เภส ช ม.ขอนแก น คณะเภส ชศาสตร โครงการพ เศษ ค าเทอม

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านดา้ นวเิ ทศสมั พนั ธ์ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นางสาวศิริจรรยา แกว้ สารภูมิ นกั วเิ ทศสมั พนั ธ์ งานการจดั การพัฒนา คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

คำนำ คู่มือปฏิบัติงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เล่มน้ี จัดทาข้ึน เพื่อให้ผู้ที่ปฏิบัติงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ของคณะเภสัชศาสตร์ ได้ใช้เป็นเครื่องมือหรือแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ได้ทาความเข้าใจ และสามารถนาไปปฏิบัติหรือเตรียมการในด้านต่างๆ ได้อย่างถูกต้องสะดวก รวดเร็ว โดยผู้จัดทาได้จัดทาข้ันตอนการปฏิบัติงานเก่ียวกับระบบและกลไกด้านงานวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัช ศาสตร์ ทป่ี ระกอบดว้ ย โครงสร้างและหนา้ ท่ีความรับผิดชอบ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารปฏิบตั งิ าน และกฎระเบียบท่ี เก่ียวข้อง ข้ันตอนการปฏิบัติงาน และปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขและการพัฒนางาน ไว้ใน คู่มือปฏิบัติงานเล่มนี้ ท้ังนี้ ผู้จัดทาขอขอบคุณคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ รองคณดีฝ่ายยุทธศาสตร์และการ ต่างประเทศ ผู้อานวยการกองบริหารงาน และหัวหน้างานการจัดการพัฒนา ท่ีให้คาปรึกษาช้ีแนะ และกรุณา ตรวจสอบเนื้อหารวมถึงให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง จนกระท่ังคู่มือปฏิบัติงานเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือปฏิบัติงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้ปฏิบัติงานในสายงานลักษณะเดียวกัน หรือผู้รับบริการที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตอ่ ไป ทั้งน้ี หากทา่ นใดมีข้อคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะต่อการพัฒนา ปรับปรุงค่มู ือฉบับนี้ ผูจ้ ัดทายนิ ดนี ามาพัฒนา และปรบั ปรงุ ในโอกาสต่อไป นางสาวศิรจิ รรยา แกว้ สารภูมิ สงิ หาคม 2563

สารบญั เน้อื หา หนา คาํ นาํ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง สารบัญแผนภาพ จ บทที่ 1 บทนาํ 1 1.1 ความเปน มาและความสําคญั 2 1.2 วัตถปุ ระสงค 2 1.3 ขอบเขตการใชคูมือ 2 1.4 ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร ับ 3 1.5 คาํ นยิ ามศัพท บทที่ 2 โครงสรา งและหนาท่รี ับผิดชอบ 5 2.1 โครงสรา งองคกรและการบริหารจัดการ 6 2.2 ปรชั ญา ปณิธาน อัตลกั ษณ วัฒนธรรมองคกร และคานิยม 8 2.3 การผลิตบณั ฑติ 9 2.4 บุคลากร 9 2.5 โครงสรา งการบริหารจดั การ 12 2.6 หนา ที่ความรบั ผดิ ชอบ ของผขู อกาํ หนดตาํ แหนง บทที่ 3 หลักเกณฑ วธิ ีปฏิบัติงาน และกฏ ระเบียบท่เี กย่ี วของ 17 3.1 วิธีการปฏิบตั งิ านดานวิเทศสัมพันธ 18 3.2 วิธีการปฏบิ ตั ิงานตามกระบวนงานหลัก 18  กระบวนงานดา นนักศกึ ษาแลกเปลย่ี นตางประเทศ 26 (Inbound-Outbound) 29  กระบวนงานดานการจัดทําขอ ตกลงความรวมมอื ทางวิชาการ (MOU) 30 กับสถาบันตา งประเทศ 33  กระบวนงานดา นการรบั รองอาคนั ตกุ ะชาวตางประเทศ 34 37  กระบวนงานดา นการขอวซี า ไปตา งประเทศ 39  กระบวนงานดานขอวีซาเพ่ือพํานักในประเทศไทยและการตออายุวีซา สาํ หรบั นักศึกษาชาวตางชาติ  กระบวนงานดานพิธีการเกยี่ วกบั งานวิเทศสมั พนั ธ  กระบวนงานดานทนุ สําหรับอาจารยชาวไทยและชาวตา งชาติ 3.3 กฎ ระเบยี บ ประกาศ ที่เกีย่ วของ ข

สารบัญ (ตอ ) หนา เน้อื หา 46 บทที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน 52 4.1 ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน (Flow Chart)  กระบวนงานดา นนักศึกษาแลกเปลยี่ นตางประเทศ 54 (Inbound-Outbound) 55  กระบวนงานดานการจัดทําขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ (MOU) 56 กบั สถาบนั ตางประเทศ  กระบวนงานดา นการรบั รองอาคนั ตกุ ะชาวตางประเทศ 58  กระบวนงานดานการขอวีซาไปตา งประเทศ 60  กระบวนงานดานขอวีซาเพ่ือพํานักในประเทศไทยและการตออายุวีซา 62 สําหรบั นักศกึ ษาชาวตางชาติ  กระบวนงานดานพธิ ีการเก่ยี วกับงานวิเทศสมั พนั ธ  กระบวนงานดานทุนสาํ หรบั อาจารยชาวไทยและชาวตางชาติ 4.2 การติดตามผลการปฏบิ ัติงาน บทท่ี 5 ปญหา อปุ สรรค แนวทางแกไขและการพฒั นางาน 63 5.1 ปญหาอุปสรรคในการปฏิบัตงิ าน 65 5.2 ขอเสนอแนะแนวทางแกไ ขและพัฒนางาน บรรณานุกรม 67 ภาคผนวก 70 78 ภาคผนวก ก แบบฟอรมตัวอยางเกย่ี วการขอตอ วีซาเพ่อื พํานักในประเทศไทย และการตออายุวซี า สาํ หรบั นักศกึ ษาชาวตา งชาติ ภาคผนวก ข แบบฟอรม เอกสารการจัดทําขอตกลงความรวมมอื ทางวชิ าการ กับสถาบันตา งประเทศ ภาคผนวก ค แบบฟอรม เอกสารดา นทุนสาํ หรับอาจารยชาวไทยไปตางประเทศ (Thai Visiting Scholar) ค

ตาราง สารบญั ตาราง หนา ตารางท่ี 1 19 ข้นั ตอนวธิ ีการปฏิบตั ิงาน ดานการฝก ปฏบิ ตั ิวิชาชีพ ณ ตา งประเทศ สาํ หรบั ตารางท่ี 2 นกั ศึกษาเภสัชศาสตร ระดับปรญิ ญาตรี ช้ันปท ี่ 6 (Outbound) 22 ขั้นตอนวิธีการปฏบิ ตั ิงาน ดา นรายวชิ าประสบการณว ิชาชีพในตางประเทศ ตารางท่ี 3 สาํ หรบั นักศกึ ษาเภสัชศาสตร ระดับปริญญาตรี ชน้ั ปท ี่ 2 และ 3 (Outbound) 24 ขั้นตอนวิธีการปฏบิ ตั ิงาน ดา นนักศกึ ษาแลกเปลี่ยนไปตา งประเทศ ตารางท่ี 4 (Outbound) 25 ขั้นตอนวธิ ีการปฏบิ ตั ิงาน ดานการรบั นกั ศึกษาแลกเปลี่ยนมาจากตางประเทศ ตารางที่ 5 (Inbound Student) 26 ข้ันตอนวิธีการปฏิบัติงาน ดานการจัดทําขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ ตารางที่ 6 (MOU) กบั สถาบนั ตา งประเทศ 29 ตารางท่ี 7 ขนั้ ตอนวธิ ีการปฏบิ ัตงิ าน ดา นการรับรองอาคนั ตุกะชาวตา งประเทศ 30 ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงาน ดานการขอวีซาไปตางประเทศ -การขอหนังสือนํา ตารางท่ี 8 จากกระทรวงการตางประเทศ 33 ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน ดา นการขอวีซาเพอ่ื พํานักในประเทศไทยเปน ครงั้ แรก ตารางที่ 9 (นักศกึ ษาอยูตางประเทศ) 33 ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ดา นการขอตอ วีซา เพื่อพาํ นักในประเทศไทยสําหรับ ตารางท่ี 10 นักศกึ ษาชาวตางชาติ 34 ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน ดา นพิธกี ารลงนามขอตกลงความรวมมอื ขอตกลงทาง ตารางที่ 11 วิชาการ 35 ตารางที่ 12 ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน ดา นพิธกี ารรบั รองอาคันตุกะชาวมสุ ลิม 37 ตารางที่ 13 ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน ดา นทนุ สาํ หรับอาจารยชาวไทยไปตา งประเทศ 38 ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน ดานทุนสนับสนนุ อาจารยผ ูเช่ียวชาญชาวตา งประเทศ ตารางที่ 14 เพ่ือการสอนและหรอื วิจัย (International Visiting Scholar) 39 ตารางที่ 15 ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน 64 กฎ ระเบียบ ประกาศ ที่เก่ียวของ ปญ หาของผูป ฏบิ ัตงิ าน ง

สารบัญแผนภาพ หนา 9 แผนภาพ แผนภาพที่ 1 โครงสรา งสวนงานและอตั รากําลัง คณะเภสชั ศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน 10 11 ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 12 แผนภาพท่ี 2 โครงสรา งบริหารจดั การองคก ร คณะเภสัชศาสตร 46 แผนภาพท่ี 3 โครงสรา งและอัตรากําลงั ของงานการจดั การพฒั นา แผนภาพที่ 4 โครงสรา งภาระงานดานวิเทศสมั พนั ธ 49 แผนภาพท่ี 5 ปฏิบัตงิ านดานการฝก ปฏิบตั ิวิชาชีพ ณ ตางประเทศ สาํ หรับนกั ศึกษาเภสชั 50 ศาสตร ระดับปริญญาตรี ชน้ั ปท ่ี 6 (Outbound) 51 แผนภาพท่ี 6 ปฏบิ ตั งิ านในรายวิชาประสบการณวชิ าชีพในตา งประเทศสําหรบั นักศึกษา 52 เภสชั ศาสตร ระดบั ปรญิ ญาตรี ชนั้ ปท่ี 2 และ 3 (Outbound) 54 แผนภาพที่ 7 ปฏบิ ัตงิ านดานนกั ศึกษาแลกเปลย่ี นไปตางประเทศ (Outbound) 55 แผนภาพที่ 8 ปฏิบตั งิ านดานการรบั นักศึกษาแลกเปล่ียนมาจากตา งประเทศ (inbound) 56 แผนภาพท่ี 9 ดานการจดั ทาํ ขอ ตกลงความรวมมือทางวชิ าการ (MOU) 57 กบั สถาบันตางประเทศ 58 แผนภาพท่ี 10 ดา นการรบั รองอาคันตกุ ะชาวตา งประเทศ 59 แผนภาพท่ี 11 ดา นการขอวีซาไปตางประเทศ หนังสือนาํ จากกระทรวงการตา งประเทศ 60 แผนภาพท่ี 12 ดานการขอวีซา เพือ่ พํานกั ในประเทศไทยเปนครัง้ แรก (นกั ศึกษาอยู 61 ตางประเทศ) แผนภาพท่ี 13 ดา นการขอตอวซี าเพ่อื พํานกั ในประเทศไทยสําหรบั นักศึกษาชาวตางชาติ แผนภาพที่ 14 พธิ ีการลงนามขอตกลงความรวมมือ แผนภาพที่ 15 พิธีการรับรองอาคันตกุ ะชาวมุสลมิ แผนภาพท่ี 16 ดานทนุ สําหรับอาจารยช าวไทยไปตา งประเทศ แผนภาพที่ 17 ดานทุนสําหรบั อาจารยชาวตางประเทศมาประเทศไทย จ

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดตั้งข้ึนเพ่ือตอบสนองแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 - 2524) ตามโครงการพัฒนาการสาธารณสุขของประเทศ คณะเภสัชศาสตร์ ได้จัดต้ังโดย พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2523 ประกาศ ณ วันท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2523 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษหน้าท่ี 1 เล่ม 97 ตอนท่ี 197 วันท่ี 22 ธันวาคม พ.ศ. 2523 นับเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ผลิตบัณฑิตสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ แห่งท่ี 5 ของประเทศ ถัดจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหิดล และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีการจัดการเรียนการสอนในสาขาเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตร บัณฑิต ซึ่งเป็นหลักสูตร 5 ปี เร่ิมรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีรุ่นแรกเม่ือปีการศึกษา 2525 ต่อมาได้เปิด หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ภาคสมทบ ในปีการศึกษา 2538 และเปิดสอนหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ) ในปีการศึกษา 2547 ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกของประเทศไทยท่ีเปิดสอน เป็นภาษาอังกฤษในสาขาเภสัชศาสตร์ และเป็นหลักสูตรแรกในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ท่ีเปิดสอนเป็นภาษาอังกฤษ และปรับปรุงเป็นหลักสูตรนานาชาติในปีการศึกษา 2552 ปัจจุบันมีการ จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี 3 หลักสูตร และปรับปรุงหลักสูตร จากหลักสูตร 5 ปี เป็นหลักสูตร 6 ปี ในปีการศึกษา 2556 การเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา เร่มิ เปิดหลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก ในปีการศึกษา 2538 เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบสะสมหน่วยกิต (Module) ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง 1 หลักสูตร ระดับ ปริญญาโท 8 หลกั สตู ร และระดับปริญญาเอก 2 หลักสูตร การดาเนินงานด้านวิเทศสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพเป็นภารกิจที่สาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับ หน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถาบันอุดมศึกษาท่ีต้องมีเพ่ือรองรับงานวิชาการให้ทันกับความ เปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการและ ทาหน้าท่ีประสานงานบริการข้อมูลข่าวสารกับต่างประเทศ อันจะนาไปสู่การประสานงานความร่วมมือท่ีดี ในอนาคต โดยในปัจจุบันการที่มหาวิทยาลัยหน่ึงๆ จะมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานต่างประเทศ ถือเป็นสิ่งสาคัญท่ีช่วยขับเคล่ือนการศึกษาของสถาบันของสถานศึกษานั้นๆ ให้มีความก้าวหน้า มีความเป็นสากล และเป็นท่ียอมรับในวงการการศึกษาทั้งภายในและต่างประเทศมาก ยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยได้เปิดโลกทัศน์ เรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับบุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การเข้าร่วมการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษา การศึกษาดูงาน การวิจัยร่วมกัน และกิจกรรมอื่นๆ มากมาย โดยกิจกรรมเหล่าน้ีจะเกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม ต้องเร่ิมต้นจากการเจรจาความร่วมมือกัน ระหว่างมหาวิทยาลัย โดยมีเจ้าหน้าที่งานวิเทศสัมพันธเ์ ป็นผู้รับผิดชอบในการเตรียมการและประสานงานใน การเจรจาความรว่ มมือ 1|Page

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพันธ์ จากความเป็นมาและความสาคัญที่ได้กล่าวมาแล้ว จะเห็นว่า ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์จะเป็นหน่วยงาน สนับสนุนที่สาคัญในการช่วยผลักดันการบรหิ ารจัดการ ทั้งด้านวิชาการโดยการสร้างความมือกับต่างประเทศ การช่วยเหลือคณาจารย์ในการศึกษาต่อต่างประเทศและดาเนินการตามประราชบัญญัติการศึกษาท่ีได้ กาหนดไว้ตลอดท้งั ภารกจิ อน่ื ๆ ทงั้ น้ี การปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เป็นการปฏิบัติงาน ที่เก่ียวกับการติดต่อประสานงานกับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานต่างประเทศ ทั้งท่ีต้ังอยู่ในประเทศไทย และในต่างประเทศ โดยภารกิจหลักของเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานวิเทศสัมพันธ์ท่ีมีหน้าที่เพ่ือสนับสนุนการ ดาเนินงานให้เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย และเดผลลพั ธ์ท่ีดตี ่อองคก์ ร จึงได้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่งานวิเทศสัมพันธ์ของคณะ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดทั้งบคุ ลากรคณะ ได้รับทราบข้นั ตอนการดาเนินการและเตรยี มการในส่วนท่ีเก่ียวข้อง กบั ตนเองได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ตลอดจนเพ่ือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติสาหรบั ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนเจา้ หน้าท่ี งานวิเทศสัมพันธ์ ซึ่งผู้จัดทาได้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และคณะเภสัชศาสตร์ มีความสอดคล้องกับกฎ ระเบียบ ประกาศและเกณฑ์ต่างๆ และจากประสบการณ์ใน การทางานดา้ นวิเทศสมพันธ์ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใน ของคณะเภสัชศาสตร์ สาหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ทราบข้ันตอนการปฏิบัติงานและเป็นไปตาม กฎ ระเบยี บ และประกาศ ที่กาหนดไว้ 1.2.2 เพอ่ื ใหผ้ ้ปู ฏบิ ัตงิ านด้านวเิ ทศสมั พันธ์ สามารถปฏบิ ัติงานแทนกนั ได้ 1.2.3 เพอื่ ลดขอ้ ผิดพลาดจากการปฏบิ ตั งิ าน 1.2.4 เพื่อให้ผู้ที่เก่ียวข้องภายในคณะเตรียมการในส่วนท่ีรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ทันเวลา 1.3 ขอบเขตกำรใชค้ ู่มอื 1.3.1 ผปู้ ฏิบตั งิ านด้านวิเทศสมั พันธ์และผูท้ ่เี กยี่ วขอ้ ง คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 1.3.2 ผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้องกับการประสานงานภายใน คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 1.3.3 สถาบันการศึกษาอ่ืนๆ 1.4 ประโยชน์ท่คี ำดว่ำจะได้รบั 1.4.1 มแี นวทางปฏิบัติ ข้ันตอน และกระบวนงานดา้ นวิเทศสัมพันธ์ ที่ชัดเจนสามารถนาไปสูก่ าร ปฏบิ ัติไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ 1.4.2 ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อลดข่ิผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นต่อการดาเนินงานและให้เกิด ความพงึ พอใจแกผ่ ้รู ับบรกิ าร 2|Page

คมู่ ือการปฏิบัติงานด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ 1.5 คำนยิ ำมศพั ท์ 1.5.1 วิเทศสัมพันธ์ ความหมาย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ.2542 ให้ ความหมายคาว่า “วิเทศ” หมายถึง “ต่างประเทศ” ดังน้ัน “วิเทศสัมพันธ์” หมายถึง “ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ” จึงสามารถให้คานิยามของ “นักวิเทศสัมพันธ์” ว่าเป็นผู้ท่ี ปฏิบัติหน้าที่ลักษณะคล้ายคลึงกับข้าราชการตาแหน่งประเภทวิชาการ อ่ืนๆ อันได้แก่ การ รวบรวมและการจัดเตรียมข้อมูลด้านวิชาการ แต่จะปฏิบัติหน้าที่อันมีลักษณะเฉพาะ เกี่ยวกับงานด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ \"นักวิเทศสัมพันธ์” จึงต้องปฏิบัติหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน/องค์กรต่างประเทศ งานร่างหนังสือ โตต้ อบเปน็ ภาษาต่างประเทศ งานแปล งานลา่ ม และงานด้านพธิ กี าร เปน็ ตน้ 1.5.2 เจ้ำหน้ำที่วิเทศสัมพันธ์ หมายถึง เจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติหน้าท่ีเก่ียวกับการติดต่อประสานงาน กับมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา และหน่วยงานต่างประเทศ และมีหน้าท่ีต้อนรับ อาคนั ตุกะต่างประเทศของคณะ 1.5.3 สถำบันกำรศึกษำของรัฐในสังกัดของกระทรวง หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็น ส่วนราชการท่ีอยู่ในสังกัดของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แล ะส ถ าบั น อุ ด ม ศึ กษ าข องรัฐใน กากับ ข องรัฐม น ต รีว่าการกระท รวงการอุ ด ม ศึ กษ า วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 1.5.4 มหำวิทยำลยั หมายถึง มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 1.5.5 คณะเภสัชศำสตร์ หมายถงึ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 1.5.6 กองกำรตำ่ งประเทศ หมายถงึ กองการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 1.5.7 สถำบันต่ำงประเทศ หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาท่ีมิใช่สถาบันอุดมศึกษาไทย รวมถึง สถาบันวิจัย สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพชั้นสูง สถาบันวิชาชีพเฉพาะทางช้ันสูง ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวทางความตกลงร่วมมือทางวิชาการระหว่าง สถาบันอุดมศึกษาไทยกับสถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศ พ.ศ.2550 และประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวทางการจัดการศึกษาในต่างประเทศของสถาบันอุดมศึกษา ไทย พ.ศ.2559 หน่วยงานต่างประเทศ หรือองค์การต่างประเทศ ที่มหาวิทยาลัยมีความ ร่วมมอื ทางวชิ าการ 1.5.8 ข้อตกลงควำมร่วมมือทำงวิชำกำร หมายถึง เอกสารข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถาบันต่างประเทศ ท้ังที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอื่นๆ ที่มี รายละเอียดข้อตกลงเกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย กิจกรรม ความร่วมมอื ที่จะดาเนิน ระยะเวลา และเงอ่ื นไขอ่ืนๆแล้วแต่กรณี 1.5.9 อำคันตุกะต่ำงประเทศ หมายถึง แขกผู้มาเยือนชาวต่างประเทศ หรือผู้แทนจาก มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา และหน่วยงานต่างประเทศท้ังท่ีต้ังอยู่ในประเทศไทยและ ในตา่ งประเทศ เช่น อาจารย์ บคุ ลากร นกั ศกึ ษา หรือเจา้ หน้าที่ 1.5.10 การเจรจาความร่วมมือ หมายถึง การประชุมเพื่อหารือแนวทางในการจัดทาข้อตกลงและ ดาเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ ร่วมกันระหว่างคณะกับมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาและ หน่วยงานต่างประเทศ 3|Page

