Autocad2007โปรแกรมน ม ป ญหาเก ยวก บการเข าก นได

แผนการจดั การเรียนรหู นว ยที่ 1 รหสั 2106-2104 วิชา เขยี นแบบโครงสรา งดว ยคอมพิวเตอร 1-4-3 ชือ่ หนวย หลกั การใชคอมพิวเตอรส ําหรบั เขียนแบบดว ยโปรแกรม AutoCAD จํานวน 5 ช่วั โมง1. สาระสําคญั การเขียนแบบกอสรางเปน ศาสตรแ ขนงหนง่ึ ท่ีมีความจําเปน มาก เชน การทีจ่ ะกอ สรา งบา นพักอาศยัหรอื อาคารตาง ๆ จาํ เปน ท่จี ะตอ งมีแบบทจ่ี ะกอ สรา งน้ัน ๆ ซ่งึ จากเดิมน้ันการเขยี นแบบกเ็ ขยี นดวยมือและใชโตะเขยี นแบบทําใหแ บบทีไ่ ดนนั้ มขี อ จํากัดหลาย ๆ อยาง เชน เวลา ความถกู ตอง ความสวยงาม การแกไข การสง แบบ และรวมถึงการเกบ็ รักษาแบบน้นั ๆ แตในปจจุบนั นีไ้ ดมีการนําเอาเทคโนโลยีดา นคอมพิวเตอรม าชวยในการออกแบบและเขียนแบบ ซ่ึงโปรแกรม AutoCAD 2008 ก็เปนโปรแกรมหน่งึ ท่ีสามารถนํามาใชในการเขียนแบบกอสรางได และตอบสนองผใู ชไดเปนอยางดี และในสภาวะปจ จุบันน้ีความตอ งการของตลาดแรงงานหรือองคก รตา ง ๆ ทท่ี าํ งานดานวิชาชีพชา งกต็ อ งการบุคลากรท่มี คี วามรู ความสามารถในการเขียนแบบดวยคอมพวิ เตอรไ ด และกไ็ ดเ ปน ขอ กาํ หนดอีกขอหนึง่ ในการทจี่ ะรบั เขาทาํ งานในหนวยงานนนั้ ๆ หรือไม การใชงานโปรแกรม AutoCAD 2008 สาํ หรับเขียนแบบกอสรา งในระบบ 2 มติ ิ กเ็ พือ่ ใหผูเ รียนรสู ามารถนาํ เอาคาํ สงั่ตา ง ๆ ไปใชง านในการเขียนแบบกอสรา งไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ลดเวลาในการทาํ งานใหน อ ยลงใหไ ดแบบกอสรา งท่มี ีความถูกตองและสวยงาม ตรงตามความตองการของผใู ช2. สมรรถนะประจําหนว ยการเรียนรู 1.แสดงความรเู ก่ยี วกับเคร่อื งมอื และอปุ กรณท ่ใี ชใ นการเขยี นแบบดว ยคอมพวิ เตอรได 2.แสดงความรูเกี่ยวกบั การเรียกใชง านและบอกสว นประกอบตา งๆ ของโปรแกรม AutoCADได3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1.บอกเครื่องมอื และอุปกรณทใี่ ชใ นการเขียนแบบดว ยคอมพวิ เตอรไ ด 2.อธิบายถึงวิธกี ารเรยี กใชง านโปรแกรม AutoCADได 3.บอกสว นประกอบตา งๆ ของโปรแกรม AutoCADได 4.มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคของผสู าํ เร็จการศกึ ษา

