เช คเง นกยศค าครองช พ กร งไทย ม.ร งส ต

ให้สั่งจ่าย “กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา บัญชีรับชำระหนี้ ชื่อ-นามสกุลผู้กู้ยืมเงิน หมายเลขบัตรประชาชนผู้กู้ยืมเงิน”

1. ก่อนการนำฝากเช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็คทุกครั้ง ผู้กู้ยืมเงินจะต้องดาวน์โหลด QR Code หรือ Barcode ผ่าน Application “กยศ. Connect” หรือจากระบบ DSL ... โดยระบุจำนวนเงินที่จะชำระให้ตรงกับยอดเงินหน้าเช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็ค พร้อมบันทึกภาพ หรือจัดพิมพ์ QR Code หรือ Barcode ภายในวันที่ไปชำระหนี้เท่านั้น

2. ผู้กู้ยืมเงินชำระหนี้ด้วยเช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็ค ที่หน้าเคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย ก่อนเวลา 12.00 น. โดยแสดงภาพ QR Code หรือ Barcode

3. เมื่อธนาคารกรุงไทยรับชำระหนี้จากผู้กู้ยืมเงินแล้ว ระบบจะดำเนินการลดยอดหนี้ให้ผู้กู้ยืมเงินโดยอัตโนมัติภายใน 3-5 วันทำการ (เมื่อวันที่เช็ค ตั๋วแลกเงิน แคชเชียร์เช็คมีผลเรียบร้อยแล้ว) หมายเหตุ

* กรณีชำระหนี้เป็นเช็คที่มิใช่เช็คของธนาคารกรุงไทย อาจมีการเคลียร์ริ่งเช็คต่างธนาคาร ทำให้ยอดหนี้ที่ชำระไม่ครบถ้วน

  • การลงทะเบียนผู้ใช้งาน ผู้กู้ต้องลงทะเบียนด้วยตัวเองผ่านระบบได้ 2 ช่องทาง 1. ผ่านช่องทาง Mobile Application กยศ. Connect ได้ทั้งระบบปฎิบัติการ iOS และ Android 2. ผ่านทางเว็บไซต์ https://wsa.dsl.studentloan.or.th

VDO การลงทะเบียนใช้งาน กยศ. Connect ... คลิก

VDO ขั้นตอนการใช้งานแอปพลิเคชัน กยศ. Connect...คลิก


  • เมื่อผู้กู้ยืมชำระเงินผ่านช่องทาง Online สามารถตรวจสอบยอดหนี้ที่ปรับปรุงในระบบแล้ว ภายใน 1 วันทำการถัดไป
  • หากผู้กู้ยืมชำระเงินผ่านช่องทางอื่นๆ สามารถตรวจสอบยอดหนี้ที่ปรับปรุงในระบบแล้ว ภายใน 2-5 วันทำการ

  • ช่องทางและวิธีการชำระหนี้ ...คลิก

กยศ ได้เทอมละกี่บาท มัธยม

เปรียบเทียบกองทุนกู้เรียน กยศ. vs กรอ.?.

กู้ลักษณะที่2ได้ค่าครองชีพไหม

จำนวนเงินกู้ได้ตามโครงสร้างหลักสูตร แต่ ไม่เกินวงเงินที่ สกอ. กำหนด และจำนวนเงินที่จัดสรรให้มหาวิทยาลัย 2. กู้เป็น ค่าครองชีพ กู้ได้เดือนละ 3,000 บาท หรือ ปีละ 36,000 บาท (รายได้ครอบครัวต้องไม่เกิน 360,000 บาท/ปี)

ค่าครองชีพ กยศ 2565 ได้กี่บาท

ภาคการศึกษาละ 4 เดือน ในวันที่เดียวกัน ดังนี้ ภาคการศึกษาที่ 1. - ผู้กู้ กยศ. ได้รับเงินค่าครองชีพเดือน มิถุนายน - กันยายน - ผู้กู้ กรอ. ได้รับเงินค่าครองชีพเดือน กรกฎาคม - ตุลาคม

กยศ ลักษณะที่ 1 ได้กี่บาท

ผู้กู้ยืมลักษณะที่ 1 ผู้กู้ยืมมีรายได้ครอบครัวไม่เกิน 360,000 บาท/ปี สามารถกู้ยืมได้ทั้งค่าเล่าเรียนและค่าครองชีพ (รายได้เกิน 360,000 บาท/ปี ไม่สามารถกู้ยืมได้)