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงานด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ 1.5.11 การเลี้ยงรับรอง หมายถึง การจัดเล้ียงอาหารว่าง หรืออาหารม้ือหลักทั้งภายในและ ภายนอกคณะ เพ่อื เป็นการใหก้ ารตอ้ นรบั อาคันตุกะตา่ งประเทศ 1.5.12 วีซำ่ (Visa) หมายถึง เอกสารที่ประเทศใดประเทศหนึ่งออกใหบ้ คุ คลทไ่ี ด้รบั การพิจารณาให้ สามารถเข้าประเทศผู้ออกตรวจลงตราได้ ภายในระยะเวลาหรือจุดประสงค์ที่บุคคลนั้นยื่น คาร้องขอ ไว้ใชแ้ สดงต่อเจ้าหน้าท่ีตรวจคนเข้าเมืองขณะเข้าประเทศท่ีได้ย่ืนขอวีซ่าไว้ ปกติ แล้วจะมีการประทับตราลงหนังสือเดินทาง (passport) อาจเป็นสติกเกอร์ หรือ ตรา ประทับ หรอื อาจอยใู่ นรปู แบบท่ีไมไ่ ด้ประทับลงในหนังสอื เดนิ ทาง ซึ่งปจั จุบันบางประเทศมี การลงตราประทับแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์โดยเช่อื มโยงข้อมลู ผ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 1.5.13 หนังสือนำต่ออำยุวซี ่ำ หมายถึง หนังสือราชการจากมหาวิทยาลัยท่ีลงนามโดยผู้บริหาร/ผู้ มีอานาจลงนาม ส่งถึงผู้บัญชาการสานักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อขอความอนุเคราะห์ใน การต่ออายุวีซ่าให้แก่ นักศึกษาชาวตา่ งประเทศของมหาวทิ ยาลัย โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย ชื่อ สัญชาติ เลขท่ีหนังสือเดินทาง คณะ สาขาวิชาและภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาชาว ตา่ งประเทศเรม่ิ ทาการศึกษา และกาหนดระยะเวลาในการตอ่ อายวุ ซี ่า 1.5.14 หนังสือเดินทำง (Passport) หมายถึง เอกสารสาคัญที่จะแสดงรายละเอียดของบุคคลท่ี จะเดนิ ทางไปตา่ งประเทศโดยจะระบุ ชอ่ื ผ้เู ดนิ ทาง ลายมือชื่อ รูปถา่ ย อายุ สัญชาติ ศาสนา อาชีพ เลขที่หนังสือเดินทาง เป็นต้น ท้ังน้ี เพ่ืออานวยความสะดวกในการเดินทางไป ต่างประเทศ และเป็นเอกสารสาคัญท่ีจะใช้เป็นหลักฐานท่ีจะขอหนังสือตรวจลงตรา (Visa) เข้าประเทศตา่ งๆ 1.5.15 สำนักงำนตรวจคนเข้ำเมือง หมายถึง หน่วยงานในสังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ มี หน้าท่ีในการตรวจบุคคลและพาหนะท่ีเดินทางเข้าออกมายังภายในประเทศ พร้อมท้ัง ตรวจสอบคนต่างด้าวท่ีอาจเข้ามาอย่างผิดกฎหมาย รวมถึงให้บริการคนต่างด้าวขณะพร่า นกั อยู่ในประเทศไทย 1.5.16 นกั ศึกษำแลกเปล่ียน หมายถึง การส่งเสรมิ และสนับสนุนให้นกั ศึกษา พัฒนาตนเอง โดยมีการแลกเปล่ียนนักศึกษาในการศึกษาดูงาน อบรม และฝึกปฏิ บัติวิชาชีพ ณ ต่างประเทศ ระหว่างคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับสถาบันการศึกษา ต่างประเทศ 1.5.17 อำจำรย์ชำวไทย หมายถึง ข้าราชการ หรือพนักงานมหาวิทยาลัยประเภทวิชาการท่ีทา หนา้ ที่สอนในระดับอดุ มศึกษา สงั กดั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 1.5.18 อำจำรย์/ผู้เชียวชำญชำวต่ำงประเทศ หมายถึง อาจารย์/ผู้เชียวชาญชาวต่างประเทศ สงั กัดสถาบนั ตา่ งประเทศ หรือองค์กรตา่ งประเทศ ซึง่ เป็นผู้รับทนุ 1.5.20 กำรประสำนงำน หมำยถึง กำรจัดระเบียบ เพ่ือให้งำนและเจ้ำหน้ำท่ีฝ่ำยต่ำงๆร่วมกัน ปฏิบัติงานให้สอดคล้องท้ังเวลาและกิจกรรมที่ต้องกระทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ อย่าง สมานฉันท์ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างราบร่ืนไม่เกิดการทางานซ้าซ้อน ขัดแย้งหรือ เหล่ือมล้ากัน ทั้งนี้เพ่ือให้เกิดการดาเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น เป็นระบบ สอดคล้องกับ วัตถุประสงคแ์ ละนโยบายสมานฉันท์และมีประสิทธภิ าพ 4|Page

คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานดา้ นวิเทศสัมพนั ธ์ โครงสร้างส่วนงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ แผนภาพท่ี 1 โครงสรา้ งส่วนงาน คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 * หมายถึงหนว่ ยงานสังกดั ของผู้ทข่ี อกาหนดตาแหน่ง 9|Page

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านดา้ นวิเทศสมั พันธ์ โครงสรา้ งบริหารจัดการองค์กร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น แผนภาพที่ 2 โครงสรา้ งบริหารจดั การองค์กร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น * หมายถงึ หน่วยงานสังกดั ของผูท้ ข่ี อกาหนดตาแหน่ง 10 | P a g e

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ บทท่ี 3 หลกั เกณฑ์ วิธีการปฏิบตั ิงาน และกฎ ระเบียบทเี่ ก่ียวขอ้ ง ก ารด าเนิ น งาน ด้ าน วิเท ศ สั ม พั น ธ์ เป็ น ไป ต าม ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะ แ น ว ป ฏิ บั ติ ข อ ง มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ และคณะเภสชั ศาสตร์ มีความสอดคล้องกับกฎ ระเบียบ ประกาศและเกณฑ์ต่างๆ โดยหน้าท่ีหลักของผู้ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ จะต้องดาเนินการให้ครอบคลุมตามหลักเกณฑ์และ แนวทางปฏิบัติให้เกิดผลสาเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย และปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรให้มาก ที่สุด ผู้จัดทาจึงมีหลกั เกณฑโ์ ดยยึดถือวิธกี ารปฏบิ ตั ิงานด้านวิเทศสมั พนั ธ์ ดังน้ี 3.1 วิธีการปฏิบัติงานด้านวเิ ทศสัมพันธ์ วธิ ีการปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ ได้นาวงจรควบคุมคุณภาพ P-D-C-A มา ปรับใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน โดยใช้กระบวนการบริหารจัดการ เพอื่ ให้เกิดการปรับปรงุ คุณภาพอย่างตอ่ เน่ือง ประกอบด้วยกระบวนการดาเนินงาน 4 ข้ันตอน คือ การวางแผน (Plan) การดาเนินงานและเก็บข้อมูล (Do) การประเมินคุณภาพ (Check/Study) และการเสนอแนวทางการปรบั ปรุง (Act) โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ P (Plan) = เร่ิมกระบวนการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามปีการศึกษา/ปีงบประมาณ โดยนาผล การดาเนนิ งานปีทีผ่ ่านมา นามาใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนการดาเนนิ งาน D (Do) = ดาเนนิ งานตามกระบวนการเกยี่ วกบั งานวิเทศสัมพันธ์ ซึ่งจะดาเนินงานเป็นไปตามแต่ ละปีการศกึ ษา และประจาปงี บประมาณ C/S (Check/Study) = กาหนดให้มีกระบวนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการ ดาเนนิ งาน A (Act) = หลังจากได้ดาเนินการแล้ว จะนาผลการดาเนินงานในรอบปีการศึกษา และ ปีงบประมาณท่ีผ่านมา รวมถึงข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/ผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนาไปวางแผนปรับปรุงการ ดาเนินงาน และพฒั นาใหด้ ียงิ่ ข้นึ กระบวนการดาเนนิ งานด้านวิเทศสัมพันธ์ การดาเนินงานด้านวิเทศสัมพันธ์ กระบวนการปฏิบัติงานเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทาง ปฏิบัติของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และคณะเภสัชศาสตร์ มีความสอดคล้องกับกฎ ระเบียบ ประกาศและ เกณฑ์ต่างๆ ผู้จัดทามีหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถจาแนกเป็นกระบวนงานตามภาระงานด้าน วิเทศสมั พันธ์ ประกอบดว้ ย 1. กระบวนงานด้านนกั ศึกษาแลกเปล่ียนต่างประเทศ (Inbound-Outbound) 1.1 ปฏบิ ัติงานด้านการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ณ ต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ระดับ ปริญญาตรี ชน้ั ปีที่ 6 (Outbound) 1.2 ปฏิบัติงานในรายวชิ าประสบการณ์วชิ าชพี ในต่างประเทศ สาหรบั นักศกึ ษาเภสัชศาสตร์ ระดบั ปริญญาตรี ช้ันปีท่ี 2 และ 3 (Outbound) 17 | P a g e

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ 1.3 ปฏบิ ตั ิงานดา้ นนักศึกษาแลกเปล่ยี นไปต่างประเทศ (Outbound) 1.4 ปฏบิ ัติงานด้านการรับนกั ศึกษาแลกเปลีย่ นมาจากต่างประเทศ (Inbound) 2. กระบวนงานดา้ นการจัดทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU)กับสถาบนั ต่างประเทศ 3. กระบวนงานด้านการรับรองอาคนั ตุกะชาวต่างประเทศ 4. กระบวนงานด้านการขอวซี า่ ไปตา่ งประเทศ 5. กระบวนงานด้านขอวีซ่าเพ่ือพานักในประเทศไทยและการต่ออายุวีซ่าสาหรับนักศึกษา ชาวตา่ งชาติ 6. กระบวนงานดา้ นพธิ ีการเกย่ี วกับงานวเิ ทศสัมพันธ์ 6.1 พิธกี ารลงนามขอ้ ตกลงความรว่ มมอื 6.2 พธิ กี ารรบั รองอาคันตกุ ะชาวมสุ ลิม 7. กระบวนงานดา้ นทุนสาหรับอาจารย์ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ 7.1 ดา้ นทนุ สาหรับอาจารย์ชาวไทยไปตา่ งประเทศ (Outbound) 7.2 ดา้ นทุนสาหรบั อาจารยช์ าวต่างประเทศมาประเทศไทย (Inbound) 3.2 วิธีการปฏิบตั ิงานตามกระบวนงานหลกั 3.2.1 กระบวนงานดา้ นนักศึกษาแลกเปลย่ี นตา่ งประเทศ (Inbound-Outbound) 3.2.1.1 ปฏิบัติงานด้านการฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชีพ ณ ตา่ งประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ระดับ ปรญิ ญาตรี ชั้นปที ่ี 6 (Outbound) ลักษณะงาน งานด้านการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ณ ต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ช้นั ปีที่ 6 (Outbound) โดยปฏิบัติการต้ังแต่ข้ันตอนเร่ิมต้นจนถึงข้ันตอนสุดท้าย ได้แก่ การออกประกาศ รับสมัครนักศึกษากลุ่มเป้าหมาย การสอบคัดเลือก การประกาศผลการคัดเลือก การจัดการข้อมูลและ เอกสารของนักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก การติดต่อประสานงานกับมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา ณ ต่างประเทศ ทัง้ การสง่ หนังสือราชการอย่างเปน็ ทางการ และติดตอ่ ประสานงานโดยโตต้ อบทางอีเมล์ การ จัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ณ ต่างประเทศ การจัดเตรียม เอกสารรับรองต่างๆและให้คาปรึกษาแนะนานักศึกษาด้านการทาวีซ่าเข้าประเทศต่างๆ เช่น ประเทศ ญี่ปุ่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศฟินแลน์ ประเทศเดนมาร์ก และประเทศโปรตุเกส เป็นต้น การ จัดเตรียมเอกสารต่างๆ สาหรับนักศึกษา เช่น จดหมายส่งตัวแบบประเมินการฝึกงาน จัดการด้าน งบประมาณทุนสนับสนุนเบิกจ่ายเงินทุนสาหรับนักศึกษา ทั้งทุนคณะ ทุนมหาวิทยาลัย และทุนจาก สถาบันต่างประเทศ จัดกิจกรรมการนาเสนอผลการฝึกงานต่างประเทศ รวบรวม สรุป คานวณ แบบ ประเมินผลการฝึกงานต่างประเทศของนักศึกษาและส่งให้ฝ่ายฝึกปฏิบัติวิชาชีพเภสัชกรรม สรุปผลการ ดาเนนิ งานดา้ นการฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ณ ตา่ งประเทศ สาหรับนกั ศึกษาเภสัชศาสตร์ประจาปี 18 | P a g e

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพันธ์ ตารางที่ 1 ขั้นตอนวิธกี ารปฏบิ ตั ิงาน รายละเอียดงาน วธิ กี ารปฏบิ ตั ิงาน ขออนุมัติโครงการบรรจุในแผน เขียนรายละเอยี ดโครงการฝึกงานต่างประเทศ และแผนการดาเนนิ และขออนุมตั จิ ดั โครงการ โครงการเพื่อขออนมุ ัติโครงการในแผน และดาเนนิ การขออนุมตั จิ ดั โครงการฝึกงานต่างประเทศ การรับสมัครนักศึกษา ออกประกาศคณะเภสัชศาสตร์ เพอื่ รับสมัครคัดเลือกนกั ศึกษาเภสชั ศาสตร์ ช้นั ปที ่ี6 เขา้ ร่วมโครงการ จดั เตรียมข้ันตอน ทาระบบการสมัคร ออนไลน์ และสง่ เอกสารแบบออนไลน์ ประชาสมั พนั ธ์ ไปยังนักศึกษา กลมุ่ เป้าหมาย ผ่านเวป็ ไซต์คณะเภสชั ศาสตร์ และช่องทางอ่นื ๆ พิจารณารวบรวมใบสมัคร สรุปจานวน/รวบรวมใบสมคั รและเอกสารประกอบการสมัครของ และเอกสาร นักศึกษา เสนอผู้บรหิ ารที่รบั ผิดชอบพจิ ารณา จดั เตรียมงานการสัมภาษณ์ หลังจากกาหนดวนั สอบสัมภาษณ์แลว้ เตรยี มการกอ่ นการสัมภาษณด์ ังนี้ นักศึกษา o แจง้ รายชื่อนกั ศึกษาทม่ี ีสิทธ์สิ อบสมั ภาษณ์ o ทาคาสง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสมั ภาษณ์คัดเลอื กกลน่ั กรอง และออกหนงั สือเชญิ กรรมการประชมุ เพื่อพิจารณาเกณฑ์การ คดั เลอื ก และกาหนดหนดวนั สอบคดั เลอื กโดยวธิ กี ารสอบ สมั ภาษณ์ o จัดเตรยี มชุดใบสมคั รพรอ้ มเอกสาร รวมทงั้ ทาสาเนาให้ กรรมการทุกท่านโดยแยกตามสาขา Pharmacy Practices และ Pharmaceutical Sciences (กรรมการสาขาละ 3 ทา่ น) o เตรยี มเอกสารการให้คะแนนการสมั ภาษณ์ สาหรบั กรรมการ ทุกทา่ น o ประสานงานดา้ นห้องสอบสัมภาษณ์ o ขออนุมตั ใิ ช้เงินค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่มื และเตรยี มอาหาร วา่ ง การสอบสัมภาษณน์ ักศึกษา ประสานงานในช่วงกจิ กรรมการคดั เลือกนักศึกษาตามระยะเวลาที่ กาหนด รวบรวมผลการสัมภาษณ์ รวบรวมและคานวณคะแนนเสนอกรรมการ การคดั เลือกนักศึกษา ประสานงานกรรมการเพ่ือพิจารณาผลการคดั เลือกนักศึกษา ประกาศผล สรุปผลคะแนน สรปุ รายชอื่ ผู้ทผ่ี า่ นตามเกณฑ์การคัดเลือก จดั ทาบันทึก นาสง่ รายชื่อนักศึกษาทผ่ี า่ นการคดั เลือกแจง้ ไปยังฝ่ายวิชาการ และแจ้ง นักศกึ ษาทราบ พิจารณารายช่ือนักศึกษาลง ดาเนนิ การด้านการจัดนักศึกษาลงแหล่งฝึกตา่ งประเทศ ติดต่อแหลง่ ฝึก แหล่งฝึกและส่งหนังสอื ไปยงั ต่างประเทศทางอเี มล์เพ่ือขอส่งนักศึกษาไปฝึกงาน หลงั จากแหลง่ ฝึก แหลง่ ฝึกงานต่างประเทศ ตอบรับนกั ศกึ ษาฝกึ งานทางอีเมลแ์ ล้วให้ดาเนนิ การจัดทาหนังสืออย่าง เป็นทางการลงนามโดยคณบดี (Request Letter of Acceptance) 19 | P a g e

คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏิบัตงิ าน พรอ้ มเอกสารตา่ งๆ ตามแบบฟอรม์ ท่แี หลง่ ฝึกต่างประเทศกาหนด เช่น ใบสมัคร ใบตรวจสขุ ภาพ ประกนั สขุ ภาพ เป็นตน้ ดาเนนิ การด้านหนังสอื รับรอง หลังจากได้รับการยืนยันจากแหล่งฝึกงานในต่างประเทศ และได้รับ วซี ่าของนักศึกษา หนังสือตอบรับแล้ว ดาเนินการต่อดังนี้ จัดทาบันทึกถึงกองการ ต่างประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพ่ือขอความอนุเคราะห์ออกหนังสือ รับรองวีซ่าสาหรับนักศึกษา ส่งเอกสารรับรองให้นักศึกษาเพื่อเตรียมไป ย่ืนสมัครขอวซี า่ ตา่ งประเทศ ด้านเงินทุนสนับสนุนนกั ศึกษา ดาเนินการจดั ทาบนั ทกึ พจิ ารณาในที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนเฉลว คณะเภสชั ศาสตร์ เพื่อพิจารณาเงนิ ทนุ สนบั สนนุ โดยแนบเอกสาร ดงั ต่อไปนี้ 1) บันทกึ นาลงนามโดยผู้บริหารดา้ นวิเทศสัมพันธ์ 2) สรุปรายชอื่ นกั ศึกษาที่ผา่ นการคดั เลือก จาแนกตามแหลง่ ฝึก ประเทศ และจานวนเงินที่ขอสนบั สนนุ 3) ประกาศรายชือ่ นักศึกษาท่ผี ่านการคดั เลือก หรอื บันทกึ ทแ่ี สดง รายชื่อนักศึกษาทผ่ี ่านการคัดลือก ส่งเอกสารดังกล่าวให้ฝ่ายเลขาคณะกรรมการกองทุนเฉลวคณะเภสัช ศาสตร์เพ่ือดาเนินการต่อไป หลังจากได้มีการประชุมพิจารณาเงินทุน สนับสนุนนักศึกษา จะมีบันทึกแจ้งมติมายังฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ให้ ดาเนินการขอนมุ ัตเิ บิกจ่ายเงนิ ทุนใหน้ ักศึกษาตามระเบียบ โดยต้องแนบ มตทิ ป่ี ระชมุ เป็นหลกั ฐาน เตรียมการก่อนปฐมนิเทศ ดาเนนิ การด้านการเตรียมกจิ กรรมปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกฝึกงาน นักศึกษาก่อนออกฝึกงาน ส่ิงทต่ี ้องเตรยี มการ และดาเนินการ กาหนดวัน และจัดหาห้องประชมุ พร้อมท้ังแจง้ ใหน้ ักศึกษาทราบ เชิญอาจารยผ์ ู้ท่ีเกี่ยวข้อง เตรียมเอกสาร การให้กบั นักศึกษาก่อนการเดินทาง ได้แก่ ค่มู ือเอกสารข้อมูลการเตรยี ม ตวั ก่อนการออกฝึก คู่มือฝกึ งาน หนังสือสง่ ตัว/ แบบประเมิน/ เอกสาร ค่าตอบแทนแหล่งฝกึ เพ่ือให้นักศึกษานาไปให้ preceptor ขออนุมัติใช้ และยืมเงิน จัดเตรียมอาหารว่าง/ อาหารกลางวนั การปฐมนิเทศนักศึกษา ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมและประสานงานการปฐมนิเทศนักศึกษา นกั ศึกษาส่งเอกสารประกัน นกั ศึกษาส่งเอกสารประกนั ชวี ติ / ประกนั สุขภาพ สุขภาพ 1) เกบ็ รวบรวมเอกสารประกนั ท่ีนักศึกษาส่งไว้อ้างอิง 2) รวบรวมและส่งเอกสารประกันให้แหล่งฝกึ ต่างประเทศกรณีเป็น ข้อกาหนดของแหล่งฝึก นักศึกษาออกฝึกงาน ณ นกั ศึกษาออกฝกึ งาน ณ สถาบัน/หน่วยงานในต่างประเทศ ตาม ตา่ งประเทศ กาหนดการที่คณะเภสัชศาสตร์ และสถาบันในตา่ งประเทศกาหนด 20 | P a g e