ตารางวิเคราะหจ ุดประสงคการเรียนรูโดยบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จุดประสงคก ารสอน ทางสายกลาง หนวยที่ 1 2 เงอ่ื นไขเร่ือง หลักการใชคอมพวิ เตอรสําหรบั เขยี น ความรู คุณธรรมแบบดวยโปรแกรม AutoCAD พอประมาณ3 หว ง มีเห ุตผล ีมภู ิม ุคมกัน รอบ ูร รอบคอบ ระมัดระวัง ื่ซอ ัสต ยสุจ ิรต ขยันอดทน ีมสติปญญา แบงปน รวม ลําดับความสํา ัคญบอกเคร่อื งมอื และอปุ กรณท่ีใชในการเขยี นแบบ         8 3ดวยคอมพวิ เตอรไ ดอธิบายถงึ วิธีการเรยี กใชง านโปรแกรม  9 2AutoCAD ไดบอกสว นประกอบตา งๆ ของโปรแกรม           10 1AutoCAD ไดรวม 1 3 23 3 3 3 3 3 3 ลําดับความสาํ คญั 3 1 21 1 1 1 1 1 1

เน้ือหาการเรียนรูหนวยท่ี 1 จํานวน 5 ชวั่ โมง รหสั 2106-2104 วชิ า เขียนแบบโครงสรา งดว ยคอมพวิ เตอร 1-4-3 ชอื่ หนวย หลกั การใชค อมพิวเตอรสาํ หรับเขียนแบบดวยโปรแกรม AutoCAD CAD ยอมาจาก Computer Aided Designหรอื Computer Aided Drafting หมายถงึ การนาํ เอาระบบคอมพิวเตอรม าชวยงานออกแบบ และเขียนแบบแทนการเขยี นแบบดวย โตะ เขียนแบบ (ประพฒั น อุทโยกาศ,พ.ต, 2541) ระบบคอมพิวเตอรท่ีกลา วมีองคป ระกอบ 3 สว นคอื 1. ตวั เครือ่ งคอมพวิ เตอร (Hardware) 2. โปรแกรมสําเร็จรูป (Software) 3. บุคลากร (People ware) องคป ระกอบดงั กลาวขา งตน มคี วามสาํ คัญทุกองคป ระกอบ ถา องคป ระกอบใด องคป ระกอบหน่ึงดอ ยลงกจ็ ะมีผลใหการเขียนแบบดว ยคอมพวิ เตอรข าดความสมบูรณล งได เชนมตี วั เครอื่ งคอมพิวเตอรดี มโี ปรแกรมสําเรจ็ รปู ท่มี คี วามสามารถสูงเยยี่ มแตบคุ ลากรเขียนแบบไมเปน งานเขยี นแบบดวยคอมพิวเตอรก็จะไดผ ลดีสมบรู ณไมไ ด การใช Software ประเภท CAD (Computer Aided Design) ผเู ขียนแบบก็จะตองใชค วามพยายามในการทาํ ให เสน สญั ลกั ษณ และการตัง้ คา ตา ง ๆ ถูกตองตามมาตรฐานการเขยี นแบบมิใชป ลอ ยละเลยไปตามคา เริม่ ตน (Default) ของโปรแกรม โปรแกรมตาง ๆ เปนเพียงเครอื่ งมือในการทํางานใหมีความสะดวกรวดเรว็ขนึ้ แตเ นื้อหาสาระสาํ คญั ยังตอ งอาศัยความรู ความเขา ใจในพ้นื ฐานการเขยี นแบบ และความเขาใจในเรือ่ งโครงสราง การออกแบบ วสั ดุ อุปกรณก ารเรยี นรูในการใชง านเทคโนโลยี ประเภท CAD ตาง ๆ ส่ิงสาํ คญั อีกประการหน่ึงนอกจากการสรางภาพ 2 มิติ หรือ 3 มิติ แลวนน้ั ลักษณะของเทคโนโลยคี อมพิวเตอร โดยพนื้ ฐานจะเหมาะสมกับการทําซํ้าบางสว น การจัดระบบ การจัดเกบ็ และจําแนกขอ มูล การคํานวณขัน้ สูง การเก็บและนําไปใชใ หม รวมทั้งระบบวธิ ีในการทาํ งานรวมกนั การเผยแพร และสงตอ ขอ มลู ผูเรยี นจึงควรศกึ ษาหาความรูเพิ่มเตมิ ในการทาํ งานเพื่อเพิม่ ศักยภาพของตนเอง ตอไป

