิ ทร์ แผนกวชิ าชา่ งเชื่อมโลหะ. วิทยา อินทร์สอน และคณะ. (2564). เคร่ืองสับสมนุ ไพรกึ่งอตั โนมตั ิ (วิสาหกจิ ชุมชนเกษตรทฤษฎใี หม่

31

ภาษาอังกฤษ Applewhite, P. B. (1965). Organization Behavior Englewook Cliffs. New York : Prentice

Hall. Kuczmarski, Thomas D. (2003). What is Innovation? And Why aren’t Companies Doing

More of It?. Journal of Consumer Marketing. 20 (6) : 536-541. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York : Mcgraw – Hill Inc.

จากเวบ็ ไซด์ รชั ฏาพร มชั ฌมิ า และรงุ่ ทิพย์ หลกั หาญ. (2564) บทเรียนออนไลน์การจดั การผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ .

(ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/karcadkarphlitphanththxx ngthin/phu-cad-tha-1. สืบค้น 1 มถิ นุ ายน 2564. วิกพิ ีเดีย สารานุกรมเสรี. (2563). สง่ิ ประดษิ ฐ์. (ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก : https://th.wikipedia. org/wiki/. สืบค้น 3 มิถนุ ายน 2564. วิกพิ เี ดยี สารานุกรมเสรี. (2564). การออกแบบ. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia. org/wiki/การออกแบบ. สืบค้น 3 สิงหาคม 2564. สำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการสง่ เสริมวสิ าหกจิ ชมุ ชน. วสิ าหกจิ ชุมชน. (2564) (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.sceb.doae.go.th/Ssceb2.htm. สืบค้น 16 ตุลาคม 2564. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.). (2563). สิ่งประดิษฐไ์ ทย. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://thaiinvention.nrct.go.th/main/define.php. สบื ค้น 5 มิถนุ ายน 2564. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2563). สดุ ยอดนวตั กรรมอาชวี ศึกษา การประกวด สง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจำปกี ารศึกษา 2563. (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก : https://drive.google.com/file/d/1AKXGAXUN81Fj8C-LaJpruDWKlwbnuP5X/view สบื ค้น 5 มถิ นุ ายน 2564. อำนาจ วัดจนิ ดา. (มปป.). นวตั กรรม (Innovation). (2564). (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก : https://www.hrcenterco.th/file/columns/hr_f_20170510_162245. สบื ค้น 28 พฤษภาคม 2564. มอรต์ ัน (Morton, J.A.). (2564). นวัตกรรม. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://pubhtml5.com/ onwr/khrj/basic. สบื ค้น 20 พฤษภาคม 2564. Damanpour. (1987). นวัตกรรม. (ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก : https://docs.google.com/ document/ d/10auGv8Ub5LlqTyYKtwzRP_FUCaLZNjGGSsnfgP8mffQ/ediสืบคน้ 1 มิถุนายน 2564.

32

ภาคผนวก ก

(ตารางบนั ทึกการทดลอง)

33

ตารางท่ี 1 บนั ทกึ ผลการยา่ งลูกชิน้ เวลา (ชั่วโมง) จำนวน (กิโลกรมั ) ลำดบั รายการลูกชิ้น 1 1 1 2 1 3 รวม เวลา (ชวั่ โมง) จำนวน (กิโลกรมั ) 1 ตารางท่ี 2 บันทึกผลการยา่ งไสก้ รอก 1 ลำดบั รายการไสก้ รอก 1 1 2 เวลา (ช่ัวโมง) จำนวน (กโิ ลกรัม) 3 1 รวม 1 1 ตารางที่ 3 บนั ทกึ ผลการย่างหมู ลำดบั รายการหมู เวลา (ชัว่ โมง) จำนวน (กโิ ลกรัม) 1 1 2 1 3 1 รวม

ตารางที่ 4 บนั ทึกผลการยา่ งปกี ไก่ ลำดับ รายการปีกไก่ 1 2 3 รวม

34

ภาคผนวก ข

(แบบสอบถาม เร่ือง เตาป้งิ ย่างเคลอื่ นที่)