คูม่ ือการปฏิบตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธีการปฏบิ ัตงิ าน เตรยี มการก่อนจัดนาเสนอผล นักศึกษานาเสนอ และสรุปผลการฝึกงานตา่ งประเทศ สิ่งทต่ี ้องเตรียมการ และดาเนนิ การ ดังน้ี การฝกึ งาน 1) กาหนดวนั และจดั หาห้องประชมุ 2) แจ้งให้นักศึกษาทราบ และประชาสัมพันธ์ผ้ทู ี่สนใจเข้ารว่ มฟังการ นาเสนอผลการฝึกงาน ตา่ งประเทศ นาเสนอผลการฝกึ งาน 3) เชิญอาจารย์ผปู้ ระเมินประจาสาขา Pharmacy Practices และ สง่ แบบประเมนิ ใหฝ้ า่ ยพฒั นา วิชาชีพ Pharmaceutical Sciences 4) เตรียมเอกสารการประเมนิ ของนักศึกษา แยกสาขา Pharmacy สรปุ และรายงานผลการ ดาเนนิ การจดั โครงการ Practices และ Pharmaceutical Sciences และแยกตาม รายวชิ าทน่ี ักศกึ ษาลงทะเบยี น 5) จัดเตรียมอาหารว่าง/ อาหารกลางวัน 6) นกั ศกึ ษาสง่ รายงานหลังจากนาเสนอผลการฝึกงาน ดาเนนิ การจดั กิจกรรมนาเสนอผลการฝกึ งานต่างประเทศ รวบรวมเอกสาร/ แบบประเมิน/ รายงาน ส่งฝา่ ยวชิ าชีพเพอ่ื ออกเกรด การฝึกงาน สรปุ และรายงานผลการดาเนินโครงการสง่ ฝา่ ยแผน รายงานตามไตร มาสของงบประมาณ 3.2.1.2 ปฏิบัติงานในรายวิชาประสบการณว์ ชิ าชีพในตา่ งประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 และ 3 (Outbound) ลักษณะงาน ปฏิบัติงานในรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพในต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ระดับ ปริญญาตรี ชั้นปีท่ี 2 และ 3 (Outbound) โดยปฏิบัติการต้ังแต่ข้นั ตอนเร่ิมต้นจนถึงขน้ั ตอนสดุ ท้าย ได้แก่ การออกประกาศรับสมัครนักศึกษากลุ่มเป้าหมาย การสอบคัดเลือก การประกาศผลการคัดเลือก การ จัดการข้อมูลและเอกสารของนักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก จัดการด้านการลงทะเบียนของนักศึกษา ร่วมจัดทารายละเอียดวิชากับอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา ประสานการเรียนการสอนในรายวิชาทั้งอาจารย์ ไทยอาจารย์ต่างชาติ ดาเนินการ ประสาน จัดทาโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศสาหรับนักศึกษา ที่ลงทะเบียน ได้แก่ จัดเตรียมงบประมาณและขออนุมัติ ประสานงานจัดทาตารางการแลกเปลี่ยนสาหรับ นักศึกษา การจัดเตรียมในด้านต่างๆ สาหรับอาจารย์นักศึกษาในการเดินทางไปต่างประเทศ เช่น จัดการ ด้านตั๋วเคร่ืองบิน จัดการท่ีพัก การจัดเตรียมเอกสารสาหรับขอวีซ่า ประกันภัยการเดินทาง การติดต่อ ประสานงานกับมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา ณ ต่างประเทศ ทั้งการส่งหนังสือราชการอย่างเป็น ทางการ และการติดต่อประสานงานโดยโต้ตอบทางอีเมล์ การจัดกิจกรรมเพ่ือเตรียมความพร้อมนักศึกษา การจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ก่อนการเดินทาง จัดกิจกรรมการนาเสนอผลโครงการแลกเปลี่ยน ประเมิน รวบรวบ และสรุปผลแบบสอบถามความคดิ เหน็ ต่อรายวิชา 21 | P a g e

คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ ตารางที่ 2 ข้นั ตอนวธิ ีการปฏบิ ตั ิงาน รายละเอียดงาน วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน ขออนุมัติโครงการบรรจุในแผน เขยี นรายละเอียดโครงการและแผนการดาเนินโครงการเพ่ือขออนมุ ตั ิ และขออนุมตั ิจดั โครงการ หลกั การในการจัดโครงการแลกเปล่ียน รบั สมัครนักศึกษา ออกประกาศคณะเภสัชศาสตร์ เพ่ือรบั สมัครคัดเลือกนกั ศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ ช้ันปีท่ี 2 และ 3 เข้าร่วมโครงการ จดั เตรยี มขั้นตอน ทาระบบ การสมคั รออนไลน์ และสง่ เอกสารและวดี ีโอแนะนาตวั แบบออนไลน์ ประชาสัมพนั ธ์ ไปยงั นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย ผ่านเวป็ ไซตค์ ณะเภสชั ศาสตร์ และช่องทางอน่ื ๆ สรุปข้อมูลการสมัคร สรุปข้อมลู เอกสาร และวิดโี อแนะนาตัวของนักศึกษา การคัดเลือก การคัดเลือกนกั ศึกษา สามารถแบง่ ได้ ดังน้ี 1) ชว่ งเตรียมการก่อนการคดั เลือก จะต้องดาเนินการด้านการ ดา้ นการจัดการเรียนการสอน ทาบทามกรรมการคัดเลือก ทาคาส่งั แต่งต้ังกรรมการ ออก (ในประเทศ) หนังสือเชญิ ประชุมกรรมการเพ่อื พจิ ารณาเกณฑ์การคัดเลอื ก และกาหนดวนั คัดเลือกนักศึกษา จัดเตรยี มการดา้ นตา่ งๆ สาหรบั กจิ กรรมการคดั เลือก เช่น สถานที่ เตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ที่ ใชส้ าหรบั กจิ กรรมกลุ่ม(กรณีคดั เลือกแบบกิจกรรมกลุ่ม แจ้ง ผูส้ มคั ร จดั เตรียมอาหารและเครื่องดื่มสาหรับกรรมการ ขอ อนุมัติใชเ้ งินค่าอาหารว่างและเคร่อื งด่ืม 2) ประสานงานชว่ งกจิ กรรมการคดั เลือกนักศึกษา ตามระยะเวลา ทกี่ าหนด 3) ช่วงหลังการคัดเลอื ก สรปุ ผลคะแนน สรุปรายชื่อผ้ทู ีผ่ า่ นตาม เกณฑ์การคดั เลอื ก จดั ทาบันทึกนาสง่ รายชื่อนักศึกษาทผี่ า่ น การคัดเลือกแจง้ ฝา่ ยวิชาการ แจ้งรายละเอียดรายวชิ าให้ นกั ศึกษาทผ่ี า่ นการคดั เลือกให้ลงทะเบียน หมายเหตุ กระบวนการพิจารณาชว่ งเวลาการเปิดรบั สมคั ร การคดั เลือก และแจ้งรายช่ือผู้ทผี่ ่าน จะต้องเสร็จกอ่ นกาหนดลงทะเบยี นรายวิชาของ นักศึกษาภาคปลายของปีการศกึ ษา ประสานงานการดาเนินการจัดทา มคอ.3 คาอธิบายรายวชิ า พร้อมทั้ง ตารางการเรียนการสอนในคณะเภสชั ศาสตร์ และตารางการแลกเปลยี่ น ประสบการณ์ต่างประเทศ รว่ มกับอาจารย์ประจาวิชาและผสู้ อน นัดหมาย นกั ศึกษา ประสานงานด้านการเรียนการสอน ด้านการแลกเปลยี่ น จัดทาโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศสาหรับนักศึกษาที่ลงทะเบียน ประสบการณ์ ณ ต่างประเทศ ได้แก่ จัดเตรียมงบประมาณและขออนุมัติ ประสานงานจัดทาตารางการ แลกเปล่ียนของนักศึกษา การจัดเตรียมในด้านต่างๆ สาหรับอาจารย์ 22 | P a g e

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธีการปฏบิ ัติงาน และนักศึกษาในการเดินทางไปต่างประเทศ เช่น จัดการด้านต๋ัว เคร่ืองบิน ที่พัก การจัดเตรียมเอกสารสาหรับย่ืนสมัคร ขอวีซ่า ประกันภัยการเดินทาง การติดต่อประสานงานกับมห าวิทยาลัย สถาบันการศึกษา ณ ต่างประเทศ ท้ังการส่งหนังสือราชการอย่างเป็น ทางการ และติดต่อประสานงานโดยโต้ตอบทางอีเมล์ การจัดกิจกรรม เพ่ือเตรียมความพร้อมนักศึกษา การจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ก่อนการ เดินทางให้อาจารย์และนักศึกษา จัดกิจกรรมการนาเสนอผลโครงการ แลกเปลี่ยน ประเมิน รวบรวบ และสรุปผลแบบสอบถามความคิดเห็น ต่อรายวชิ า การนาเสนอผลการแลกเปล่ยี น ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการนาเสนอผลการแลกเปล่ียนประสบการณ์ ประสบการณ์ต่างประเทศ ตา่ งประเทศ แบ่งเป็น 2 ชว่ ง ไดแ้ ก่ 1) ชว่ งก่อนวันนาเสนอ ประสานงานอาจารย์ประจาวชิ า อาจารย์ ผสู้ อนและผู้ประเมินในการขอวนั วา่ งเพ่ือกาหนดวันนาเสนอ จัดทาบันทึกเชญิ ร่วมฟังการนาเสนอของนกั ศึกษา จดั ทา กาหนดการเสนอและแจง้ นกั ศึกษาผนู้ าเสนอใหท้ ราบถึงขั้นตอน และวิธกี ารนาเสนอ จดั เตรียมห้องนาเสนอ เตรยี มอาหารวา่ ง และอาหารกลางวนั เชญิ คณบดกี ลา่ วเปดิ กิจกรรม เตรียม เอกสารแบบฟอร์มสาหรับอาจารยผ์ ้เู มนิ เพ่อื ให้คะแนน จดั เตรยี มแบบฟอร์มประเมนิ ความพึงพอใจในรายวชิ าเพื่อให้ นักศกึ ษาประเมนิ หรอื แจ้งนกั ศึกษาใหป้ ระเมนิ ในระบบกรณี ประเมนิ ออนไลน์ ฯลฯ 2) ชว่ งวนั นาเสนอ ประสานงานในกจิ กรรมการนาเสนอ ตาม ระยะเวลาท่ีกาหนด สรปุ ผลและรายงานผลการ ดาเนนิ การดา้ นสรุปคะแนนนักศึกษาทุกส่วนเพอื่ ตัดเกรด สรปุ ผล ดาเนินการจดั โครงการ ประเมนิ ความพึงพอใจต่อรายวชิ า และสรปุ ผลการดาเนงิ านจดั กจิ กรรม สง่ ฝ่ายแผนตามรอบไตรมาสของงบประมาณ 23 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ 3.2.1.3 ปฏิบัตงิ านด้านนักศึกษาแลกเปลย่ี นไปต่างประเทศ (Outbound) ลักษณะงาน ปฏิบัติงานด้านนักศึกษาแลกเปล่ียนไปต่างประเทศ (Outbound) อ่ืนๆ นอกเหนือจากข้อ (1) และ (2) เช่น โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ณ ประเทศญ่ีปุ่น ภายใต้ทุน JASSO โครงการแลกเปลี่ยน นกั ศกึ ษา ณ ประเทศจีน ตารางท่ี 3 ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงาน รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏบิ ัตงิ าน เตรียมการ ได้รบั แจ้งทางบันทึกข้อความและ/หรือทางอเี มลจ์ ากกองการต่างประเทศ ไดร้ ับแจง้ จากกองการ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เร่ืองการประชาสัมพันธเ์ ปิดรับสมัครนักศึกษา ตา่ งประเทศเร่ืองประชาสัมพนั ธ์ สมัครเข้ารบั การคัดเลือกเพ่ือรับทุนโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ รับสมัครนักศึกษาเขา้ รับทุน อาทเิ ช่น 1.ทนุ โครงการแลกเปลีย่ นนักศึกษามหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ไปตา่ งประเทศ (ทนุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 2. ทุนโครงการแลกเปลีย่ น SAGA Program (ทนุ ญ่ปี นุ่ ) ฯลฯ เสนอคณบดีพิจารณา เสนอคณบดีพิจารณา เพื่อประชาสัมพันธใ์ ห้นักศึกษากลุ่มเป้าหมายที่ สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ ประชาสมั พันธ์ใหน้ ักศกึ ษา  ประชาสมั พนั ธใ์ หน้ ักศกึ ษากลุ่มเปา้ หมายทสี่ นใจทราบสมัครเขา้ ทราบ/ รบั สมคั รนักศกึ ษาเข้า ร่วมโครงการ ทางเฟสบคุ กลุ่ม ปิดประกาศ พร้อมกาหนดวันสง่ ร่วมโครงการ เพื่อจะให้ทันกาหนดส่งมหาวิทยาลัย  รวบรวมใบสมัคร และเอกสารประกอบ คดั เลือกโดยวิธีการสอบ  สอบสัมภาษณ์เพ่ือคดั เลือกนักศกึ ษาเบ้ืองตน้ กรณนี กั ศึกษาสมคั ร สมั ภาษณ์ เกินจานวนท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด  จัดเรียงลาดบั ผู้สมัครท่ีมีคุณสมบตั ติ ามเงื่อนไขของแตล่ ะทุน เสนอขอรับรองจาก สรปุ ข้อมลู การสมัครของนักศึกษาและจัดทาบันทึกถึงคณบดีเพ่ือขอ คณะกรรมการประจาคณะคณะ รบั รองในท่ีประชมุ กรรมการประจาคณะฯ ให้ความเห็นชอบ เภสชั ศาสตร์ สง่ รายช่อื ผู้สมคั ร  จัดทาบนั ทกึ เสนอคณบดลี งนามเพื่อส่งรายชอ่ื ผู้สมัครไปยงั กองการ ไปยงั กองการต่างประเทศ ตา่ งประเทศตามระยะเวลาที่กาหนด แจ้งผล  รอประกาศผลจากกองการตา่ งประเทศ  แจง้ นักศึกษา และประสานงาน/ อานวยการช่วยเหลอื นักศึกษา ด้านต่างๆ กรณนี กั ศึกษาได้รับทุนไปแลกเปล่ยี นต่างประเทศ 24 | P a g e

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ 3.2.1.4 ปฏบิ ตั งิ านด้านการรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนมาจากตา่ งประเทศ (Inbound Student) ลักษณะงาน ปฏิบัติงานด้านการรับนักศึกษาแลกเปลยี่ นมาจากต่างประเทศ (Inbound) ทั้งฝึกปฏิบัติวิชาชีพ เภสัชกรรม ระยะยาว 1-3 เดือน และแลกเปล่ียนระยะสั้น หน้าที่รับผิดชอบ เช่น การออกหนังสือเชิญ สาหรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนเพ่ือประกอบการยื่นขอวีซ่าเข้าประเทศไทย การติดต่อประสานงานกับ มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา ณ ต่างประเทศท่ีส่งนักศึกษามาแลกเปลี่ยน ณ คณะเภสัชศาสตร์ ประสานงานกับหน่วยงานท้ังภายใน ภายนอกและบุคคลต่างๆ เพื่อจัดทาตารางสาหรับนักศึกษาฝึกงาน หรือแลกเปลี่ยน ประสานงานอาจารย์ฝึกงาน การจัดหาท่ีพักสาหรับนักศึกษา การจดั ทางบประมาณ การ ขออนุมตั ิโครงการ การดแู ละให้คาแนะแก่นกั ศกึ ษาชาวตา่ งประเทศตลอดระยะเวลาทม่ี าแลกเปลี่ยน ตารางที่ 4 ข้นั ตอนวธิ ีการปฏิบัตงิ าน รายละเอียดงาน วธิ ีการปฏบิ ัตงิ าน ได้รับแจง้ ทางอีเมลใ์ นเบ้ืองต้น หลังจากได้รบั แจ้งจากมหาวิทยาลยั ต่างประเทศ ประสานงานขอความ และไดร้ ับหนังสืออยา่ งเปน็ อนเุ คราะห์อาจารย์ฝึกงาน(ด้วยวาจา/อีเมล์) ตามสาขาท่ีต่างประเทศแจง้ ทางการ ความประสงคจ์ ะส่งนักศึกษามาฝึกงาน เช่น clinical oncology pharmacy, clinical pharmacy, R and D, community pharmacy และเสนอคณบดพี ิจารณาตอบรบั เสนอคณบดีพิจารณา เสนอคณบดีพิจารณา พร้อมเสนอข้อมูลประกอบการพิจารณาดา้ น อาจารย์ฝึกงาน ตอบรับไปยังมหาวิทยาลยั จดั ทาหนังสือตอบรบั ส่งให้มหาวิทยาลัยต่างประเทศทางอีเมล์ โดยมี ตา่ งประเทศ เอกสารแนบ ดังนี้ 1) หนงั สือตอบรับ (Acceptance Letter) 2) ใบสมัครสาหรับนักศกึ ษาแลกเปล่ียนชาวต่างประเทศ หนังสือตอบรับต้นฉบบั ให้ส่งไปรษณีย์ เนื่องจากจะต้องนาไปยื่นสมัคร ขอวซี า่ ที่สถานฑูตไทยเพื่อขอเข้าประเทศไทย ขัน้ ตอนการเตรยี มความพร้อม ออกหนังสือเชิญอาจารย์ฝึกงาน (ตามที่ได้ขอความอนุเคราะห์ไว้แล้ว กอ่ นนักศึกษามาแลกเปล่ียน ตามข้อ 1) ประสานงานกับอาจารย์ฝึกงาน ด้านตารางการฝึกงานของ นักศึกษา จัดทาตารางการแลกเปล่ียน และเตรียมเอกสารต่างๆ ของท่ี ระลึก ที่จะให้นักศึกษา นัดหมายคณบดีหรือผู้บริหารในการนา นักศึกษาเข้าพบเมื่อเดนิ ทางมาถึง สารองห้องพักสาหรับนักศึกษา และ ดูแลเร่ืองความพร้อมของห้องพกั เช่น กญุ แจ Key card ชุดเคร่ืองนอน เป็นต้น จัดซื้อต๋ัวโดยสารเครื่องบิน(ถ้ามี) ขออนุมัติกิจกรรม/ขออนุมัติ ใชเ้ งนิ (ค่าห้องพัก/ คา่ เล้ยี งรับรอง/ คา่ ตอบแทนอาจารยฝ์ ึกงาน/ อืน่ ๆ ประสานงาน และออกหนังสือถึงหน่วยงานต่างๆ เพื่อนานักศึกษา แลกเปลี่ยนเข้าศึกษาดูงาน เช่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์, โรงพยาบาล ศูนย์ขอนแก่น และร้านยาคณะฯ เป็นต้น จัดเตรียม Username/ password เข้าใช้ Wi-Fi ให้นักศึกษา จองรถตู้ รับ-ส่ง และจัดตาราง การใชร้ ถ จองหอ้ งประชุมเพ่อื ใช้ในการเรยี นการสอน 25 | P a g e

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วธิ กี ารปฏิบตั งิ าน ช่วงนักศกึ ษามาแลกเปลี่ยน เม่ือนักศึกษาเดินทางมาถึง รับนักศึกษาจากสนามบิน และพาเข้า ส้นิ สุดกิจกรรม ห้องพักและแนะนาเกี่ยวกับห้องพัก แจ้งนักศึกษาเร่ืองตารางการ สง่ นักศกึ ษากลับประเทศ แลกเปล่ียน นานักศึกษาพบคณบดี/ผู้บริหาร/อาจารย์ฝึกงาน ถ่ายรูป ทาบัตรประจาตัวนักศึกษาแลกเปลี่ยน สแกนนิ้วเพื่อเข้าใช้บริการ ห้องสมุด 24 ช่ัวโมง และห้องบัณฑิต 24 ชั่วโมง และดาเนินการตาม ตารางการเปลี่ยนของนักศึกษา นานักศึกษาแลกเปลี่ยนดูงานนอก สถานท่ี เช่น โรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลกรุงเทพขอนแก่น ตลอดทั้งนานักศึกษาดูงานแลกเปล่ียนวัฒนาธรรม ณ ต่างจังหวัด ด้านการเล้ียงรับรองนักศึกษาแลกเปลี่ยน (เลี้ยงต้อนรับ และเลี้ยงส่ง) และคอยอานวยความสะดวกช่วยเหลือให้คาแนะและประสานงานด้าน ต่างๆ ช่วงท่ีนักศึกษามาแลกเปล่ียนท่ีคณะเภสัชศาสตร์ท้ังในด้านการ ปรบั ตัวใช้ชีวติ และดา้ นการแลกเปลย่ี นดา้ นฝึกปฏิบัติงาน สรุปค่าใช้จา่ ยตลอดกิจกรรม เบิกจา่ ยเงิน (ค่าที่พัก/เลีย้ งรบั รอง/อาหาร ว่าง/ค่าตอบแทนอาจารย์ฝึกงาน) สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรม สง่ ฝ่าย แผนตามรอบไตรมาสของงบประมาณ 3.2.2 กระบวนงานด้านการจดั ทาข้อตกลงความร่วมมอื ทางวชิ าการ (MOU) กบั สถาบันต่างประเทศ ลักษณะงาน การทาข้อตกลงความร่วมมือเป็นการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding หรือ MOU) หรือบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Agreement หรือ MOA) เพ่ือสร้าง ความร่วมมือกับหน่วยงานหรือสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ และเพื่อสานต่อความร่วมมือและการ แลกเปลี่ยนทางวิชาการในด้านต่างๆ เช่น บุคลากร นักศึกษา การวิจัย การจัดการเรียนการสอน ตลอดจน การร่วมมือในลักษณะของหลักสูตร การวิจัยร่วม ซึ่งในบางกิจกรรมจาเป็นต้องใช้เอกสารการลงนามความ ร่วมมอื ประกอบการดาเนินงาน เพอ่ื ให้ถูกตอ้ งตามระเบียบปฏบิ ัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 5 ขัน้ ตอนวิธกี ารปฏิบัตงิ าน รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏบิ ัตงิ าน ประสานงานเบื้อต้น การเจรจา ท้ังสองสถาบันมคี วามประสงค์จะจัดทาข้อตกลงรว่ มกัน โดยอาจเป็นฝ่าย จดั ทาข้อตกลงความรว่ มมือ ไทยเป็นผู้ประสานงานเบื้องต้น หรอื ฝ่ายต่างประเทศเปน็ ผ้ปู ระสานงาน ยกร่างข้อตกลงความร่วมมือ โดยธรรมเนียมปฎบิ ัติ ฝ่ายผู้ประสานงานหรือฝ่ายเสนอจะเป็นผู้ยกรา่ ง ขอ้ ตกลง ยกตัวอย่างเชน่ ฝ่ายต่างประเทศเสนอ ประสานงานเจรจาการ จัดทาข้อตกลง โดยฝ่ายต่างประเทศเสนอรา่ งข้อตกลง ใหฝ้ า่ ยไทย พิจารณา พจิ ารณาข้อตกลงความรว่ มมือ กรณีทง้ั สองฝ่ายเห็นชอบรา่ งข้อตกลง ฝ่ายไทยดาเนินการตามขั้นตอนการ จดั ทาข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการกับสถาบนั ตา่ งประเทศ (ประกาศ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ฉบบั ท่ี 1249/2563 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2563) กรณฝี ่ายใดฝ่ายหน่ึงยังไม่เห็นชอบข้อตกลง ให้เจรจาต่อไปจนมเี ห็นชอบ 26 | P a g e