1.1 โปรแกรม Auto CAD โปรแกรม Auto CAD เปนโปรแกรมสําหรบั งานออกแบบเหมาะสําหรบั การเขียนแบบ ผลติ ภณั ฑและโครงสรางอาคาร โดยตัวโปรแกรมมีเครอ่ื งมืออาํ นวยความสะดวกในการใชง าน เชน เครอ่ื งมือวัดระยะ การคาํ นวณระยะหางอตั โนมตั ิ รวมท้งั ยงั สามารถจําลองงานท่ี ออกแบบออกมาในรปู ของวตั ถุ 3 มติ ิไดดว ย งานทส่ี รา งจากโปรแกรมน้ีจงึ มคี วาม คลาดเคล่ือนนอ ยมากและสะดวกในการนําไปใชในการสรา งงานจรงิ 1.1.1 การเปด โปรแกรม Auto CAD Start>Programs>Autodesk>Auto CAD 2010 หรือ เราสามารถเปด โปรแกรมโดยตรงที่ไอคอนบนหนา จอเดสกทอปไดเ ลย ซงึ่ จะ ชว ยใหสะดวกกวา รปู ท่ี 1.1 การเปดโปรแกรม Auto CAD 2010ในสว นของหนา จอโปรแกรม Auto CAD 2010 นน้ั ไดม ีการจดั เตรยี มหนาจอสาํ หรับการทํางาน (workspace) ในดานงานเขียนแบบแบงออกเปน 4 แบบดว ยกนั และสามารถเรยี กใชห นา จอแตละแบบไดโ ดย เลอื กที่ Manu Bar>Tools >Workspaces

รปู ที่ 1.2 หนา จอการทํางาน (work space)1.1.2 หนา จอหลักของ Auto CAD1.1.2.1 หนาจอการทาํ งานแบบ 2D Drafting & Annotation เปน หนา จอโปรแกรมที่ทําการจดั กลมุ คําส่ังของรปู สญั ลกั ษณในหมวดตา ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การใชงาน การเขียนแบบ 2 มติ ใิ หอยรู วมกนั เพื่อความสะดวกในการเลอื กใชคําสง่ั ในงานเขยี นแบบ 2 มิติ รปู ที่ 1.3 หนาจอการทํางานแบบ 2D Drafting & Annotationหมายเหตุ กรณที ี่ Manu Bar ไมมบี นแทป็ (ถกู ปด ไว) หนาจอสามารถเปด การใชง านไดดงั นี้

รปู ท่ี 1.4 การเปด ใชง าน Manu Bar1.1.2.2 หนาจอการทํางานแบบ 3D Modeling เปนหนา จอโปรแกรมท่ีทาํ การจดั กลมุ คําสง่ั ของรูปสัญลกั ษณในหมวดตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ งกับการใชง าน การเขียนแบบงานวตั ถุ 2 มติ แิ ละ 3 มติ ิ ระดบั สงู ใหอยรู วมกัน เพื่อความสะดวกในการเลือกใชค าํ ส่งั สําหรับการสรา งและการแกไขชนิ้ งาน 3 มิติรูป รปู ท่ี 1.5 หนาจอการทํางานแบบ 3D Modeling