35

แบบสอบถามการวจิ ัย

โครงการ เตาปงิ้ ย่างเคลอ่ื นที่

การวิจยั ในครงั้ นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือออกแบบและเตาป้งิ ย่างเคลือ่ นที่ 2. เพือ่ หาประสทิ ธภิ าพเตาปง้ิ ยา่ งเคลือ่ นที่ 3. เพือ่ หาความพงึ พอใจต่อเครอื่ งเตาปงิ้ ย่างเคลื่อนที่

คำชแ้ี จง โปรดกาเคร่ืองหมาย ( ) ลงในชอ่ งว่างหนา้ ขอ้ ความท่ีเป็นจรงิ ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

1. เพศ  2) หญงิ  1) ชาย  2) 31-40 ปี 2. อายุ  4) 51-60 ปีขน้ึ ไป  1) 21-30 ปี  3) 41-50 ปี  2) สมรส

3. สถานภาพ  2) มธั ยมศึกษาตอนตน้  1) โสด  4) อนปุ ริญญา/ปวส.  6) ปรญิ ญาโท 4. ระดับการศึกษา  1) ประถมศึกษา  2) คา้ ขาย/เจ้าของธรุ กจิ  3) มัธยมศกึ ษาตอนปลาย  4) รบั ราชการ  5) ปริญญาตรี

5. อาชพี  1) เกษตรกรรม  3) รบั จ้าง/พนกั งานเอกชน

36

ตอนท่ี 2 การประเมินผลความพึงพอใจตอ่ เตาปิ้งยา่ งเคล่อื นที่ ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 21 ด้านการออกแบบ

1. มกี ารออกแบบคำนึงถึงความสิน้ เปลอื งวสั ดนุ ้อยท่ีสุด 2. มีการออกแบบเลือกใชว้ สั ดุท่ีเหมาะสมและความสวยงาม 3. ออกแบบทส่ี ามารถบำรงุ รักษาไดง้ ่าย 4. สามารถตอบสนองความต้องการของเกษตรกร 5. ลกั ษณะทวั่ ไปรูปแบบ รูปทรง และขนาดมคี วามเหมาะสม

ด้านวัสดุ 1. โครงสรา้ งไมซ่ ับซ้อน 2. วัสดทุ ีใ่ ช้มีความทนทาน 3. วสั ดทุ ่ีใช้มคี วามแข็งแรง 4. เลอื กใช้วัสดทุ ส่ี ามารถแปรรูปได้งา่ ย เช่น เช่อื ม กลึง และตดั 5. เลือกใช้วัสดุที่หาซือ้ ได้ง่าย มจี ำหนา่ ยในท้องตลาด

ด้านการใชง้ าน 1. สะดวกในการเคลอื่ นยา้ ย 2. การบำรุงรักษา ดูแลได้ง่าย 3. มคี วามแข็งแรง ทนทานตอ่ การใชง้ าน 4. สามารถใช้งานได้งา่ ย ไม่ซับซอ้ น

ด้านความปลอดภยั 1. มีความปลอดภัยต่อการใช้งาน 2. มรี ะบบป้องกนั ความปลอดภัย 3. มีคมู่ อื ความปลอดภยั ในการใช้งาน 4. โครงสร้างแข็งแรงมีความปลอดภยั

(ขอบพระคณุ ทุกท่านทชี่ ่วยตอบแบบสอบถาม

37

ประวัติคณะผ้วู ิจัย

หวั หนา้ ทีมโครงการวจิ ยั นายเกียรตศิ ักด์ิ ดาศรี ทอี่ ยู่ แผนกวชิ าช่างเช่อื มโลหะ วทิ ยาลยั เทคนิคสุรนิ ทร์ 346 ถนนหลกั เมือง ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั สรุ นิ ทร์ (32000) โทร 080-2713550

นายอรชูนน่า สไตเนอร์ ที่อยู่ แผนกวิชาชา่ งเชื่อมโลหะ วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ 346 ถนนหลกั เมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จงั หวัดสรุ นิ ทร์ (32000) โทร 064-4328617

นายสาธติ จำปาเลยี ง ท่อี ยู่ แผนกวิชาช่างเช่อื มโลหะ วิทยาลัยเทคนิคสรุ ินทร์ 346 ถนนหลกั เมือง ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั สุรินทร์ (32000) โทร 093-4716372