ค่มู ือการปฏิบตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏิบตั ิงาน เสนอขอความเหน็ ชอบตอ่ คณะกรรมการประจาคณะ ข้อตกลงร่วมกันท้ังสองฝา่ ย เสนอกองการต่างประเทศ กรณรี ่างข้อตกลงมีเนื้อสาระสาคัญท่ีไม่เป็นไปตามแบบรา่ งท่ีมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั พิจารณา กาหนด ร่างข้อตกลงนั้นจะต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจาคณะก่อนส่งขออนุมัตจิ ัดทาข้อตกลงให้กองการต่างประเทศ กองการตา่ งประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่นพจิ ารณา ระหวา่ งข้ันตอนการเสนอขอความ มหาวิทยาลัยพิจารณาและให้ เห็นชอบจะต้องแจ้งฝ่ายต่างประเทศให้ทราบถึงความคบื หน้าและ กระบวนการขออนุมัติการจัดทาข้อตกลงความรว่ มมือ ความเห็นชอบ เสนอความเหน็ ชอบจาก เสนอรา่ งข้อตกลงใหก้ องการต่างประเทศพจิ ารณา กรณีรา่ งข้อตกลงมี อธกิ ารบดีและขอหนังสือรบั เนอ้ื หาสาระสาคัญที่ไมเ่ ป็นไปตามแบบรา่ งท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด ร่าง มอบอานาจในการลงนาม ข้อตกลงน้ันจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ กอ่ นเสนอ โดยมเี อกสารประกอบการเสนอ ดังนี้ 1. รา่ งข้อตกลงความร่วมมือ 2. แบบเสนอเพ่ือประกอบการพิจารณาร่างข้อตกลง (MOU proposal) ซง่ึ ประกอบด้วยข้อมลู ท่วั ไปของสถาบันต่างใประเทศ เช่น ข้อมลู ผ้ตู ิดต่อ จุดแข็งหรือจุดเดน่ ของสถาบัน การจัดอันดับ โลกของสถาบัน และอ่ืนๆ 3. แบบรายงานการดาเนินกิจกรรมรว่ มกับสถาบันต่างประเทศ ย้อนหลงั 3 ปี (กรณีท่ีทงั้ สองมีการดาเนินการกิจกรรมร่วมมกัน กอ่ นมีการจัดทาข้อตกลงความร่วม) กรณีไมม่ ีแก้ไข กองการตา่ งประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ พิจารณาและ ใหค้ วามเหน็ ชอบ กรณีมีแก้ไข กองการตา่ งประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่นพจิ ารณาและส่งเรรื่องกลับคณะ คณะแก้ไขตามที่ กองการตา่ งประเทศเสนอแนะจนกว่ากองการตา่ งประเทศ มหาวิทยาลัย พิจารณาและให้ความเห็นชอบ ขอ้ ตกลงความร่วมมือระดับคณะ คณบดีเป็นผูม้ อี านาจลงนาม โดย 1) กรณีลงนามข้อตกลงความรว่ มมอื ตามแบบร่างท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด สามารถลงนามไดเ้ ลย โดยท่ฝี ่ายการต่างประเทศจะ จัดทาหนังสือรับมอบอานาจแบบท่ัวไปจากอธิการบดีไว้แล้ว 2) กรณีลงนามข้อตกลงที่ไม่เปน็ ตามแบบร่างทีม่ หาวิทยาลัยกาหนด คณบดีจะต้องได้รับมอบอานาจจากอธิการบดีทุกครั้งก่อนการลง นาม โดยมีเอกสารดังนี้  บันทึกขอความเห็นชอบ  แบบฟอร์มหนังสือรับมอบอานาจ โดยกรอกข้อมลู ให้ เรียบร้อยและครบถว้ น  สาเนาบัตรผูร้ บั มอบอานาจ(คณบดี) พร้อมรับรอง 27 | P a g e

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วธิ ีการปฏบิ ัติงาน สาเนาถูกต้อง  รา่ งข้อตกลงความร่วมมือท่ีไดร้ ับความเหน็ ชอบจากกอง การต่างประเทศ ดาเนนิ การลงนามข้อตกลง การดาเนนิ การลงนามข้อตกลงความรว่ มมือ สามารถดาเนนิ การได้ดงั น้ี ความร่วมมือความรว่ มมือ 1. ลงนามทางไปรษณยี ์ ดาเนินการจดั พิมพ์ข้อตกลงสองฉบับเสนอคณบดีลงนามพร้อม จดหมายนาสง่ ข้อตกลงความร่วมมือ สง่ ข้อตกลงทั้งสองฉบบั ให้สถาบนั ต่างประเทศทางไปรษณยี ์ ส่งอีเมลแ์ จ้งสถาบันตา่ งประเทศเร่ืองการจดั ส่ง ข้อตกลง และให้สถาบันตา่ งประเทศดาเนนิ การลงนาม และจัดส่งข้อตกลง ที่ลงนามทงั้ สองฝา่ ยกลับให้คณะหนง่ึ ฉบับ 2. ลงนามทางอีเมล์ ดาเนินการจัดพิมพ์ข้อตกลงเสนอคณบดีลงนาม สแกนข้อตกลง สง่ ไฟลส์ แกนให้สถาบนั ต่างประเทศทางอีเมล์เพื่อลงนาม ฝา่ ยต่างประเทศ ส่งไฟล์สแกนข้อตกลงฉบับทท่ี างนามทง้ั สองฝา่ ยให้คณะ 3. ลงนามด้วยตนเอง ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ การจัดพธิ ีการลงนามแบ่งออกเป็น 3 ชว่ งคือ ช่วงก่อนการลงนาม ช่วงลงนาม และช่วงหลังการลงนาม (รายละเอียดแสดงในกระบวนงาน ด้านพิธีการเกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธ์ ด้านพิธีการลงนามข้อตกลงความ รว่ มมือ 4. ลงนามดว้ ยตนเอง ณ มหาวทิ ยาลัยตา่ งประเทศ เกบ็ ข้อตกลงในแฟม้ ข้อมลู / สง่ หลงั จากการลงนามข้อตกลงความรว่ มมือเสรจ็ สนิ้ คณะจัดเก็บข้อตกลง สาเนาข้อตกลงให้กองการ ความร่วมมือฉบับจริงในแฟม้ ข้อมูล และส่งสาเนาข้อตกลงความรว่ มมือให้ ต่างประเทศเพื่อเก็บข้อมูล กองการตา่ งประเทศเพ่ือเก็บเป็นข้อมลู 28 | P a g e

คูม่ ือการปฏิบตั งิ านด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ 3.2.3 กระบวนงานดา้ นการรบั รองอาคันตุกะชาวตา่ งประเทศ ลักษณะงาน ปฏิบัติงานด้านการรับรองอาคันตุกะชาวต่างประเทศ เพื่อประชุมหารือด้านความร่วมมือ เพื่อ การบรรยายพิเศษ การวิจัย และเพ่ือเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการความร่วมมือต่างๆ หน้าที่รับผิดชอบ เช่น การจัดทาตารางการรับรอง การจัดหาตั๋วเคร่ืองบิน การจัดเตรียมพ่ีพัก การจัดเตรียมพาหนะ การ จัดเตรยี มข้อมูลประกอบการประชมุ หรือเจรจาความรว่ มมือ ประสานงานหนว่ ยงานเพ่อื เยี่ยมชม ตารางท่ี 6 ข้นั ตอนวิธีการปฏิบตั งิ าน รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมงาน หลังจากไดร้ บั แจ้งจากหน่วยงาน/สถาบันต่างประเทศ เร่อื งการมาเยือน ไดร้ ับแจง้ ทางอีเมล์ คณะเภสชั ศาสตร์และวัตถปุ ระสงค์การมาเยือน เสนอคณบดีพิจารณา เสนอคณบดพี ิจารณา พร้อมข้อมูลประกอบการพิจารณา วัตถปุ ระสงค์ การมาเยือนของอาคันตุกะ ตอบรับไปยังมหาวทิ ยาลัย จัดทาหนงั สอื ตอบรบั ส่งให้มหาวิทยาลัยต่างประเทศทางอีเมล์ ตา่ งประเทศ ต้นฉบับส่งทางไปรษณยี ์ ขั้นตอนการเตรยี มความพร้อม ดาเนินการด้านการจัดทากาหนดการรับรองอาคันตุกะ นัดหมาย ก่อนการมาเยือนของอาคันตุกะ คณบดี ผู้บริหาร และอาจารย์ที่เก่ียวข้อง และแจ้งวัตถุประสงค์ จัดทาตารางกาหนดการ จัดเตรียมประเด็นประชุมหารือด้านความ ชาวต่างประเทศ ร่วมมือ เตรียมการด้านพิธีการ จัดซ้ือต๋ัวโดยสารเคร่ืองบิน จัดส่ง e- ticket ให้อาคันตุกะต่างประเทศทางอีเมล์ (ถ้ามี) สารองห้องพัก/ จัดส่ง confirmation ให้อาคันตุกะต่างประเทศทางอีเมล์ จัดเตรียม เอกสารข้อมูลคณะ หรือข้อมลู อื่นๆทเี่ กี่ยวข้องกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารมา เยือน จองห้องประชุม(กรณีนาอาคันตุกะต่างประเทศพบคณบดีและ ผู้บริหาร) จองห้องประชุม (กรณีมีบรรยายพิเศษ) ประชาสัมพันธ์ เชิญเข้าฟังการบรรยายพิเศษยังคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ทางอีเมล์ และปิดประกาศ (กรณีมีบรรยายพิเศษ) จัดเตรียมอาหาร กลางวัน/อาหารว่าง จัดเตรียมของที่ระลึก ขออนุมัติกิจกรรม/ขอ อนุมัติใช้เงิน (ค่าพาหนะ/ค่าห้องพัก/ ค่าเล้ียงรับรอง/ ค่าของท่ี ระลึก/ อื่นๆ ) จองรถตู้ รับ-ส่ง และจัดตารางการใช้รถ ประสานงาน และออกหนังสือถึงหน่วยงานต่างๆ กรณี ต้ องนาอาคันตุกะ ต่างประเทศเข้าศึกษาดูงาน เช่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และร้าน ยาคณะฯ เป็นต้น จัดเตรียม Username/ password เข้าใช้ Wi-Fi ให้อาคันตุกะต่างประเทศพร้อมอานวยความสะดวกอ่ืนๆ ตามความ ตอ้ งการ ช่วงทอี่ าคันตุกะพานักใน รับรองอาคันตุกะท่ีสนามบิน รับรองอาคันตุกะต่างประเทศเข้าที่พัก เมอื งไทย โรงแรม รับรองอาคนั ตกุ ะตามกาหนดการประชุมและเยี่ยมชม o รับ-สง่ อาคันตุกะตา่ งประเทศ ระหวา่ งทพ่ี ัก และคณะฯ 29 | P a g e

คู่มือการปฏิบตั ิงานด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏบิ ตั งิ าน สิ้นสดุ กิจกรรม สง่ อาคนั ตุกะ o ใหก้ ารตอ้ นรับอาคนั ตกุ ะตา่ งประเทศโดยคณบดแี ละผูบ้ รหิ าร กลบั กลบั ประเทศ o จดั การประชุม/หารือความรว่ มมือ/บรรยายพิเศษ o จดั เตรยี มอาหารกลางวัน/อาหารว่าง o จดั พธิ กี ารเล้ยี งรับรอง/ อาหารค่า หรืออาหารกลางวัน o มอบของทีร่ ะลกึ / ถา่ ยภาพ/ ปรนิ้ ภาพให้อาคันตกุ ะต่างประเทศ o ให้การรบั รอง/อานวยการความสะดวก ระหวา่ งการมาเยือน สรปุ คา่ ใชจ้ า่ ยตลอดกิจกรรม ขออนมุ ตั ิเบิกจ่ายเงิน เงิน (คา่ พาหนะ/ ค่าห้องพกั /ค่าเล้ยี งรบั รอง/ค่าของที่ระลึก/อนื่ ๆ ) สรปุ ประเดน็ ผล การเจรจา และสรุปผลการดาเนินกิจกรรมตามรอบไตรมาสของ งบประมาณ 3.2.4 กระบวนงานด้านการขอวีซ่าไปต่างประเทศ ลักษณะงาน การประสานงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือ ด้านขั้นตอน การเตรียมเอกสาร การเตรียมตัว การยื่น ขอวีซ่าไปต่างประเทศสาหรับอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ท่ีจะเดินทางไปศึกษา แลกเปล่ียน อบรม สัมมนา นาเสนองานวิจัย หรือเข้าร่วมกจิ กรรม โดยมกี ารศึกษาค้นคว้าขอ้ มูลข้ันตอนวิธกี ารขอวซี ่าของแต่ละ ประเทศ และสรุปเพือ่ ให้ผู้ท่ีจะย่ืนขอวีซ่าได้เขา้ ใจง่าย กรณีอาจารย์ หรือบุคลากร เดินทางไปราชการต่างประเทศโดยใช้หนังสือเดินทางราชการ (เล่มสีน้า เงิน) จะต้องมีหนังสือนาจากกระทรวงการต่างประเทศเพื่อประกอบการย่ืนขอวีซ่าร่วมกับเอกสารต่างๆ ตาม ข้อกาหนดของสถานฑตู แตล่ ะประเทศ ตารางท่ี 7 ขัน้ ตอนวิธกี ารปฏิบัติงาน การขอหนังสือนาจากกระทรวงการตา่ งประเทศ รายละเอียดงาน วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน ได้รบั การแจ้งจากอาจารย์/ ก่อนทีจ่ ะดาเนินการดา้ นการขอหนังสอื นาจากกระทรวงการต่างประเทศ บุคลากร ผู้เดินทางจะต้องดาเนินการด้านการขออนุมัติตัวบุคลเพ่ือไปราชการ ต่างประเทศและได้รับอนุมัติให้ไปราชการต่างประเทศ และมีหนังสือถึง ปลัดกระทรวงการต่างประเทศลงนามโดยอธิการบดีหรือผู้มีอานาจ เพื่อ ขอให้ออกหนังสือนาเพื่อประกอบการยื่นขอวีซ่า โดยอาจารย์/ บุคลากร ผูท้ ่จี ะย่ืนขอวซี ่าตอ้ งส่งเอกสาร ให้ภารกจิ วิเทศวเิ ทศสัมพนั ธค์ ณะ ดงั นี้ o เลม่ หนังสอื เดินทางราชการตัวจริง o สาเนาหน้าหนังสือเดนิ ทาง จานวน 1 ฉบบั o สาเนาหนังสอื อนุมัติตัวบุคคลให้ไปราชการตา่ งประเทศ o หนังสอื ถงึ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศฉบบั จรงิ และสาเนา o เงินคา่ ดาเนนิ การ จานวน 200 บาท (ต่อคน) สง่ เอกสารใหง้ านประสานงาน กอ่ นส่งเอกสาร ใหโ้ ทรประสานงานและเพอื่ แจง้ เจ้าหนา้ ทวี่ ่าจะมกี ารส่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น เอกสารเพอื่ ขอหนังสือนาจากกระทรวงการต่างประเทศ 30 | P a g e

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏิบัตงิ าน งานประสานงาน จดั เตรียมเอกสารใสซ่ อง กระกอบด้วย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1) เล่มหนงั สือเดนิ ทางราชการตัวจรงิ 2) สาเนาหนา้ หนังสอื เดินทาง จานวน 1 ฉบบั ส่งเอกสารกลับ 3) สาเนาหนังสืออนุมตั ติ วั บคุ คลใหไ้ ปราชการต่างประเทศ 4) หนงั สือถึงปลัดกระทรวงการต่างประเทศฉบบั จริง และสาเนา การสมัครวีซา่ ต่างประเทศ 5) เงนิ คา่ ดาเนินการ จานวน 200 บาท (ตอ่ คน) การจ่าหน้าซอง ให้จา่ หน้าซองถึง งานประสานงานมหาวิทยาลัยขอนแกน่ อาคารสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ถนนศรีอยธุ ยา เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร หลงั จากนัน้ นาซองเอกสารไปสง่ กองกลาง ชัน้ 1 อาคารสริ ิคุณากร เพื่อจัดสง่ ไปงานประสานงาน มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ทางเครื่องบิน หลังจากท่งี านประสานงานมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับซองเอกสารครบ แล้ว ดาเนินการเพ่ือไปย่ืนขอหนังสือนาจากกระทรวงการต่างประเทศ หลงั จากได้หนงั สือนาแลว้ โดยสามารถดาเนนิ การรับหนังสอื นาได้ ดังนี้ 1) ให้สง่ กลบั มาภารกิจวเิ ทศสมั พนั ธ์คณะ และภารกจิ วเิ ทศสัมพนั ธ์ ส่งเอกสารให้อาจารย์ บุคลากร เพ่ือไปดาเนินการตามข้ันตอน ตอ่ ไป 2) กรณีเร่งด่วน เช่น กาหนดวันไปย่ืนขอวีซ่าหรือกาหนดวันไป สัมภาษณ์ขอวีซ่ากระช้ันชิด ผู้เดินทางสามารถไปรับหนังสือนา ด้วยตนเองท่ีกรุงเทพ โดยโทรติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ เพ่อื นดั พบและรบั หนงั สือนาและเล่มหนงั สอื เดินทาง ดาเนินการสมัครวีซ่า หรือให้คาแนะนาด้านการเตรียมเอกสาร และการ สมัครวีซ่าแก่อาจารย์ หรือบุคลากร ซ่ึงในแต่ละประเทศจะมีวีธีการ ข้ันตอน ทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป ยกตัวอยา่ งเช่น 1) วีซา่ ประเทศสหรฐั อเมริกา สมัครออนไลน์โดยกรอกแบบคาร้อง ขอวีซา่ ชัว่ คราว (DS-160) ทีเ่ ว็บไซต์ www.ustraveldocs.com/th กรอกข้อมลู ใบสมัครให้ครบตาม ขั้นตอน อัพโหลดรปู ภาพ กดยืนยนั การสมคั ร (กรณีกดยืนยนั แล้วผู้สมคั รไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ ดังนั้นจงึ ต้องตรวจสอบ ขอ้ มลู ให้ถูกต้องทุกขนั้ ตอนก่อนกดยืนยัน) หลังจากนั้นสร้างโปร ไฟลส์ ว่ นตวั และปริ้นใบชาระค่าธรรมเนียมการยื่นคาร้องขอวีซ่า/ การสมัครวซี า่ ไปชาระเงินทธ่ี นาคารกรุงศรีอยุทธยา ทาการนัด สัมภาษณ์ในระบบโปรไฟลส์ ่วนตัวทีส่ ร้างไว้ ซ่ึงจะสามารถนัดวัน สมั ภาษณ์ได้หลัง 12.00 น. ของวนั ถดั จากวันชาระค่าธรรมเนียม และเดินทางมาสัมภาษณว์ ซี ่าตามวนั เวลาท่ีทาการนดั ทสี่ ถานทตู สหรัฐและสถานกงสลุ ในประเทศไทย ถนนวิทยุ กรุงเทพมหานคร 31 | P a g e

ค่มู ือการปฏบิ ัติงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วธิ ีการปฏบิ ตั งิ าน โดยจะต้องนาใบยืนยันแบบฟอรม์ DS-160 ใบยืนยันการนัด หมาย หนังสอื เดินทาง (ทั้งเล่มเกา่ และปัจจบุ ัน) รูปถ่ายสี ขนาด 2×2 พน้ื หลงั สีขาวที่ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน และเอกสารที่ เกี่ยวข้อง หลังจากสถานฑตู อนุมตั ิวซี า่ แล้ว สถานฑตู จะจัดสง่ เล่ม หนงั สือเดนิ ทางท่ีประทับตราวีซา่ แล้วกลบั คืนให้เจ้าตัวทาง ไปรษณยี ์ โดยไมต่ ้องเดินทางไปรบั เอง (ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 เดอื น) 2) วีซ่าประเทศประเทศโปรตุเกส (วีซ่าเชงเก้นไม่เกิน 90 วัน) สมัคร วี ซ่ าอ อน ไล น์ ผ่ าน ศู น ย์ ยื่ น วี ซ่ า TLScontact ที่ เว็ บ ไซ ต์ https://pt.tlscontact.com/ โดยสร้างบัญชีและกรอกข้อมูลให้ ครบถ้วน ทาการนัดหมายออนไลน์ เตรียมเอกสารเพื่อยื่นวีซ่า เดินทางไปยื่นวีซ่าตามวันเวลาที่ทาการนัดหมายที่ศูนย์ย่ืนวีซ่าที แอลเอสคอนแทคสาทรซิต้ีทาวเวอร์ ช้ันที่ 12 หลังจากได้รับ อนุมัติวีซ่าแล้ว ศูนย์ย่ืนวีซ่าจะจัดส่งเล่มหนังสือเดินทางท่ี ประทับตราวีซ่าแล้วส่งกลับคืนให้เจ้าตัวทางไปรษณีย์ โดยไม่ต้อง เดินทางไปรับเอง (ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 เดอื น) 3) วีซ่าประเทศญี่ปุ่น (วีซ่าช่ัวคราวไม่เกิน 90 วัน) กรณีกาหนด เดินทางเกิน 14 วัน จะต้องย่ืนสมัครวีซ่า โดยการดาวน์โหลด แบบฟอร์มและกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เตรียมเอกสารประกอบ ตามข้อกาหนดพร้อมรูปถ่าย ไปย่ืนด้วยตนเองท่ี สถาน เอ ก อั ค รราช ทู ต ญ่ี ปุ่ น ป ระจ าป ระเท ศ ไท ย ถน น วิ ท ยุ กรุงเทพมหานคร หรือสามารถยื่นทางไปรษณีย์ซึ่งมีค่าธรรมการ ยน่ื ทางไปรษณีย์ โดยสามารถตรวจสอบข้อมูลไปรณีย์ที่รับยืน่ วซี ่า ญ่ีปุ่นได้ที่เว็ปไซต์สถานฑูต กรณีจังหวัดขอนแก่นหรือจังหวัด ใกล้เคียงสามารถย่ืนได้ที่ไปรษณีย์จังหวัดขอนแก่น ติดกับสถานี ตารวจขอนแก่น สถานฑูตจะจัดส่งเล่มหนังสือเดินทางท่ี ประทับตรา วีซ่าแล้วส่งกลับคืนให้เจ้าตัวทางไปรษณีย์ โดยไม่ ตอ้ งเดินทางไปรับเอง (ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 สัปดาห์) 4) วซี ่าสาธารณรัฐประชาชนจีน กรอกแบบฟอร์มใบสมัครติดรปู ถ่าย พร้อมเอกสารประกอบการสมัคร ไปยื่นสถานกงสุลใหญ่ แห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจาจังหวัดขอนแก่น วันจันทร์ถึงวัน ศุกร์ เวลา 9.00 – 12.00 น. ยื่นแบบธรรมดาใช้เวลา 3 วันทา การ ยื่นแบบเร่งด่วนพิเศษ(มีค่าดาเนินการเพ่ิม) ใช้เวลา 1 วันทา การ มารับเล่มหนังสือเดินทางท่ีประทับตราวีซ่าแล้ว ณ สถาน กงสลุ ประจาจังหวัด 32 | P a g e