1.1.2.3 หนาจอการทํางานแบบ Auto CAD Classic เปน หนา จอโปรแกรมทมี่ ีลกั ษณะรปู แบบเหมือนกบัหนาจอโปรแกรม Auto CAD รนุ กอ น ๆ ซึง่ จะชวยใหผ ูทเ่ี คยใชง านโปรแกรมมีความคุนเคย ในการเรยี กใชคาํ สัง่ ในการเขียนแบบงานวัตถุ 2 มิตแิ ละ 3 มติ ิ รูปที่ 1.6 หนาจอการทาํ งานแบบ Auto CAD Classic1.1.2.4 หนาจอการทํางานแบบ Initial Setup Workspace เปนหนาจอโปรแกรมที่ทาํ การจดั กลมุ คาํ สง่ั ของรปู สญั ลักษณใ นหมวดตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วของกบั การใชงาน การเขยี นแบบงานวัตถุ 2 มิตริ ะดับพ้นื ฐานใหอยูร วมกนัเพอื่ ความสะดวกในการเลือกใชคําส่ัง รปู ท่ี 1.7 หนาจอการทํางานแบบ Initial Setup Workspaceสว นประกอบหนา จอหลกั ของ Auto CAD 2010

- Application menu เปน เมนทู ี่รวบรวมกลมุ คําส่งั หลกั ท่ัว ๆ ไป ที่ทกุ โปรแกรมจําเปนตอ งมีเชน คําส่งั New, Open, Save หรอื Print เปนตน- Standard Toolbars รายการคาํ ส่ังหลักของโปรแกรม เชน เปด /ปด แกไข แทรก เคร่ืองมอื- Pulldown Menu เปน กลมุ ของคาํ ส่ังท่ีจัดเปน หมวดหมูสาํ หรบั การใชง าน- Info Center เปน สวนทีแ่ สดงการคน หาขอ มลู ผา นอนิ เตอรเนต็- Ribbon แถบเครื่องมือทรี่ วบรวมเอาคาํ สัง่ ตาง ๆ ทเ่ี ก่ยี วกบั การเขียนชิ้นงานมาไวใ นลกั ษณะของรูปภาพ เพื่อใหสามารถสอ่ื ความหมายไดง า ยและสะดวกแกการใชง าน ซ่ึงคาํ สัง่ เหลา นี้ก็มีอยูในMenu Bar อยแู ลว ในสว นน้ีจึงเปนเสมือน Short Cut- Drawing Area เปนสวนพนื้ ทใ่ี นการทํางานของเรา มีคาเปน Infinity สามารถสรา งแบบแปลนไดไมจํากัด รปู ท่ี 1.8 หนา ตา งสวนประกอบเบือ้ งตนของโปรแกรม - Command line เปน บรรทัดคอยรบั คาํ ส่ังรวมถึงแสดงรายละเอยี ดของคําสงั่ เพอ่ื ใชสําหรบั การโตต อบระหวา งโปรแกรมและผใู ชง านที่เปน ขอมูลสาํ หรบั สรางช้นิ งาน - Status Bar แถบแสดงสถานะปจจุบันของโปรแกรม - UCS จุดกาํ เนิด (User Coordinate System) หรือจดุ (0,0)เปนสว นที่ใชแ สดงระนาบการเขยี นในลกั ษณะตาง ๆ เชน ระนาบ 2 มติ ิ จะแสดงทศิ ทางของเสนแกน X, Y และถา เปน ระนาบ 3 มติ ิ จะแสดงทศิ ทางของเสนแกน X, Y และ Z - Crosshair เปนเคอรเ ซอรท ี่ใชแ สดงตาํ แหนง ระนาบแกน X และระนาบแกน Y บนพนื้ ท่ี