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ 3.2.5 กระบวนงานด้านการขอวีซ่าเพ่ือพานักในประเทศไทยและการต่ออายุวีซ่าสาหรับนักศึกษา ชาวต่างชาติ ลักษณะงาน ดาเนินการด้านเอกสาร การประสานงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือ ด้านข้ันตอน การเตรียม เอกสาร การเตรียมตวั การยื่นขอวซี ่าเพื่อพานักในประเทศไทยสาหรับนกั ศึกษาชาวตา่ งชาติ ชาวต่างชาติท่ีเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น จะต้องดาเนินการขอวีซ่าเพ่ือเข้า ประเทศไทย ประเภทวีซ่านักเรียน/Education visa ( NON ED Visa ) ณ สถานฑูตไทยประจาประเทศ น้ันๆ โดยจะได้วีซ่าเพ่ือพานกั ในประเทศไทยในคร้ังแรกเป็นเวลา 3 เดอื น หรอื 6 เดอื น แลว้ แตป่ ระเทศ ตารางท่ี 8 ขน้ั ตอนวิธีการปฏบิ ัติงาน ด้านการขอวีซ่าเพอ่ื พานักในประเทศไทยเปน็ ครัง้ แรก (นกั ศึกษาอยู่ต่างประเทศ) รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏิบตั ิงาน ขอหนังสือตอบรบั เข้าศึกษา หลังจากผ่านขั้นตอนการคัดเลือกให้เป็นผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในคณะเภสัช ศาสตร์ จะต้องทาหนังสือถงึ กองการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อขอหนังสือตอบรับเข้าศึกษา และหนังสือถึงสถานฑูตไทยประจา ประเทศนน้ั ๆ โดยแนบเอกสารดงั น้ี o ประกาศรายชอ่ื ผู้มสี ทิ ธิ์เข้าศกึ ษา o สาเนาหนา้ แรกหนงั สือเดินทาง ส่งหนังสือรตอบรบั ให้ หลังจากได้รับหนังสือตอบรับ และหนังสือถึงสถานฑูตไทย จากกองการ นกั ศึกษาชาวตา่ งชาติ ต่างประเทศแล้ว ดาเนินการสแกนเอกสารส่งให้นักศึกษาทางอีเมล์ และ สง่ ต้นฉบับให้ทางไปรษณีย์ ระหวา่ งนีต้ ดิ ต่อส่ือสารกับนักศกึ ษาทางอีเมล์ และชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สอื่ อืน่ ๆ นกั ศึกษาไปย่ืนขอวซี ่า ณ ให้คาแนะนานักศึกษาด้านการเตรียมตัว การเตรียมเอกสาร ที่จะไปยื่น สถานฑูตไทย ขอวซี ่าด้วยตนเอง ตารางที่ 9 ขั้นตอนวธิ กี ารปฏบิ ัติงาน ดา้ นการขอต่อวีซ่าเพือ่ พานกั ในประเทศไทยสาหรบั นักศกึ ษา ชาวต่างชาติ รายละเอียดงาน วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน ขอหนงั สือนาเพ่ือต่ออายวุ ซี า่ ผ้ปู ฏิบัตงิ านวิเทศสัมพนั ธ์ รบั เอกสารแบบฟอรม์ การขอหนังสอื นาเพื่อต่อ อายุวีซ่าจากนักศึกษาชาวตา่ งชาติ ได้แก่ 1) แบบฟอร์ม IR 4 (นักศึกษาเข้าไปกรอกท่ี https://iad.kku.ac.th และปริ้นออกมาเซ็นชื่อ และอาจารย์ที่ ปรึกษาเซน็ ต์) 2) สาเนาหนา้ แรกหนังสือเดินทาง 3) สาเนาหน้าวซี ่า Non ED 4) สาเนาบัตรนักศึกษา 5) สาเนาใบแสดงผลการเรียน 33 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบัติงานด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธีการปฏิบัตงิ าน ได้รับหนังสือนาตอ่ อายุวีซา่ ตรวจสอบเอกสาร ดาเนินการออกหนังสือจากคณะลงนามโดยคณบดี และนกั ศึกษาไปต่ออายวุ ีซา่ (แบบฟอร์ม IR 1 ) ถึงกองการต่างประเทศเพื่อขอหนังสือนาให้นักศึกษา ชาวต่างประเทศ โดยสง่ ไปพร้อมกับเอกสารดงั กล่าวข้างตน้ กองการต่างประเทศส่งหนังสอื นาต่ออายุวซี ่าลงนามโดยอธิการบดีหรือผู้ มีอานาจ มาให้ภารกิจวิเทศสัมพันธ์คณะ จากน้ันแจ้งนักศึกษามารับ หนังสือนาเพ่ือไปดาเนินการต่ออายุวีซ่า ณ ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด ขอนแก่น สถานีขนส่งูผุโดยสารจังหวัดขอนแก่น (บขส.3) อาคาร 2 ชั้น 2 โดยนักศกึ ษาจะต้องเตรยี มเอกสาร ดงั นี้ 1) หนงั สือนาต่ออายุวซี ่าออกโดยมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2) แบบ ตม. 7 (มใี หบ้ ริการที่ตรวจคนเขา้ เมืองจงั หวดั ขอนแก่น) 3) เลม่ จริงหนังสอื เดินทาง และสาเนา 4) บัตรนักศกึ ษา และสาเนา 5) ใบแสดงผลการเรียน 6) ค่าธรรมเนยี ม 1,900 บาท กรณีนกั ศกึ ษาประสงค์ขออนุญาตเดนิ ทางกลับเข้ามาในประเทศไทย หลังจากท่ีได้เดินทางออกนอกประเทศ โดยวีซ่าท่ีถืออยู่ยังไม่ หมดอายุ (Re-entry Permit) จะต้องยื่นแบบ ตม. 8 ด้วย และ ชาระค่าธรรมเนียมกรณีขอกลับเข้าประเทศไทยครั้งเดียว (single re-entry) จานวน 1,000 บาท หรือ ชาระค่าธรรมเนียมกรณีขอ กลับเข้าประเทศไทยหลายคร้ัง (multiple re-entry) จานวน 3,800 บาท 3.2.6 กระบวนงานด้านพิธีการเกีย่ วกบั งานวิเทศสมั พนั ธ์ 3.2.6.1 พิธีการลงนามข้อตกลงความรว่ มมือขอ้ ตกลงทางวิชาการ ลักษณะงาน การดาเนินการดา้ นการจัดพธิ ีลงนามข้อตกลงกรณีฝ่ายไทยเป็นเจ้าภาพ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ชว่ งได้แก่ การเตรยี มก่อนพธิ ีลงนาม การเตรียมการลงนาม และการเตรียมการหลังการลงนาม ตารางท่ี 10 ขั้นตอนวธิ ีการปฏิบตั งิ าน รายละเอียดงาน วธิ กี ารปฏบิ ัติงาน การเตรียมการก่อนพิธี ตรวจสอบร่างข้อตกลงฉบับที่ได้รับความเห็นชอบ จัดพิมพ์ร่างข้อตกลง ลงนามข้อตกลง เตรียมสาหรับการลงนามสองฉบับ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้แก่ ปากกาใช้ สาหรับลงนาม แฟ้มปกแข็งตราสัญญาลักษณ์มหาวิทยาลัยสาหรับใส่ ข้อตกลง จัดเตรียมคากล่าว กาหนดการพิธีลงนาม ออกหนังสือเชิญ ผู้บริหารผู้ที่เก่ียวข้องร่วมพิธีลงนาม เตรียมสถานที่โต๊ะเก้าอ้ี ตกแต่ง สถานท่ี จัดผังที่นั่ง ป้ายชื่อ ป้ายพิธีลงนาม ธงเล็กต้ังโต๊ะ ทาหนังสือขอ ความอนุเคราะห์บันทึกภาพและปร้นิ ภาพ จัดเตรียมของทร่ี ะลึก 34 | P a g e

คมู่ อื การปฏิบัตงิ านด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏิบัติงาน เตรียมการลงนามข้อตกลง ลงนามข้อตกลง โดยผู้แทนท้ังสองฝา่ ยลงนามข้อตกลงของฝ่ายตนเองก่อน การเตรียมการ เม่ือลงนามเรียบร้อยแลว้ เจ้าหน้าทป่ี ระจาโต๊ะลงนามต่างคนตา่ งนา หลงั การลงนาม ข้อตกลงมาแลกกันหลังโต๊ะลงนาม ผแู้ ทนแต่ละฝ่ายลงนามในฉบับของอีก ฝา่ ย เมื่อลงนามเรยี บร้อยแล้ว ผแู้ ทนยืนข้นึ จับมือ แลกข้อตกลงกนั ถ่ายภาพ ผูแ้ ทนท้งั สองฝา่ ยกล่าวถงึ ความรว่ มมือที่จะดาเนินการร่วมมือกนั จัดเก็บข้อตกลงความร่วมมือในแฟ้มข้อมลู ทาบนั ทึกสง่ สาเนาข้อตกลง ความร่วมมือให้กองการต่างประเทศจดั เกบ็ เปน็ หลักฐานต่อไป 3.2.6.2 พิธีการรับรองอาคันตุกะชาวมุสลิม ลักษณะงาน คณะเภสัชศาสตร์ได้มีการต้อนรับอาคันตุกะและนักศึกษาต่างชาติชาวมุสลิม โดยปฏิบัติงานด้าน การรบั รองตามหลกั การและพธิ กี ารทางศาสนาของชาวมุสลิม ตารางที่ 11 ข้ันตอนวธิ ีการปฏิบตั งิ าน รายละเอียดงาน วธิ ีการปฏิบัติงาน การละหมาดและการเตรียม ชาวมสุ ลมิ จะทาการละหมาด 5 เวลา ไดแ้ ก่ ยามรงุ่ อรุณ (ประมาณ 05.30 สถานที่ละหมาด – 06.30 น.) ยามบ่ายชว่ งตะวันคล้อยหรือหลงั เที่ยง (ประมาณ 12.30 – 15.0) ยามเย็น(ประมาณ 15.45 – 17.45 น. ยามอาทิตยต์ กดิน (ประมาณ 18.00-19.00 น.) และยามค่าจนถึงฟ้าสาง (ประมาณ 19.00-24.00 น.) การจัดห้องละหมาดใหม้ ีความสะสะอาด แยกห้องชาย หญงิ หากมหี ้อง เดยี วให้สลับกระทาการละหมาด มีพรมสาหรับทาพธิ หี รือผา้ ปูรองพื้น ละหมาด มีป้ายระบทุ ิศทางช้ีไปทางนครเมกกะ(ประเทศไทยให้หนั หน้าไป ทางทิศตะวนั ตก) หรอื ตดิ ป้าย West และ East ไว้ทีผ่ นังห้องละหมาด มี ปา้ ยหน้าหอ้ ง ข้อความ “ห้องละหมาด (Praying Room)” การจัดเวลานัดหมาย ชาวมุสลมิ จะทาการละหมาด 5 เวลา เพื่ออานวยความสะดวกให้ชาว มสุ ลมิ ควรจัดตารางการนัดหมายดังน้ี วันจันทร์ ถึงพฤหัสบดี นัดหมายช่วง 09.00 – 12.00 น. และ 14.00 – 16.00 น. (หลีกเล่ียงชว่ งหลงั เทย่ี ง) วันศกุ ร์ นัดหมายชว่ ง 09.00 – 11.00 น. และ 14.00 – 16.00 น. (ทุกวัน ศกุ ร์ เวลา 12.00 – 13.30 น. ชายชาวมุสลิม จะต้องไปละหมาดท่ีมสั ยิส ดงั นน้ั ควรเสรจ็ กาหนดการในช่วงเช้าก่อนเวลา 11.00 น. และรับรอง ชาวตา่ งชาติไปละหมาดท่ีมสั ยิสในจังหวดั ขอนแก่น คือ มสั ยิสกลาง ขอนแกน่ ถนนศรีมารตั น์ หรอื ให้คาแนะนาเส้นทางและวธิ ีการไปมัสยิส การจัดอาหารและเคร่ืองดมื่ / ด้านอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม ประเภทนา้ เปล่า น้าผลไม้ ชา หรือกาแฟ ท่ีมี การเล้ียงรับรอง สัญลกั ษณ์ Halal ของว่าง เช่น ขนมไทย เบอเกอรี่ ท่ีไม่มสี ่วนผสมของ เน้ือสัตว์ นาแนะให้จัดผลไม้เป็นอาหารว่าง เนื่องจากชาวมสุ ลิมจะไมม่ ี ความกังวลและลังเลว่าอาหารจะมสี ่วนผสมของอะไรบา้ งทผ่ี ิดหลักศาสนา 35 | P a g e

ค่มู อื การปฏบิ ัติงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ รายละเอียดงาน วิธกี ารปฏิบัตงิ าน การเตรียมของทรี่ ะลึก ด้านอาหารจัดเลี้ยง จัดอาหารฮาลาล (Halal food) จากร้านอาหารฮาลาล การนาทัศนศึกษา ซ่ึงไม่มีส่วนผสมของเน้ือหมู ร้านอาหารฮาลาลในขอนแก่น ได้แก่ สงิ่ ท่ีไม่ควรปฏบิ ัติ ร้านอาหารอิสลามโรงอาหารคณะเภสัชศาสตร์ ร้านไก่รสทิยพ์(ย่าน กังสดาล มีโซนห้องแอร์) ร้านสุไบดะห์ (ถนนมิตรภาพ ตรงข้าม โรงพยาบาลราชพฤกษ์) อาหารปักใต้น้องมิว (ถนนหน้าเมือง ตรงข้ามบ้าน หมอโชติกา) ร้านอาหารท่ีชาวมุสลิมสามารถรับประทานได้ เช่น แหลม เจริญ ซีฟดุ้ ร้านตะวันทอง(มังสวิรตั ิ) ไม่ควรให้ส่ิงของท่ีทามาจากสัตว์ แอลกอฮอล์ หากเป็นผ้า ไม่ควรเป็น ผ้าลายสัตวแ์ ละคน หากเป็นของกิน ควรมีตราสัญลักณ์ฮาลาล ของทีระลึก ที่แนะนา เช่น ของท่ีระลึกตราสัญลักษณ์ของสถาบัน ผ้าลายพื้นเมือง สินค้าที่แสดงความเป็นอีสาน เช่น พวงกุญแคนขนาดเล็ก ผ้าไหม ผา้ ขาวม้า หมอนขดิ เป็นต้น สามารถนาชาวมุสลิมเข้าชมศิลปะวัฒนธรรมในวัดไทยได้ เช่น วนั หนอง แวงอารามหลวง วัดป่าอดลุ ยาราม(วดั หลวงพ่อกล้วย) นาชมมหาวิทยาลยั พพิ ธิ ภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ร้านของฝากท้องถน่ิ ร้านพระธรรมขันต์ บ้าน ของฝาก ตลาดต้นตาล เป็นตน้ ไม่ควรเร่งรัดเวลาในการละหมาด ไม่ควรแตะเน้ือต้องตัวเพศตรงขา้ ม โดยเฉพาะเพศหญงิ ไม่ควรใช้มือซ้ายในการยื่นหรือรับส่งิ ของ ไมส่ นทนา เรอื่ งก่อการร้าย เปน็ ต้น 36 | P a g e

คูม่ อื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ 3.2.7 กระบวนงานด้านทุนสาหรับอาจารยช์ าวไทยและชาวตา่ งชาติ 3.2.7.1 ดา้ นทุนสาหรบั อาจารยช์ าวไทยไปต่างประเทศ ลักษณะงาน ดาเนินการประสานงานด้านทุนสาหรับอาจารย์ชาวไทยไปต่างประเทศ เช่น ทุนสนับสนุนการ แลกเปล่ียนอาจารย์ชาวไทยไปสอนและหรือวิจัย ณ ต่างประเทศ (Thai Visiting Scholar) ทุน แลกเปลี่ยนอาจารย์ระหว่างไทยกับออสเตรียภายใต้เครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในทวีป ยุโรปกับมหาวิทยาลยั ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (ASEA-UNINET Staff Exchange One Month Scholarship) โดยผู้ท่ีขอรับทุนในสังกัดคณะจะต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ เมื่อ สิ้นสุดโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติงานภายใน15วันและต้องเป็นไปตาม ข้อกาหนดและเงื่อนไขของมหาวิทยาลัย ตารางท่ี 12 ข้ันตอนวิธีการปฏิบัติงาน รายละเอียดงาน วิธีการปฏิบตั งิ าน เตรียมการ โดยได้รับแจ้งจาก ได้รับแจ้งทางบันทึกข้อความและ/หรือทางอีเมล์จากกองการต่างประเทศ กองการตา่ งประเทศเรื่อง มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่องการประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครอาจารย์สมัคร ประชาสัมพนั ธร์ ับสมัคร เข้ารับการคัดเลือกเพื่อรับทุนโครงการ อาทิเช่น ทุนแลกเปล่ียนอาจารย์ อาจารย์ขอรับทุน ไท ย ไป ส อ น /วิ จั ย ต่ า ง ป ร ะ เท ศ Thai Visiting Scholar (ทุ น มหาวิทยาลัยขอนแก่น) ทุน ASIA UNINET ทุน Capacity Building และ อน่ื ๆ เสนอคณบดพี ิจารณา เสนอคณบดีพิจารณา เพ่ือประชาสมั พันธท์ างอีเมลใ์ ห้อาจารย์ท่ีสนใจ สมคั รเข้าร่วมโครงการ ประชาสมั พันธใ์ ห้อาจารย์ ประชาสัมพนั ธใ์ ห้อาจารย์ทส่ี นใจทราบสมคั รเข้าร่วมโครงการ ทางอีเมล์ ทราบ/ รบั สมคั รเขา้ ร่วม พร้อมกาหนดวันส่ง เพื่อจะให้ทันตามระยะเวลาท่ีกาหนด จากน้ันทาการ รวบรวมใบสมคั ร และเอกสารประกอบตามประกาศของมหาวิทยาลยั โครงการ เสนอขอรับรองจาก สรปุ ข้อมลู ผู้สมัครและจัดทาบันทึกถึงคณบดีเพื่อขอรบั รองในที่ประชุม คณะกรรมการประจาคณะ กรรมการประจาคณะฯ เพ่ือให้ความเห็นชอบ เภสัชศาสตร์ รวบรวม/สง่ รายชือ่ ผสู้ มัครไป จดั ทาบนั ทึกเสนอคณบดีลงนามเพื่อส่งรายชอ่ื ผสู้ มคั รไปยงั กองการ ยังกองการต่างประเทศ ต่างประเทศตามกาหนด แจง้ ผลผู้ท่ีไดร้ ับทุน รอประกาศผล แจ้งอาจารย์ผู้ขอรับทุนทราบ และประสานงาน/ อานวย ความสะดวกให้อาจารย์ในด้านต่างๆ กรณีอาจารย์ได้รับทุนไป ต่างประเทศ อาทิเช่น การตอบรับทุน การรายงานผล การย่ืนขอวีซ่า การขออนมุ ัติใช้เงนิ และเบกิ จ่ายงบประมาณ และอน่ื ๆ 37 | P a g e

คู่มือการปฏบิ ตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ 3.2.7.2 ด้านทนุ สนับสนนุ อาจารยผ์ ู้เช่ียวชาญชาวต่างประเทศเพ่ือการสอนและหรือวจิ ยั (International Visiting Scholar) ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ลักษณะงาน ดาเนนิ การ ประสานงานดา้ นทุนสนบั สนุนอาจารย์ผู้เช่ียวชาญชาวต่างประเทศเพือ่ การสอนและหรือ วิจัย (International Visiting Scholar) ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต้ังแต่ต้นจนสิ้นสุดกิจกรรม ได้แก่ ศึกษา ประกาศหลักเกณฑ์วิธีการย่ืนสมัครขอทุน กรอกข้อมูลใบสมัครและเตรียมเอกสารประกอบการสมัครให้ ครบถ้วนตามข้อกาหนด ประสานงานอาจารย์ชาวต่างประเทศเพ่ือขอแบบประวัติ(CV) ด้านหนังสือเชิญ ชาวต่างชาติ กรณีได้รับทุน ดาเนินการด้านการเตรียมความรพร้อมก่อนอาจารย์ชาวต่างประเทศเดินทาง มาถึง(ดาเนนิ การตามข้ันตอนการบั รองอาคันตุกะชาวต่างประเทศ) รับรองอาจารย์ชาวต่างประเทศระหว่างที่ พานัก ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อสิ้นสุดโครงการ ดาเนินการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติงาน เบิกจ่าย งบประมาณ และสรปุ กิจกรรม ตารางที่ 13 ข้นั ตอนวธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน รายละเอียดงาน วิธีการปฏบิ ัติงาน การเตรียมการด้านใบสมัคร หลังจากมีประกาศรับสมัครทุนสนับสนุนอาจารย์ผู้เช่ียวชาญชาว และเอกสารประกอบการ ต่างประเทศเพื่อการสอนและหรือวิจัย (International Visiting Scholar) สมคั ร ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะดาเนินการทาบทามเชิญชาวต่างชาติ และ ชาวต่างชาติตอบรับคาเชิญแล้ว จะต้องดาเนินการด้านการกรอกเอกสาร แบบฟอร์มใบสมัครขอรับทุน เขียนข้อเสนอโครงการ พร้อมหลักการและ เหตุผล กาหนดการ และรวบรวมเอกสารประกอบการสมคั รอนื่ ๆ ได้แก่ คา รับรองคณบดี แบบประมาณค่าใช้จ่าย โดยมีการติดต่อประสานงานกับ อาจารย์ชาวต่างประเทศทางอีเมล์เพ่ือขอข้อมูลประกอบการสมัคร ได้แก่ แบบประวัติส่วนตัว รูปถ่าย สาเนาหน้าแรกหนังสือเดินทาง ดาเนินการ ด้านหนงั สือเชิญและหนังสือตอบรบั อาจารยช์ าวต่างประเทศ เสนอขอความเห็นชอบจาก หลงั จากเตรยี มใบสมัครขอรบั ทนุ ข้อเสนอโครงการ และเอกสารต่างๆ ที่ คณะกรรมการประจาคณะ เก่ียวข้องครบถว้ นเรียบร้อย จะต้องทาบันทึกเพื่อเสนอความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการประจาคณะ ส่งใบสมัครและเอกสาร จดั ทาบันทึกนาส่งใบสมัครขอทุน เอกสารประกอบการสมคั ร และหนังสือ ประกอบการสมัครขอทนุ แจง้ มตเิ ห็นชอบจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจาคณะ เพื่อสง่ เอกสาร ไปกองการต่างประเทศ สมัครขอทุนไปยังกองการตา่ งประเทศ ดา้ นการรับรองชาวต่างชาติ กองการต่างประเทศแจ้งผลการพิจารณาทุน กรณีได้รับทุน จะต้อง (กรณีได้รับทุน) ดาเนินการด้านขออนุมัติใช้เงินจากแหล่งทุน(มหาวิทยาลัยขอนแก่น) และ ดาเนินการด้านการเตรียมการรับรองอาคันตุกะ ต้ังแต่ต้นจนสิ้นสุด กจิ กรรม แบ่งเป็น 3 ช่วง ไดแ้ ก่ ช่วงก่อนเดินทางมามหาวิทยาลัยขอนแก่น ช่วงที่พานักอยู่มหาวิทยาลัยขอนแก่น และช่วงหลังจากเดินทางกลับ โดย ดาเนนิ งานตามกระบวนงานดา้ นการรับรองอาคันตุกะชาวตา่ งประเทศ รายงานผล หลังเสร็จสน้ิ กิจกรรม ดาเนินการสรปุ และส่งแบบรายงานผลการดาเนนิ โครงการ และเบิกจ่ายงบประมาณ ให้กองการตา่ งผระเทศ 38 | P a g e

คู่มือการปฏิบตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ 3.3 กฎ ระเบยี บ ประกาศ ท่ีเกย่ี วข้อง ตารางที่ 14 วา่ ด้วย กฎ ระเบียบ ประกาศ ที่เก่ียวข้องกับงานด้านวิเทศสัมพันธ์ พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 กาหนดให้ใช้บังคับ ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราช กจิ จานเุ บกษา ในเลม่ 136 ตอนท่ี 57 ก วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2562 โดยสรปุ สาระสาคัญดังตอ่ ไปน้ี มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรา 3 “มาตรฐานการอุดมศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดขั้นต่าเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพ และเกณฑ์อื่นในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ข้อกาหนดข้ันต่าของ หลักสูตรการศึกษา และข้อกาหนดขั้นต่าของเกณฑ์ในการขอตาแหน่งทางวิชาการใน สถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐานอ่ืนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ใน การส่งเสริม การกากับดูแล การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลและการประกัน คุณภาพการศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา หมวด 4 หน้าท่ีและอานาจของสถาบันอดุ มศึกษา มาตรา 27 สถาบันอุดมศึกษาต้องดาเนินการให้คณาจารย์และบุคลากรอื่น มีความรู้เท่าทัน ความก้าวหน้าทางวิชาการในโลก พัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยให้ทันสมัย สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลงทางวิชาการ ความเปล่ียนแปลงของโลก สังคม และ เทคโนโลยี และส่งเสริม และสนับสนุนการผลิตผลงานทางวิชาการในระดับชาติและ ระดบั นานาชาติ มาตรา 31 หลักสูตรการศึกษาที่สภาสถาบันอุดมศึกษาจะอนุมัติ เพ่ือให้เปิดสอนได้ต้องมีมาตรฐาน ไม่ต่ากว่าข้อกาหนดข้ันต่าด้านคุณภาพที่คณะกรรมการมาตรการอุดมศึกษากาหนด และต้องมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน พัฒนาวิชาชีพ หรือทักษะอาชีวะชั้นสูง หรอื การคน้ ควา้ วิจยั เพ่อื พัฒนาองค์ความรแู้ ละเพ่ือพฒั นาสังคม มาตรา 39 เพื่อส่งเสริมให้มีการนาผลการวิจัยและนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษา ไปใช้ประโยชน์ สถาบันอุดมศึกษาพึงสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในด้านการวิจัยและการสร้าง นวัตกรรมการบริหารการวิจัย การแลกเปล่ียนบุคลากร การจัดต้ังกลุ่มวิจัยร่วม การ แปลงผลงานวิจัยให้เป็นรูปธรรมระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นของรฐั ภาคเอกชนภาคประชาสังคม ทั้งในประเทศและต่างประเทศ หลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบัตใิ นการทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันตา่ งประเทศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 1249/2563 วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2563) ข้อ 5 หลักการในการทาข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการกับสถาบันตา่ งประเทศ จะต้องเป็น กจิ กรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน โดยควรมงุ่ เน้นความ ร่วมมือทจ่ี ะส่งเสริมและพัฒนาขดี ความสามารถ หรือศักยภาพท่ีมีอยู่ของมหาวิทยาลยั ในด้านตา่ งๆเพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพท่ีดยี ิง่ ขึ้นในการเรียนการสอน และการยอมรับหรือ สรา้ งซ่ือเสยี งในระดับนานาชาติ ได้แก่ 5.1 การพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งทางวิชาการและการวจิ ัยในสาขาวิชาตา่ งๆ 5.2 การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันตา่ งประเทศ ท่ีมกี ารดาเนินกิจกรรมเป็น ทยี่ อมรับในวงวิชาการสาขาตา่ งๆ 5.3 การแลกเปล่ียนทรัพยากรดา้ นคณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษา และ 39 | P a g e

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ อุปกรณ์การเรียนการสอน การวจิ ัย ท่ีจะสง่ ผลใหเ้ กดิ ประสบการณ์การเรยี นรู้ การใช้ ทรัพยากรรว่ มกัน รวมท้ังการไดร้ บั การยกเว้นในเร่ืองค่าธรรมเนียม ค่าใชจ้ ่ายต่างๆ ทจ่ี ะ เปน็ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยและส่วนงาน 5.4 การดาเนนิ กิจกรรมกับสถาบนั ตา่ งประเทศ ทม่ี ีผลต่อการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและ กัน และการพัฒนาความสมั พันธ์อนั ดรี ะหว่างสถาบนั และระหวา่ งประเทศ 5.5 การดาเนนิ กิจกรรมอน่ื โดยความเหน็ ชอบของท่ีประชุมคณะกรรมการบรหิ าร มหาวิทยาลยั หรือสภามหาวทิ ยาลยั ขอ้ 6 กระบวนการในการทาข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการ มีกระการหลัก ดงั น้ี 6.1 การเจรจายกรา่ ง (Initiation) หมายถึง การตกลงกันในเบ้ืองต้นเกีย่ วกับบทบาท หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของแต่ละฝ่าย กิจกรรมความร่วมมอื ระดบั ความรว่ มมือ ระยะเวลา และเง่ือนไขอื่นๆทจี่ ะดาเนนิ การรว่ มกนั 6.2 การยอมรับ (Adoption) หมายถึง การที่ผู้ท่มี ีอานาจ หรือผ้รู ับมอบอานาจ หรือ ผรู้ บั ผิดชอบของทั้งสองฝ่าย พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบร่างร่วมกนั 6.3 การลงนาม (Document signing) หมายถึง การทผ่ี ู้มอี านาจ หรือผรู้ บั มอบอานาจ ท้งั สองฝ่ายลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ 6.4 การต่ออายุ (Renewal) ให้ดาเนนิ การตามกระบวนการเชน่ เดียวกับการจัดทา ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการฉบับใหม่ โดยใหจ้ ัดทารายงานผลการดาเนินงานใน ชว่ งเวลาที่ผ่านมา เพื่อประกอบการพิจารณาในการต่ออายขุ ้อตกลงความร่วมมือทาง วิชาการ ขอ้ 7 ผมู้ อี านาจลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ มดี งั น้ี 7.1 ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระดับมหาวิทยาลัย/สถาบัน ให้อธิการบดีหรือ ผรู้ ับมอบอานาจจากอธกิ ารบดเี ป็นผู้มีอานาจลงนาม 7.2 ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระดับส่วนงาน ให้หัวหน้าส่วนงานเป็นผู้มีอานาจ ลงนาม โดยมีหนังสือมอบอานาจจากอธิการบดี ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นข้อตกลงความ ร่วมมือทางวิชาการท่ีไม่เป็นไปตามแบบร่างข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการมาตรฐาน ตามข้อ 8.1 หรือเป็นร่างข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการท่ีมีความผูกพันด้านกฎหมาย งบประมาณหรือทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสาคัญให้มีหนังสือมอบ อานาจจากอธกิ ารบดีก่อนการลงนาม 7.3 ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการภายใต้การดาเนินงานของศูนย์วิจัยเฉพาะทางให้ อธกิ ารบดีหรอื ผู้รบั มอบอานาจจากอธิการบดี หรอื หวั หน้าสว่ นงานที่ศูนย์วจิ ัยเฉพาะทาง สังกดั ซึ่งได้รับมอบอานาจจากอธิการบดีเป็นผู้มีอานาจลงนาม ข้อ 8 ข้นั ตอนการดาเนินการเพ่ือจดั ทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ มีดงั นี้ 8.1 ให้มหาวิทยาลัยหรือส่วนงาน จัดทาคาขอทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันต่างประเทศ ตามแบบฟอร์มท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด พร้อมท้ังเจรจายกร่างตาม หลักการในข้อ 5 และมีสาระสาคัญของความร่วมมือท่ีเป็นไปตามแบบรา่ งข้อตกลงความ ร่ ว ม มื อ ท างวิ ช าก าร ม าต ร ฐ าน ต าม ที่ ม ห าวิ ท ย าลั ย ก าห น ด ก่ อ น ส่ งไป ที่ ก อ งก าร ต่างประเทศ ทั้งน้ี ส่วนงานท่ีต้องการเสนอร่างข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการท่ีไม่ 40 | P a g e

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ เป็นไปตามแบบร่างตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการประจาส่วนงานก่อน และร่างข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการทุกกรณี ควรมกี าหนดระยะเวลาส้ินสดุ ด้วย 8.2 ให้กองการต่างประเทศตรวจสอบเอกสารและดาเนนิ การขอความเห็นชอบจากฝ่ายท่ี เก่ียวข้อง หากมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแก้ไข ให้ส่วนงาน ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด แล้วเสนอต่ออธิการบดีหรือผู้รับ มอบอานาจจากอธิการบดีเพื่อพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ 8.3 ให้มหาวิทยาลัยหรือส่วนงานที่เสนอขอทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ จัดทา เอกสารข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการฉบับจริง และดาเนินการเกี่ยวกับการลงนาม โดยผู้มีอานาจของท้ังสองฝ่าย และจัดส่งข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการที่ลงนามแล้ว หรอื สาเนาสง่ ไปยงั กองการตา่ งประเทศ ข้อ 9 การทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการที่เป็นการจัดการหลักสูตรร่วมกันระหว่าง สถาบันและการให้ปริญญาร่วมระหว่างสถาบัน จะต้องดาเนินการในระดับมหาวิทยาลัย และตอ้ งได้รบั อนุมัติจากสภาวิชาการและสภามหาวิทยาลัยก่อนลงนามในขอ้ ตกลงความ ร่วมมือทางวิชาการ โดยให้ดาเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการท่ีเกี่ยวข้อง รวมทัง้ ระเบยี บ ประกาศของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม หลักเกณฑ์การรับสมคั รทุนสนับสนุนอาจารย์ผู้เชยี วชาญชาวต่างประเทศเพื่อการสอนและหรือวจิ ัย ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ (International Visiting Scholar) ประกาศมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 33/2563 ) ข้อ 4 ขอ้ กาหนดและเง่ือนไขการขอรับทุนสนับสนนุ คณะผู้ขอรับทุนจะต้องส่งโครงการที่จะเสนอขอรับทุนสนับสนุนอาจารย์หรือ ผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ ที่มาทาการสอนและหรือวิจัย ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เม่ือสิ้นสุดโครงการผู้รับผิดชอบโครงการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติงานภายใน 15 วัน ทั้งน้ี โครงการที่คณะหรือหน่วยงานขอรับการสนับสนุนจะต้องผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการประจาคณะ และต้องเป็นไปตามข้อกาหนดและเง่ือนไข ดงั นี้ 4.1 ผู้ขอรบั ทุน เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้รับผิดชอบโครงการและเป็นเจ้าภาพ (Host) ในการเชิญอาจารย์ หรือผู้เช่ียวชาญชาวต่างประเทศท่ีสังกัดสถาบันต่างประเทศ หรือ ศนู ย์วจิ ัยต่างประเทศ หรอื องค์กรต่างประเทศ โดยมีหนงั สือรับรองสถานภาพ และได้รับ อนุญาตให้เข้าร่วมโครงการฯจากต้นสังกัด หรือสมาคมวิชาชีพท่ีเป็นสมาชิกรับรอง หรือ หนังสือรับรองจากผู้ร่วมวิจัย และผู้ที่เคยรับทุนน้ี ไม่สามารถขอรับทุนในปีงบประมาณ ติดกันได้ 4.2 ระยะเวลาการเข้ารว่ มโครงการ ระบุระยะเวลาเข้ารว่ มโครงการชดั เจน ต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกวา่ 4 สัปดาห์ 4.3 กิจกรรมการเขา้ ร่วมโครงการ จะให้ความสาคัญตามเกณฑต์ วั ชีว้ ัด (KPI) ของแผน ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ดังนี้ 41 | P a g e

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานด้านงานวิเทศสัมพันธ์ 4.3.1 สอนหรือร่วมสอนในรายวชิ าของมหาวิทยาลยั หรือ 4.3.2 สอนและเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาท่ีศึกษา อยใู่ นหลักสูตรร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศ หรือ 4.3.3 สอนและหรือปฏบิ ัติงานวจิ ยั ในหวั ข้อทเ่ี กี่ยวข้องกับสาขาวชิ าที่รับผิดชอบ สอนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น หรือเป็นสว่ นหน่ึงของการสอน โดยมุ่งผลสมั ฤทธ์ิในการ ไดร้ ับการตีพิมพน์ ิพนธ์ตน้ ฉบบั (Manuscript) 4.4 สถานท่ีเข้ารว่ มโครงการ ต้องมาปฏบิ ัติงานที่มหาวิทยาลยั ขอนแก่น จังหวัด ขอนแกน่ หรือวิทยาเขตหนองคาย จงั หวัดหนองคาย ขอ้ 7 หลักเกณฑพ์ จิ ารณาให้ทุนสนับสนนุ 7.1 การพิจารณาให้ทุนน้ันจะให้ความสาคัญกับรูปแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตรแ์ ละตวั ชว้ี ัดของมหาวิทยาลัยก่อน 7.2 พจิ ารณาจากการกระจายคณะหนว่ ยงานเพื่อให้ครอบคลุมและทัว่ ถึง 7.3 หนังสือรับรองสถานภาพ และได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมโครงการจากหน่วยงานต้น สังกัดของอาจารย์หรือผู้เชียวชาญชาวต่างประเทศ หรือสมาคมวิชาชีพท่ีเป็นสมาชิก รบั รอง หรือหนังสอื รับรองจากผ้รู ว่ มวิจัย 7.4 อาจารย์/ผู้เชียวชาญชาวต่างประเทศมาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศ/สถาบัน องค์กรต่างประเทศท่ีมีข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับคณะหรือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นสถาบันท่ีอยู่ในการจัดอันดับโลก จะได้รับการพิจารณา ให้ความสาคญั 7.5 หากมีกิจกรรมด้านวิจัย และมีผลงานการตีพิมพ์ นิพนธ์ต้นฉบับ (Manuscript) จะ ไดร้ บั การพจิ ารณาให้ความสาคัญ 7.6 ผ้สู มัครขอรับทนุ จะต้องส่งเอกสารถูกต้องครบถว้ นตามที่กาหนดไว้ในประกาศฯ 7.7 การขอสละสิทธิ์หรือขอเปล่ียนแปลงวันการเดินทาง ต้องแจ้งต่อมหาวิทยาลัยเป็น ลายลกั ษณอ์ ักษร ลว่ งหน้าอย่างน้อย 15 วนั หลกั เกณฑ์การรับสมัครทนุ สนบั สนนุ การแลกเปล่ยี นอาจารยช์ าวไทยไปสอนและหรือวิจัย ณ ตา่ งประเทศ(Thai Visiting Scholar) ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 45/2563 ) ข้อ 4 ข้อกาหนดและเงื่อนไขการขอรบทุนสนับสนุน โครงการที่ขอรับทุนสนับสนุนการแลกเปลี่ยนอาจารย์ชาวไทยไปสอนและหรือ วิจัย ณ ต่างประเทศ (Thai Visiting Scholar) จะต้องผ่านความเห็ นชอบจาก คณะกรรมการประจาคณะที่ผู้ขอรับทุนสังกัด โครงการท่ีจะเสนอขอรับทุน ต้องเป็น โครงการทุนสนับสนุนอาจารย์ที่ไปทาการสอน และหรือวิจัย ณ สถาบันการศึกษาใน ต่างประเทศ เม่ือสิ้นสุดโครงการผู้รับผิดชอบโครงการจัดส่งรายงานภายใน 15 วัน และ ตอ้ งเปน็ ไปตามข้อกาหนดและเงื่อนไข ดังนี้ 4.1 ผู้ขอรบั ทุน เป็นอาจารย์ชาวไทยสังกัดมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น และต้องบรรจุเพื่อปฏบิ ตั งิ านใน หน่วยงานไมน่ ้อยกว่า 1 ปี นับถึงวนั ปิดรับสมัคร และมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอยา่ งดี 42 | P a g e

คู่มือการปฏบิ ตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ โดยจะต้องมโี ครงการสอนและหรอื วิจยั แผนการดาเนินงาน ทมี่ ีวัตถุประสงค์และผลงาน ท่เี ปน็ รปู ธรรมชัดเจน ตามระยะเวลาที่กาหนด มีกาหนดการเดินทางแน่นอน และผทู้ ี่ เคยไดร้ ับทุนน้ี ไมส่ ามารถขอรับทนุ ในปีงบประมาณติดกนั ได้ 4.2 ระยะเวลาการเข้ารว่ มโครงการ ระบรุ ะยะเวลาเข้ารว่ มโครงการชัดเจน ต้องมรี ะยะเวลาไม่น้อยกวา่ 4 สัปดาห์ 4.3 กจิ กรรมการเขา้ รว่ มโครงการ จะใหค้ วามสาคัญตามเกณฑ์ตัวช้วี ัด (KPI) ของแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดังนี้ 4.3.1 สอนหรอื ร่วมสอนในรายวิชาของมหาวิทยาลยั หรือ 4.3.2 สอนและเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ศึกษา อยใู่ นหลักสตู รร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแกน่ กบั สถาบันการศึกษาต่างประเทศ หรือ 4.3.3 สอนและหรือปฏิบัติงานวิจัยในหัวข้อท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาท่ีรับผิดชอบ ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น หรือเป็นส่วนหน่ึงของการสอน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการได้รับ การตพี ิมพน์ พิ นธ์ต้นฉบับ (Manuscript) ขอ้ 7 หลักเกณฑ์พิจารณาใหท้ ุนสนับสนนุ 7.1 การพิจารณาให้ทุนนัน้ จะให้ความสาคัญกับรปู แบบกิจกรรมทสี่ อดคล้องกับแผน ยทุ ธศาสตร์และตวั ชว้ี ัดของมหาวทิ ยาลยั ก่อน 7.2 พิจารณาจากการกระจายคณะหน่วยงานเพื่อให้ครอบคลุมและท่วั ถึง 7.3 ต้องมีจดหมายได้รบั การตอบรับ ให้ไปทากจิ กรรมตามท่ีระบุไวใ้ นโครงการทีส่ มคั ร ขอรับทุน 7.4 ผสู้ มคั รรับทุนสนับสนุนเพื่อไปปฏบิ ตั ิงาน ณ มหาวทิ ยาลยั /สถาบนั องค์กร ต่างประเทศทีม่ ีข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการ (MOU) กับคณะหรือ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น และเป็นสถาบนั ที่อยู่ในการจัดอันดับโลก จะได้รับการพิจารณา ใหค้ วามสาคัญ 7.5 หากมีกจิ กรรมที่ต้องไปวิจยั และมีผลงานการตีพิมพ์ นิพนธต์ น้ ฉบับ (Manuscript) จะไดร้ ับการพจิ ารณาให้ความสาคญั 7.6 ผสู้ มคั รขอรับทุนจะต้องส่งเอกสารถูกต้องครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในประกาศฯ 7.7 การขอสละสิทธ์หิ รือขอเปล่ียนแปลงวนั การเดินทาง ต้องแจง้ ต่อมหาวทิ ยาลยั เป็น ลายลักษณ์อักษร ล่วงหนา้ อย่างนอ้ ย 15 วัน หลักเกณฑ์รับสมัครคัดเลือกนักศึกษาเภสชั ศาสตรเ์ ขา้ ร่วมโครงการฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพ ณ ตา่ งประเทศ ระดับปริญญาตรี ประกาศคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบบั ท่ี 42/2562 ) รายละเอียด ประกาศรับสมัครคัดเลือกนักศึกษาเภสัชศาสตร์ เข้าร่วมโครงการฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ณ สาคญั ต่างประเทศ ระดบั ปรญิ ญาตรี ระหว่างคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น กับ สถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศ กาหนดคุณสมบัติ ดงั นี้ 1) เปน็ นักศึกษาช้ันปีท่ี 5 คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีคะแนนเฉลี สะสม 43 | P a g e

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพันธ์ 2) ของวิชาท่ีใช้สาเร็จการศึกษาจนถงึ ภาคการศึกษาสุดท้ายไม่ต่ากวา่ 2.00 3) มีความพร้อมในการทจี่ ะเดินทางไปฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพหรือศึกษาดูงาน ณ ต่างประเทศตามท่ีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ กาหนด 4) เปน็ ผูท้ ม่ี ีความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษในระดับดี ทั้งด้านการพดู และการ เขยี น ผทู้ ีม่ ผี ลการสอบภาษาอังกฤษ TOEIC หรือ IELTS หรือ TOEFL หรือผลการ สอบภาษาองั กฤษอื่นๆท่ีเทยี บเทา่ ในเกณฑด์ ี 5) สามารถรับผิดชอบค่าใชจ้ ่ายสมทบ นอกเหนือจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ให้การสนบั สนุน เช่น ค่าประกันสุขภาพ ค่าใชจ้ ่ายในการ จดั ทาหนังสือเดินทางและวซี ่า และอื่นๆ 44 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ บทที่ 4 ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน (Flow Chart) การปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ต้องมีเทคนิคและข้ันตอนในการปฏิบัติงานถือเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะ ทาให้องค์กรสามารถประสบผลสาเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ โดยผู้จัดทาเห็นว่าการจัดทา กระบวนการขั้นตอนของงานเป็นเทคนิคที่สาคัญต่อการปฏิบัติงานดา้ นวิเทศสัมพันธ์ ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงาน จะต้องเข้าใจกระบวนงานท้ังหมดและเปน็ ผู้จัดดาเนินการ จากน้ัน จดั ทารายละเอียดข้นั ตอนเสนอผู้บริหารที่ เกี่ยวข้องเพ่ือพิจารณากระบวนงานตามภารกิจของงานด้านวิเทศสัมพันธ์ เมื่อได้รับความเห็นชอบ ก็จะ นาเสนอแจ้งผู้ท่เี กีย่ วข้องทราบ และนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป 4.1 ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงาน (Flow Chart) ในการปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้จัดทามีหลักเกณฑ์ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งได้จาแนกเป็นกระบวนงานหลักตามภารกิจของงานด้านวิเทศสัมพันธ์ จานวน 7 กระบวนงาน และได้จัดทาข้ันตอนการปฏิบัติ (Flow Chart) ประกอบให้เห็นกระบวนการวธิ ีการปฏิบัติในแต่ กระบวนการ ดังต่อไปน้ี 4.1.1 กระบวนงานด้านนักศกึ ษาแลกเปลี่ยนต่างประเทศ (Inbound- Outbound) 4.1.1.1 ปฏบิ ัตงิ านด้านการฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชีพ ณ ต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัช ศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ชนั้ ปีที่ 6 (Outbound) 4.1.1.2 ปฏิบตั งิ านในรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพในตา่ งประเทศสาหรับนักศึกษา เภสัชศาสตร์ 4.1.1.3 ปฏิบตั ิงานดา้ นนักศึกษาแลกเปล่ียนไปต่างประเทศ (Outbound) 4.1.1.4 ปฏิบตั งิ านดา้ นการรบั นักศึกษาแลกเปลี่ยนมาจากต่างประเทศ (Inbound) 4.1.2 กระบวนงานด้านการจัดทาข้อตกลงความรว่ มมือทางวชิ าการ (MOU) กับสถาบัน ต่างประเทศ 4.1.3 กระบวนงานดา้ นการรบั รองอาคันตุกะชาวต่างประเทศ 4.1.4 กระบวนงานดา้ นการขอวีซ่าไปต่างประเทศ 4.1.5 กระบวนงานด้านการขอวีซ่าเพื่อพานกั ในประเทศไทยและการต่ออายวุ ซี า่ สาหรับ นกั ศกึ ษาชาวตา่ งชาติ 4.1.6 กระบวนงานดา้ นพธิ ีการเกีย่ วกับงานวเิ ทศสัมพันธ์ 4.1.6.1 พธิ กี ารลงนามขอ้ ตกลงความร่วมมอื 4.1.6.2 พธิ ีการรบั รองอาคันตุกะชาวมุสลมิ 4.1.7 กระบวนงานดา้ นทุนสาหรับอาจารย์ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ 4.1.7.1 ดา้ นทนุ สาหรับอาจารย์ชาวไทยไปต่างประเทศ (Outbound) 4.1.7.2 ดา้ นทุนสาหรับอาจารย์ชาวตา่ งประเทศมาประเทศไทย (Inbound) 45 | P a g e

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน (Flow Chart) 4.1.1 กระบวนงานด้านนกั ศึกษาแลกเปลีย่ นตา่ งประเทศ (Inbound- Outbound) แผนภาพท่ี 5 (4.1.1.1) ปฏิบัตงิ านด้านการฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชีพ ณ ต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ชนั้ ปที ี่ 6 (Outbound) ข้นั ตอน ช่วงเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ/ผู้ท่ี ระยะเวลา สารสนเทศ เก่ียวข้อง ดาเนนิ การ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เร่ิมตน้ ขออนุมตั จิ ัดโครงการ ตลุ าคม เจา้ หน้าท่ีปฏิบตั ิงาน 2 – 3 วัน ประกาศรับสมคั รนกั ศึกษา ดา้ นวิเทศสัมพนั ธ์ พจิ ารณาใบ ตุลาคม – เจา้ หนา้ ที่ปฏบิ ัติงาน 30 วัน ขอ้ มูลวิธีการ สมคั ร พฤศจกิ ายน ด้านวิเทศสัมพนั ธ์ สมัคร เอกสาร ประกอบการ สมัคร ธันวาคม เจา้ หน้าทป่ี ฏิบตั งิ าน 7 วัน ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์/ ผบู้ ริหารดา้ นวิเทศ สมั พันธ์ จดั เตรยี มก่อนการสัมภาษณ์ มกราคม เจา้ หน้าท่ีปฏิบัตงิ าน 3 – 5 วนั แบบฟอร์ม สอบสัมภาษณ์นักศกึ ษา มกราคม ดา้ นวิเทศสัมพันธ์/ ทาการ คะแนน รวบรวมการสัมภาษณ์ มกราคม ฝ่ายกายภาพ สัมภาษณ์/ 3-4 วัน เกณฑ์ เจา้ หน้าท่ีปฏิบัตงิ าน ดา้ นวิเทศสมั พนั ธ์/ 1 – 2 วัน แบบฟอร์ม คณะกรรมการสอบ ทาการ คะแนน สัมภาษณ์ สมั ภาษณ์ เจา้ หนา้ ทป่ี ฏิบัตงิ าน ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ คัดเลือก มกราคม เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิงาน 3 – 4 วนั นกั ศึกษา ดา้ นวิเทศสัมพนั ธ์/ ทาการ คณะกรรมการสอบ สมั ภาษณ์ 46 | P a g e

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพันธ์ ข้นั ตอน ชว่ งเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ/ผูท้ ่ี ระยะเวลา สารสนเทศ ประกาศผลการคัดเลือก มกราคม เกย่ี วข้อง ดาเนินการ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จดั นกั ศึกษาลงแหล่งฝกึ เจ้าหนา้ ทป่ี ฏิบตั ิงาน 2-3 วันทา ติดต่อแหล่งฝึก ดา้ นวิเทศสัมพนั ธ์ การ ด้านการย่ืนวีซา่ ตา่ งประเทศ กุมภาพันธ์ เจา้ หน้าทีป่ ฏิบตั งิ าน 15 – 20 ขอ้ มูลแหล่ง สาหรับนกั ศกึ ษา ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ วนั ทาการ ฝกึ งานใน เมษายน – ต่างประเทศ/ พิจารณาเงินทุน พฤษภาคม เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ตั งิ าน Letter of สนับสนุน ด้านวเิ ทศสัมพันธ์/ Acceptance กองการต่างประเทศ เตรียมการก่อนปฐมนเิ ทศ 8 – 10 วนั ขั้นการขอวซี า่ ทาการ แตล่ ะประเทศ/ ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษา หนงั สอื รบั รองวี ซา่ จาก มข. นักศึกษาส่งเอกสารประกนั พฤษภาคม เจา้ หนา้ ทปี่ ฏบิ ัตงิ าน 5 – 7 วนั หลกั การ นกั ศกึ ออกฝึกงานตา่ งประเทศ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์/ ทาการ สนบั สนุน ฝ่ายกองทนุ เฉลว เงินทุนให้ 3 – 4 วัน นกั ศกึ ษา มิถุนายน เจา้ หน้าทป่ี ฏิบตั ิงาน ทาการ โครงการ ดา้ นวเิ ทศสมั พันธ์ ฝึกงาน ตา่ งประเทศ มิถุนายน เจา้ หน้าทีป่ ฏบิ ตั งิ าน 1 วนั ทา มถิ ุนายน ด้านวิเทศสมั พนั ธ์/ การ ผู้บรหิ าร/ วิทยากร 5 วนั ทา เจ้าหนา้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน การ ดา้ นวเิ ทศสมั พนั ธ์/ นักศกึ ษา กรกฎาคม – เจา้ หน้าที่ปฏิบัตงิ าน 6 สปั ดาห์ มกราคม ด้านวิเทศสัมพนั ธ์ หรอื 3 (ของปี เดือน ถัดไป) 47 | P a g e

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ ขนั้ ตอน ชว่ งเวลา ผู้รับผดิ ชอบ/ผู้ท่ี ระยะเวลา สารสนเทศ เตรียมการก่อนจัดนาเสนอ มกราคม เก่ยี วข้อง ดาเนนิ การ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ผลการฝึกงาน เจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ัตงิ าน 3 – 5 วัน ด้านวิเทศสัมพนั ธ์ ทาการ นาเสนอหลังเสรจ็ ส้นิ การฝึกงาน มกราคม เจ้าหน้าท่ปี ฏิบตั งิ าน 1 วันทา แบบ สง่ แบบประเมินใหฝ้ ่าย ดา้ นวเิ ทศสมั พนั ธ์ การ ประเมินผลการ พฒั นาวิชาชีพ นาเสนอ มกราคม เจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ าน 3 – 5 วนั แบบ ด้านวิเทศสมั พนั ธ์/ฝ่าย ทาการ ประเมนิ ผลการ พฒั นาวิชาชพี นาเสนอ สรุปและรายงานผลการดาเนินการจัด กุมภาพนั ธ์ เจา้ หนา้ ที่ปฏิบัติงาน ภายใน 30 แบบฟอรม์ โครงการฝกึ งานต่างประเทศ – มีนาคม ดา้ นวิเทศสมั พนั ธ์/ฝา่ ย วันทาการ รายงานผลการ แผน ดาเนนิ สน้ิ สุด โครงการ/ กิจกรรม 48 | P a g e

คมู่ อื การปฏิบัตงิ านดา้ นงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ แผนภาพที่ 6 ( 4.1.1.2) ปฏิบัตงิ านในรายวิชาประสบการณ์วิชาชพี ในต่างประเทศสาหรบั นักศึกษา เภสัชศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ช้นั ปที ี่ 2 และ 3 (Outbound) ขั้นตอน ผู้รับผดิ ชอบ/ผู้ท่ี ระยะเวลา สารสนเทศ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เกีย่ วข้อง ดาเนินการ เร่มิ ต้น ขออนุมัตจิ ดั โครงการ เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ัติงาน 1-2 วันทาการ - ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ รับสมคั รนกั ศึกษา เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ตั ิงาน เตรยี มการ 1- สรปุ ข้อมลู การสมัคร ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ 2 วนั ทาการ เปิดรบั สมคั ร เจ้าหน้าทป่ี ฏิบตั ิงาน 1 เดือน ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ 1-2 วันทาการ เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงาน 1-2 วันทาการ แบบฟอร์ม การคดั เลือก ด้านวิเทศสัมพันธ์/ ให้คะแนน/ กรรมการ แบบประเมิน การจดั เรียนการสอน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 7 - 10 หนงั สือ (ในประเทศ) ด้านวิเทศสัมพันธ/์ วันทาการ ราชการ หน่วยงานต่างๆ ที่ ภายนอก/ ด้านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกย่ี วข้อง ภายใน ณ ตา่ งประเทศ เจ้าหน้าที่ปฏบิ ตั ิงาน ระยะเวลา การนาเสนอผลการแลกเปลี่ยน ด้านวิเทศสัมพันธ์ เตรียมการ ประสบการณ์ตา่ งประเทศ 1-2 เดือน สรุปผล เจ้าหน้าที่ปฏบิ ตั ิงาน 1-2 วันทาการ ส้นิ สุด ด้านวเิ ทศสัมพันธ์/ ผู้ท่ี เกีย่ วข้อง เจ้าหน้าที่ปฏบิ ัติงาน 5-7 วันทาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ 49 | P a g e

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานดา้ นงานวิเทศสัมพนั ธ์ แผนภาพท่ี 7 ( 4.1.1.3) ปฏิบัติงานด้านนักศกึ ษาแลกเปลีย่ นไปต่างประเทศ (Outbound) ขัน้ ตอน ผู้รับผดิ ชอบ/ผู้ที่ ระยะเวลา สารสนเทศ ทเี่ ก่ยี วข้อง เกีย่ วข้อง ดาเนนิ การ เร่มิ ตน้ หลงั ได้รับแจง้ จากกองการต่างประเทศเรอ่ื ง เจา้ หน้าทป่ี ฏิบัติงาน 1 วันทาการ - ประชาสมั พันธ์รบั สมัครนักศึกษา ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ เสนอคณบดี เจ้าหน้าท่ีปฏิบตั ิงาน 1-2 วันทาการ เพอ่ื พิจารณา ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ ประชาสมั พันธ์ให้นักศกึ ษาทราบ/ รับสมัคร แบบฟอร์ม นกั ศึกษาเข้าร่วมโครงการ เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติงาน 5-7 วันทาการ ใบสมัคร ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ คัดเลอื กโดยวธิ ีการ เจา้ หน้าที่ปฏบิ ัติงาน 1-2 วนั ทาการ แบบฟอร์ม สอบสมั ภาษณ์ ด้านวิเทศสัมพันธ/์ ใหค้ ะแนน หน่วยงานต่างๆ ที่ สัมภาษณ์ เกี่ยวข้อง เสนอขอรบั รองจาก เจา้ หน้าที่ปฏบิ ัติงาน 3-5 วนั ทาการ คณะกรรมการประจา ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ คณะเภสชั ศาสตร์ เจ้าหน้าทป่ี ฏิบตั ิงาน 1-2 วนั ทาการ สง่ รายชื่อผสู้ มัคร ด้านวิเทศสัมพันธ์ ไปยงั กองวิเทศสัมพันธ์ เจา้ หน้าที่ปฏบิ ัติงาน 1-2 วันทาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ แจง้ ผลการรับทุน 50 | P a g e ส้ินสุด

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานดา้ นงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ แผนภาพท่ี 8 ( 4.1.1.4) ปฏิบัตงิ านด้านการรบั นักศกึ ษาแลกเปลย่ี นมาจากต่างประเทศ (Inbound) ขน้ั ตอน ผ้รู ับผดิ ชอบ/ผู้ท่ี ระยะเวลา สารสนเทศ เก่ยี วข้อง ดาเนนิ การ ทเี่ กยี่ วข้อง เร่ิมตน้ ได้รับอีเมล/์ หนังสือจากมหาวิทยาลัย เจา้ หน้าที่ปฏิบตั ิงาน 1 วนั - ตา่ งประเทศทีม่ ีความต้องการส่ง ด้านวิเทศสัมพันธ์ นกั ศกึ ษามาแลกเปลี่ยน เสนอคณดี เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ัติงาน 1-2 วนั ทาการ เพือ่ พิจารณา ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ เห็นชอบ เจา้ หน้าท่ปี ฏิบตั ิงาน 1-2 วันทาการ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ ตอบรับไปยังมหาวิทยาลัยตา่ งประเทศ เตรยี มการก่อนการรับนกั ศึกษา เจ้าหน้าที่ปฏบิ ัติงาน 7 - 10 วนั ทา หนงั สือ แลกเปล่ียน ดา้ นวิเทศสัมพันธ์/ การ ราชการ หนว่ ยงานต่างๆ ที่ ภายนอก/ ช่วงนกั ศึกษามาแลกเปล่ียน เก่ยี วข้อง 3-4 วนั ภายใน สิ้นสุดกิจกรรม ส่งนกั ศึกษากลับ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ประเทศ ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ ส้ินสุด เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ัติงาน 1 – 2 วันทา ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ การ 51 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน (Flow Chart) แผนภาพท่ี 9 (4.1.2) กระบวนงานด้านการจดั ทาข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการ (MOU)กับสถาบัน ตา่ งประเทศ ข้นั ตอน ผู้รับผดิ ชอบ/ผ้ทู ี่ ระยะเวลา เก่ยี วข้อง ดาเนนิ การ เร่มิ ตน้ ทาบทาม เจรจาจัดทาข้อตกลง เจา้ หน้าท่ีปฏิบัติงาน 1 วันทาการ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ ยกรา่ งขอ้ ตกลง เจา้ หน้าที่ปฏิบัติงาน พิจารณาร่างข้อตกลง ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ เจ้าหน้าท่ีปฏบิ ตั ิงาน 1-2 วันทา ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ การ ขอ้ ตกลงทมี่ เี นอื้ หา เห็นชอบทง้ั สองฝ่าย ขอ้ ตกลงที่มเี นื้อหา สาระไมเ่ ปน็ ตามรา่ งที่ สาระตามร่างที่ มหาวิทยาลัยกาหนด มหาวิทยาลัยกาหนด เสนอขอความเหน็ ชอบ เจา้ หน้าท่ปี ฏบิ ตั ิงาน 7 - 10 วนั ต่อคณะกรรมการประจาคณะ ดา้ นวิเทศสัมพันธ์/ ทาการ ผู้ท่เี กี่ยวข้อง เหน็ ชอบ เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติงาน 3-4 วนั ทา เสนอกองการตา่ งประเทศ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ การ มหาวิทยาลัยพิจารณา และให้ความเห็นชอบ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิงาน 3-4 วนั ด้านวิเทศสัมพันธ์ คณะกรรมการประจา คณะ เห็นชอบ 52 | P a g e เสนอความเห็นชอบจาก อธิการบดแี ละขอหนงั สือรบั มอบอานาจในการลงนาม เห็นชอบ

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ ผู้รับผดิ ชอบ/ผทู้ ี่ ระยะเวลา เกย่ี วข้อง ดาเนินการ ขน้ั ตอน เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ตั ิงาน 1 วันทาการ ดาเนินการลงนามข้อตกลง ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ เก็บขอ้ ตกลงในแฟม้ ขอ้ มูล/ สง่ สาเนาข้อตกลงให้ เจ้าหน้าทปี่ ฏิบัติงาน 1-2 วนั ทา ฝา่ ยการตา่ งประเทศ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ การ สิ้นสดุ 53 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบัติงานดา้ นงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน (Flow Chart) แผนภาพที่ 10 (4.1.3) ด้านการรับรองอาคันตกุ ะชาวต่างประเทศ ขน้ั ตอน ผู้รับผดิ ชอบ/ผ้ทู ่ี ระยะเวลา สารสนเทศ ดาเนนิ การ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เกย่ี วข้อง เรม่ิ ต้น เจา้ หน้าทป่ี ฏิบตั ิงาน 1 วัน - ตอบรบั ไปยังมหาวิทยาลัยตา่ งประเทศ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ เสนอคณบดี เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ัติงาน 1-2 วันทาการ พจิ ารณา ด้านวิเทศสัมพันธ์ เหน็ ชอบ เจ้าหน้าทปี่ ฏิบตั ิงาน 1-2 วันทาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ ตอบรับไปยังมหาวิทยาลัยตา่ งประเทศ เตรยี มการก่อนการรบั รองอาคนั ตกุ ะ เจ้าหน้าที่ปฏบิ ัติงาน 7 - 10 วนั ทา หนงั สือ ด้านวิเทศสัมพันธ/์ การ ราชการ ช่วงที่อาคนั ตุกะพานกั ในประเทศไทย หน่วยงานต่างๆ ภายนอก/ สิ้นสุดกิจกรรม ส่งอาคันตุกะกลับ ภายใน ประเทศ เจ้าหน้าท่ีปฏบิ ัติงาน 3-4 วัน ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ 1 – 2 วนั ทา เจ้าหน้าท่ีปฏบิ ัติงาน การ ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ สน้ิ สดุ 54 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบตั งิ านดา้ นงานวิเทศสัมพันธ์ ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) แผนภาพท่ี 11 (4.1.5) ดา้ นการขอวซี า่ ไปต่างประเทศ หนังสือนาจากกระทรวงการต่างประเทศ ขั้นตอน ผู้รบั ผิดชอบ/ผู้ที่ ระยะเวลา สารสนเทศ ทเี่ กยี่ วข้อง เกี่ยวข้อง ดาเนินการ เร่มิ ต้น ได้รับการแจ้งจากอาจารย์ บุคลากร เจา้ หน้าทีป่ ฏบิ ตั ิงาน 1 วัน - ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ สง่ เอกสารให้งานประสานงาน เจ้าหน้าทป่ี ฏิบัติงาน 2-3 วนั ทาการ หนังสือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ ผ้ทู ี่ อนุมัติตวั งานประสานงาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น เกย่ี วข้อง บุคคล และ สง่ เอกสารกลับ อ่ืนๆ การสมคั รวซี ่าต่างประเทศ เจ้าหน้าทปี่ ฏบิ ตั ิงาน 3-5วันทาการ หนงั สือ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ และ อนมุ ัติตัว ผูท้ เี่ ก่ียวข้อง บุคคล และ อนื่ ๆ เจา้ หน้าทป่ี ฏิบัติงาน 1-2 วันทาการ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์/ หน่วยงานต่างๆ ท่ี เกี่ยวข้อง เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ัติงาน 3-5วนั ทาการ ด้านวิเทศสัมพันธ์ สน้ิ สดุ 55 | P a g e

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานดา้ นงานวิเทศสัมพนั ธ์ แผนภาพท่ี 12 (4.1.5) กระบวนงานด้านการขอวซี ่าเพ่อื พานักในประเทศไทยเป็นครง้ั แรก (นักศึกษาอยูต่ ่างประเทศ) ขัน้ ตอน ผรู้ บั ผดิ ชอบ/ผูท้ ่ี ระยะเวลา สารสนเทศ ท่ีเกยี่ วข้อง เกย่ี วข้อง ดาเนินการ เร่มิ ตน้ ขอหนังสือตอบรับเข้าศกึ ษาและ เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติงาน 2-3 วนั ทาการ บนั ทึกขอ หนงั สือถึงสถานฑูตไทยในตา่ งประเทศ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ หนังสือตอบ จากกองการต่างประเทศ รับ ไดร้ ับสง่ หนังสือจาก เจ้าหน้าทป่ี ฏบิ ัติงาน 5-7 วนั ทาการ กองการตา่ งประเทศ ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ สง่ หนงั สือใหน้ กั ศึกษาชาวต่างชาติ เจา้ หน้าท่ปี ฏบิ ตั ิงาน 3-5 วนั ทาการ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ นกั ศึกษาไปย่ืนสมคั รขอวีซ่า ณ สถานฑูตไทยในตา่ งประเทศ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิงาน 5-7 วันทาการ ด้านวิเทศสัมพันธ์/ ข้ึนอยู่ สิน้ สดุ นักศึกษาต่างชาติ ระยะเวลาของ แต่ละประเทศ 56 | P a g e

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านดา้ นงานวเิ ทศสัมพันธ์ แผนภาพท่ี 13 (4.1.5) กระบวนงานด้านการขอต่อวีซ่าเพ่อื พานกั ในประเทศไทยสาหรับ นักศกึ ษาชาวตา่ งชาติ ข้ันตอน ผรู้ ับผดิ ชอบ/ผทู้ ี่ ระยะเวลา สารสนเทศ ท่ีเก่ียวข้อง เกี่ยวข้อง ดาเนนิ การ เร่มิ ต้น ได้รบั เอกสารนักศึกษาย่ืนแบบฟอร์ม เจา้ หน้าที่ปฏิบัติงาน 1-2 วันทาการ แบบฟอร์ม ขอหนังสือนาเพ่ือต่ออายุวซี า่ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ และเอกสาร ประกอบ ทาบันทึกถึงกองการต่างประเทศ เจ้าหน้าท่ีปฏิบตั ิงาน 2-3 วันทาการ เพอ่ื ขอหนังสือนา ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ กองการตา่ งประเทศ เจา้ หน้าทป่ี ฏิบัติงาน 5-7 วนั ทาการ สง่ หนังสือนาใหค้ ณะ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ แจ้งนกั ศกึ ษาให้มารับหนังสือนา เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ตั ิงาน 1-2 วันทาการ นักศึกษาดาเนินการต่อวซี ่า ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ สิ้นสดุ เจ้าหน้าทป่ี ฏบิ ตั ิงาน 1 วนั ทาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์/ นกั ศึกษาต่างชาติ 57 | P a g e

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน (Flow Chart) 4.1.6 กระบวนงานด้านพธิ ีการเกีย่ วกับงานวเิ ทศสัมพันธ์ แผนภาพท่ี 14 (4.1.6.1) พิธีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ข้นั ตอน ผูร้ บั ผิดชอบ/ผู้ที่ ระยะเวลา สารสนเทศ ดาเนนิ การ ทเี่ กย่ี วข้อง เกย่ี วข้อง เร่ิมต้น ช่วงเตรียมการก่อนพิธีลงนามขอ้ ตกลง เจา้ หน้าท่ปี ฏิบตั ิงาน 2-3 วันทาการ ร่าง ความร่วมมือทางวิชาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ /ผู้ที่ ดาเนนิ ก่อนพธิ ี ขอ้ ตกลง/ ลงนาม 2 เกยี่ วข้อง สปั ดาห์ บนั ทึก ข้อความ ชว่ งพิธีลงนามลงนามข้อตกลงความ เจา้ หน้าทีป่ ฏิบัติงาน 1-2 วันทาการ รว่ มมือทางวิชาการ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ ช่วงหลังพิธีลงนามข้อตกลง เจ้าหน้าท่ีปฏิบตั ิงาน 1-2 วนั ทาการ ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านวิเทศสัมพันธ์ สน้ิ สดุ 58 | P a g e

คมู่ ือการปฏิบตั งิ านดา้ นงานวิเทศสัมพันธ์ แผนภาพท่ี 15 (4.1.6.2) พิธีการรับรองอาคนั ตุกะชาวมสุ ลมิ ขนั้ ตอน ผู้รบั ผดิ ชอบ/ผู้ที่ ระยะเวลา สารสนเทศ ดาเนินการ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เกีย่ วข้อง เริม่ ตน้ เจา้ หน้าที่ปฏิบตั ิงาน 2-3 วันทาการ ด้านวิเทศสัมพันธ์ /ผ้ทู ่ี การละหมาดและการเตรียมสถานที่ เกี่ยวข้อง ละหมาด การจัดเวลานดั หมาย เจา้ หน้าทปี่ ฏิบตั ิงาน 1-2 วนั ทาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ การจดั อาหารและเคร่อื งด่ืม/ เจ้าหน้าทป่ี ฏิบัติงาน 1 วันทาการ การเล้ียงรบั รอง ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ การนาทัศนศึกษา เจา้ หน้าที่ปฏิบัติงาน 1-2 วันทาการ ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ สนิ้ สดุ 59 | P a g e

คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านด้านงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) 4.1.7 กระบวนงานด้านทนุ สาหรบั อาจารย์ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ แผนภาพท่ี 16 (4.1.7.1) ดา้ นทุนสาหรบั อาจารย์ชาวไทยไปตา่ งประเทศ (Outbound) ข้นั ตอน ผูร้ ับผิดชอบ/ผทู้ ี่ ระยะเวลา สารสนเทศที่ เก่ียวข้อง เกีย่ วข้อง ดาเนินการ เร่ิมต้น เตรียมการ โดยไดร้ ับแจ้งจากกองการ เจา้ หน้าที่ปฏบิ ตั ิงาน 2-3 วันทาการ ประกาศ ต่างประเทศเร่ืองประชาสัมพันธ์รบั ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลยั สมคั รอาจารย์เขา้ รับทนุ เสนอคณบดีพจิ ารณา เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงาน 1-2 วนั ทาการ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ เสนอขอรับรองจาก เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ตั ิงาน 1 วนั ทาการ คณะกรรมการประจา ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ เจา้ หน้าท่ปี ฏบิ ตั ิงาน 1-2 วนั ทาการ เหน็ ชอบ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ รวบรวม/ส่งรายชื่อผู้สมคั รไปยงั เจา้ หน้าที่ปฏิบัติงาน 1-2 วันทาการ กองการต่างประเทศ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ แจ้งผลให้อาจารยผ์ ้สู มคั รขอรบั ทุน ส้นิ สุด 60 | P a g e

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านด้านงานวิเทศสัมพันธ์ แผนภาพท่ี 17 (4.1.7.2) ดา้ นทุนสาหรบั อาจารยช์ าวต่างประเทศมาประเทศไทย ขัน้ ตอน ผูร้ บั ผิดชอบ/ผ้ทู ่ี ระยะเวลา สารสนเทศ ดาเนินการ ที่เก่ยี วขอ้ ง เก่ยี วข้อง เร่ิมต้น เตรียมการด้านใบสมัครและเอกสาร เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติงาน 5-7 วันทาการ แบบฟอร์ม ประกอบการสมคั ร ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ ใบสมัคร เสนอคณบดีพิจารณา เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงาน 1-2 วันทาการ ดา้ นวิเทศสัมพันธ์ เสนอขอรับรองจาก เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ตั ิงาน 3-5 วนั ทาการ คณะกรรมการประจา ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ เจ้าหน้าทป่ี ฏิบตั ิงาน 1-2 วันทาการ เห็นชอบ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ ส่งใบสมคั รและเอกสารประกอบการ สมัครขอทุนไปกองการตา่ งประเทศ เจ้าหน้าทปี่ ฏิบัติงาน 1-2 วนั ทาการ ดา้ นวเิ ทศสัมพันธ์ ด้านการรับรองชาวตา่ งชาติ 3-5 วันทาการ แบบฟอร์ม (กรณไี ด้รบั ทนุ ) เจา้ หน้าที่ปฏิบตั ิงาน การรายงาน/ ด้านวเิ ทศสัมพันธ์ แบบฟอร์ม รายงานผล เบิกจา่ ย การเบิกจ่าย ส้นิ สุด 61 | P a g e

คูม่ อื การปฏิบัติงานด้านงานวิเทศสัมพนั ธ์ 4.2 การติดตามผลการปฏิบัตงิ าน มีการติดตามผลการปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ เทียบกับข้ันตอนการ ปฏิบัติงาน ตามกระบวนงานแต่ละงาน ตามมาตรฐานข้อกาหนด มาตรฐานระยะเวลา มาตรฐานเชิง คุณภาพ เช่น ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ความผิดพลาด โดยกาหนดให้มีการติดตามผลการปฏิบัติงาน เป็นรายไตรมาส ทั้งน้ี เพอื่ ช่วยตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของงาน ลดข้อผดิ ผลาด ลดความเสยี หายของงาน ทอี่ าจเกิดขน้ึ 62 | P a g e

คูมอื การปฏิบัตงิ านดานงานวเิ ทศสัมพันธ บทที่ 5 ปญหา อปุ สรรค แนวทางแกไขและการพฒั นางาน การปฏิบัติงานดานวิเทศสัมพันธ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ดําเนินงานเปนไปตาม หลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติของมหาวิทยาลัยขอนแกน และคณะเภสัชศาสตร มีความสอดคลองกับกฎ ระเบียบ ประกาศและเกณฑตางๆ โดยหนาที่หลักของผูปฏิบัติงานดานวิเทศสัมพันธจะตองดําเนินการให ครอบคลุมตามหลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพเพอื่ ใหเกิดผลสําเร็จของการ ดําเนินงาน จากการปฏิบัติงานดานวิเทศสัมพันธที่ผานมา พบวา การดําเนินงานในแตละกระบวนงานยังมี ปญหาและความคลาดเคล่ือนที่อาจพบไดในการปฏิบัติงาน ดังน้ัน ในฐานะผูปฏิบัติงานดานวิเทศสัมพันธ จึงขอวิเคราะหขอมูลจากผลการดําเนินงานที่ผานมา นํามาเสนอประเด็นปญหา ตลอดทั้งแนวทางการการ แกไขและขอเสนอแนะในการพัฒนางาน เพ่ือท่ีจะใหการดาํ เนนิ งานในแตล ะขั้นตอนบรรลขุ อกําหนดทส่ี ําคัญ ของกระบวนงาน และมาตรฐานงานในแตละขั้นตอนเปนสําคัญและสามารถแกไขปญหาจากการปฏิบัติ ในแตล ะขนั้ ตอนไดจริง ซง่ึ จะเปน ประโยชนในการบริหารจัดการภายในองคก ร ดังนี้ 5.1 ปญ หาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน 5.1.1 ปญ หาเชิงระบบ 1) งานดานวิเทศสัมพันธเปนงานท่ีมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิงสําหรับสวนงานตางๆ ที่ตองมีเพ่ือรองรับงานดานการตางประเทศ และมีหนาที่ในการสงเสรมิ ใหเกิดการแลกเปล่ียนทางวิชาการ และทําหนาท่ีประสานงานบริการดานตางๆ เก่ียวกับภารกิจงานดานวิเทศสัมพันธสําหรับคณาจารย บุคลากร และนักศึกษาภายในคณะ ตลอดท้ังการประสานงานกับสวนงานภายนอกคณะและ สถาบันการศึกษาตางประเทศ ท่ีผานมาการปฏิบัติงานดานวิเทศสัมพันธพบวาการดําเนินงานยังไมเปนเชิง ระบบ โดยขาดแผนการประเมินผลการดําเนินงานในภารกิจทีส่ ําคัญเพ่ือจะนําผลไปใชในการปรบั ปรุง แกไข และพัฒนางานใหเปนไปอยางตอเนื่อง 2) งานดานวิเทศสัมพันธ เปน งานท่ีมีความเกี่ยวของกับขอมูลท่สี ําคญั เชน ดานนกั ศึกษา แลกเปลี่ยนตางประเทศ (Inbound - Outbound) ดานการจดั ทําขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ (MOU) กับหนวยงานภายในประเทศ และสถาบนั การศกึ ษาตางประเทศ ดานการรบั รองอาคันตุกะชาวตางประเทศ และดานทุนสําหรับอาจารยชาวไทย ชาวตางชาติ และนักศึกษา ตลอดทั้งภารกิจอ่ืนๆ โดยพบวา ยังไมมีการ นําเทคโนโลยีมาใชเปนเคร่ืองมือในการจัดทําฐานขอมูลอยางเปนระบบที่สามารถสืบคนขอมูลและรายงาน ขอมลู ไดอยา งรวดเร็ว มคี วามถูกตอ ง ครบถว นสมบูรณ 3) งานดานวิเทศสัมพันธถือเปนภารกิจท่ีสําคัญของสวนงาน ระดับคณะ โดยมีฝายวิเทศ สัมพันธ จะเปนผูสนับสนุนในการชวยดําเนินงานดานการบริหารจัดการ ทั้งดานวิชาการโดยการสรางความ รว มมือกับสวนงานอ่ืนทง้ั ภายในประเทศ และตางประเทศ ทผี่ านมาพบวาผทู ่ีปฏิบัติงานดานวิเทศสัมพันธยัง ไมสามารถดําเนินงานแทนกนั ไดอยา งถูกตอ ง ครบถว น ตามภารกิจงานดา นวิเทศสัมพนั ธ 63 | P a g e

คมู อื การปฏิบัตงิ านดานงานวเิ ทศสัมพันธ 5.1.2 ปญ หาของผูป ฏบิ ัตงิ าน ตารางที่ 15 ปญหา อปุ สรรค ทีพ่ บในการปฏบิ ตั ิงาน และแนวทางแกไข ของผปู ฏิบัตงิ าน ปญหา อุปสรรค ท่ีพบในการปฏิบัติงาน แนวทางการแกไข งานดานนกั ศกึ ษาแลกเปล่ยี นตางประเทศ ปรกึ ษารองคณบดฝี า ยยทุ ธศาสตรและการ สถาบันตางประเทศขอสง นักศึกษามาแลกเปล่ยี น ตางประเทศ และอาจารยฝ ก งานเพื่อกําหนด ชว งเวลาทอ่ี าจารยฝกงานหรอื อาจารยผดู ูแลไม ชวงเวลาทสี่ ะดวกรับนักศึกษาชาวตา งชาติ อาจมีการ สะดวกรบั (กรณฝี ก งาน จะตองมีอาจารยฝก งาน กําหนด 2 ชวงเวลา และเสนอสถาบันตางประเทศ ผดู ูแลนักศกึ ษา) พิจารณาเปล่ยี นกาํ หนด งานดา นการรบั รองอาคันตุกะชาวตา งประเทศ มีการสรุปขั้นตอนดานกระบวนการขอวซี าและ กาํ หนดการรับรองอาคันตุกะมีการเปลี่ยนแปลง เอกสารตางๆ ที่นักศึกษาตอ งเตรียม ระยะเวลาแต สลบั สับเปลยี่ น วนั เวลา อยางกระทันหัน ละข้ันตอน ใหน ักศึกษาเขาใจงาย มีการนดั หมาย นักศึกษาเพื่อสาธติ วิธีการกรอก ใบสมัครวซี า และ ตรวจเอกสารเบื้องตน ใหน ักศึกษาเพื่อลดขอผิดพลาด ที่จะทาํ ใหลาชา งานดานการรบั รองอาคนั ตุกะชาวตางประเทศ มกี ารเตรยี มแผนกําหนดการสํารองเพ่ือใหเกิดความ กาํ หนดการรับรองอาคันตุกะมีการเปลยี่ นแปลง คลองตัวและงานสาํ เร็จ สลับสับเปลย่ี น วนั เวลา อยา งกระทันหัน งานดานพิธกี ารเกยี่ วกับงานวิเทศสัมพันธ หอ งประชมุ สําหรบั งานดา นพิธกี ารไมว าง เชน เปน ตรวจสอบขอมลู ในระบบการจองหองวา ถูกจองโดย ชว งท่ีหนวยงานตา งๆ จัดกิจกรรมอื่นๆ พรอ มกัน ทํา หนวยงานใด ใชกิจกรรมใด และประสานงานไปยัง ใหหองท่ีประสงคจะใชจัดงานดานพธิ ีการไมวาง หนวยงานนั้นเพ่ือสอบถามความเปนไปไดในการขอ ใชหองสําหรับงานพีธีการ โดยผูป ฏบิ ตั ิงานวเิ ทศ สัมพนั ธดาํ เนนิ การจัดหาหองท่ีเหมาะสมทดแทนให 64 | P a g e

คูมอื การปฏิบัติงานดานงานวิเทศสัมพันธ 5.2 ขอเสนอแนะเพ่อื การพัฒนางาน จากการพบปญหาการปฏิบัติงาน ในฐานะผูปฏิบัตงิ านดานวิเทศสัมพันธ ขอเสนอแนวทางในการ พัฒนางานดานวิเทศสัมพันธ เพื่อใหการพัฒนาดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนและเปนรูปธรรม ท่ชี ดั เจน จงึ ขอเสนอแนวทางการดําเนนิ การ ดงั นี้ 1) สงเสริมใหผูปฏบิ ตั ิงานดา นวิเทศสัมพันธ พัฒนาสมรรถนะอยางตอเนื่องตลอดเวลาเพื่อสรา ง ความมั่นใจใหกับผูปฏิบัติงาน และทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน เพื่อผลการดําเนินงาน ท่ีมีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น 2) พัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานขอมูลของงานดานวิเทศสัมพันธ โดยการใชโปรแกรม ประยุกตในการเก็บรวบรวมขอมูลตางๆ ไวที่สวนกลางของฝายวิเทศสัมพันธ สามารถสืบคนเพื่อนําขอมูล ท่ีเกี่ยวขอ งกับภารกิจมาปฏิบัตงิ านไดในระยะเวลาอันรวดเรว็ และเปนการประหยัดเวลาในการสืบคนขอมูล ตลอดท้ังทําใหลดความซ้ําซอนของขอมลู ได อันจะสงผลลัพธการดาํ เนินงานที่ดีตอองคกร เชน การรายงาน ขอมูลตัวช้ีวัดท่ีสําคัญระดับคณะ การรายงาน OKRs (Objective key Results) การรายงานตัวช้ีวัด การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดการจัดอันดับมหาวิทยาลัย (QS-THE) ตลอดทั้งการรายงานขอมูลเสนอ ผูบรหิ ารเพ่ือการบริหารจดั การภายในระดับคณะ 3) ใหมีการหมุนเวียนงาน (Job Rotation) การยายสับเปล่ียนหมุนเวียนหนาท่ีงานของ ผูปฏิบัติงานเปนคร้ังคราว ซ่ึงจะกอใหเกิดความกระตือรือรน และภาวะจําเปนท่ีจะตองเรียนรูงานใหมเพื่อ สามารถทํางานไดดี ตลอดท้ังเปนการเปดโอกาสใหไดเรียนรูและฝกประสบการณกวางขวางมากขึ้น เกดิ ความคลองตัวในการทํางานไดท ุกงาน และสามารถปฏบิ ตั ิงานแทนกันไดอยางเปนระบบ 4) สงเสริมใหผูปฏิบัติงานดานวิเทศสมั พันธ จัดทําการศึกษา/ วิเคราะห/ สงั เคราะห ขอมูลจาก ผลการดําเนินงานท่ีผานมา โดยใชหลักการ KAIZEN เปนเครื่องมือในการดําเนินงานแกไขปญหา เพื่อจะไดนําไปสูการปรับปรุง แกไข และพัฒนาคุณภาพงาน ซึ่งจะสงผลใหเกิดผลลัพธการดําเนินงาน ที่มคี ณุ ภาพมากข้ึน ............................................................................ 65 | P a g e

บรรณานุกรม จักรพงษ์ ทองผาย. 2558. ค่มู ือการบริการด้านการต่างประเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://sites.google.com/site/edkkuforeignaffairservice/ (29 กรกฎคม 2563) วนั ทนีย์ วิพุธวงศส์ กุล. 2558. รายงานการศึกษาส่วนบคุ คล เรอ่ื ง แนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ของนกั วิเทสมั พันธ์ของสานกั งานกรตา่ งประเทศ สานกั งานเลขาธกิ ารวุฒิสภา ให้สามารถสนับสนุนภารกิจตา่ งประเทศของวฒุ ิสภาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล. สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศว์ โรปการ กระทรวงการต่างประเทศ. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า http://www.mfa.go.th/dvifa/contents/filemanager/ (29 กรกฎาคม 2563) จิรฎั ฐ์ ทวนดิลก. 2561. คู่มือการปฏบิ ตั งิ าน การจัดทาหนัสอื นาต่ออายุวีซา่ สาหรบั นสิ ิตชาวตา่ งประเทศ ศนู ยส์ ่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สานกั งานอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยบรู พา กองการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คมู่ ือพธิ ีการรับรองอาคันตุกะที่นบั ถือศาสนาอสิ ลาม. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทมี่ า https://iad.kku.ac.th/ (30 กรกฎาคม 2563) กองการต่างประเทศ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . คมู่ อื พิธีการฑูตการรบั รองอาคันตุกะต่างระเทศ และพธิ ีลงนามข้อตกลงความรว่ มมอื . [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า https://iad.kku.ac.th/ (30 กรกฎาคม 2563) อรุณพร ซ่าเตีย. ค่มู ือการปฏิบตั ิงานด้านงานวิเทศสมั พันธ์ เรอื่ ง การต้อนรับอาคนั ตุกะชาวต่างประเทศ. คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สานักงานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . แบบฟอรม์ คู่มือการปฏิบัติงาน(Work Manual)

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านดา้ นวิเทศสมั พนั ธ์ ภาคผนวก 66 | P a g e

ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านดา้ นวเิ ทศสมั พนั ธ์ บนั ทึกรายงานค่าใชจ้ ่ายภายใตท้ ุนสนับสนุน 84 | P a g e

เภสัชเงินเดือนกี่บาท

รายได้เภสัชกรจบใหม่ เงินเดือน 22,000 บาท เงินเพิ่มตำแหน่งพิเศษของปฏิบัติงานสาธารณสุข(พ.ต.ส.) เดือนละ 1,500 บาท ค่ากันดาร เดือนละ 3,000 บาท

คณะเภสัชศาสตร์ มีที่ไหนบ้าง ค่าเทอม

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคการศึกษาละ : 26,500 บาท ... .

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการศึกษาละ : 52,000 บาท ... .

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาคการศึกษาละ : 20,000 บาท ... .

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาคการศึกษาละ : 28,000 บาท ... .

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคการศึกษาละ : 18,000 บาท ... .

มหาวิทยาลัยศิลปากร ... .

มหาวิทยาลัยนเรศวร ... .

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

คณะเภสัชศาสตร์ มีกี่สาขา

คณะเภสัชจะมีด้วยกัน 2 สาขา คือ เภสัช สาขาบริบาลทางเภสัชกรรมและเภสัช สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ เภสัช สาขาบริบาลทางเภสัชกรรม : จะเรียนด้านการให้คำแนะนำผู้ป่วย ยาแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร รวมถึงการเลือกใช้ยาให้ถูกต้องและเหมาะสมกับผู้ป่วยด้วย

คณะเภสัชศาสตร์ มช มีสาขาอะไรบ้าง

หลักสูตร.