ทาํ งาน เคล่อื นทตี่ ามการเคล่อื นทข่ี องเมาส เปรยี บไดก ับปลายปากกาเขยี นแบบท่ีใชในการเขยี นตามคําส่งักําหนด - Model Space เปนพนื้ ท่ีทีส่ ําหรับการออกแบบหรือเขยี นแบบงาน ตามขนาดจรงิ หรอืแบบ Full Scale - Layout 1 และ Layout 2 เปน สวนทเ่ี ปน Paper Space หรือหนากระดาษ ใชส าํ หรบั การวางรูปในกระดาษและกาํ หนดรายละเอียด กอ นทาํ การพมิ พ - Statusbar เปน สว นทีแ่ สดงสถานะของคาํ สัง่ ชว ยในการทาํ งานของโปรแกรมและแสดงพิกัดของ Cross Hair ในขณะทาํ งาน - Model/Paper เปน แท็ปที่ใชสําหรับสลับหนาจอการทํางานของสวน Model และ Paperในพ้ืนทก่ี ารทาํ งานของสว น Layout - Annotation Bar เปน แทป็ ท่ีใชสาํ หรบั เลือกมาตราสว นในการแสดงแบบงานบนพืน้ ทขี่ องการทํางานของสวน Layout ในขณะอยูในโหมด Model - Application Status Bar Menu เปนสวนทใ่ี ชสาํ หรบั เพิม่ หรอื ลดเคร่อื งมอื ท่ีใชชวยในแสดงแบบงานบนพนื้ ทีข่ องการทาํ งานของสวน Layout1.2 การจัดการไฟลการจัดการไฟลในการทาํ งานของโปรแกรมเขยี นแบบ เปนกลมุ คําสัง่ มาตรฐานทีใ่ ชก นั ในทกุ ๆ โปรแกรมไดแ ก การสรางไฟลงานใหม, การเปดไฟลง านทม่ี อี ยูแลวเพ่ือนาํ มาแกไ ข และการบนั ทกึ ซึง่ จะชว ยใหผ ูเขยี นแบบงานนั้นสามารถเพมิ่ หรอื ทําการแกไ ขแบบงานในไฟลง านตา ง ๆ ได และจึงทําการบนั ทึกและจัดเก็บตอ ไป 1.2.1 การสรา งไฟลง านใหม (New) เปนการสรา งไฟลขอ มูลเพ่ือเตรยี มพ้ืนที่สําหรับการเขียนแบบงานเพมิ่ เติม เม่อื ทําการสรา งไฟลง านใหม โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ เพ่ือใหผ ใู ชงานไดทําการเลือกรูปแบบของกระดาษ (Template) ที่โปรแกรมจดั เตรยี มไว และในสวนของ Titlebar จะแสดงช่อื ไฟลงานตาม ลาํ ดบั เชน Drawing2, Drawing3โดยมีรปู แบบคําส่งั ดังน้ี โดยเปด หนา เอกสารใหมโ ดยคาํ สงั่ New หรือเปด ไฟลง านแบบซ่ึงมีการเขียนมากอ นหนา แลวโดยคําสั่ง Openการเปดหนาเอกสารใหม ทาํ ไดโดยเลือกท่ี Menu bar… เลอื ก File เลอื ก New…

รปู ที่ 1.9 การเปด หนา เอกสารใหมของโปรแกรม เมอื่ ทําการเลอื กคําสง่ั แลว โปรแกรมจะแสดงกรอบโตตอบ Select Template เพอื่ ใหผ ูใชง านไดท าํการเลอื กรูปแบบของกระดาษท่ีตองการท่ีใชก ันอยใู นมาตรฐานงานเขียนแบบระบบตา ง ๆ โดยที่ในสว นรายละเอียดของกรอบโตต อบนัน้ จะแสดงรายละเอียดดงั นค้ี ือ Look in: เปนสว นทแี่ สดงตําแหนงที่จดั เก็บไฟล Template Name: เปนสวนท่ีใชสาํ หรบั แสดงรูปแบบของกระดาษในมาตรฐานตา ง ๆ ทโี่ ปรแกรมจดั เตรียมไวใ หผ ูใชง าน Preview: เปน สวนท่แี สดงภาพของรูปแบบกระดาษกอ นเรียกใชง าน File name: เปนสวนที่ใชแสดงชื่อของรูปแบบของกระดาษท่ีถกู เลอื ก Files of type: เปน สว นที่แสดงนามสกลุ ของไฟล Template Open: เปน ปุม สาํ หรบั เปดเพ่ือนํารูปแบบของกระดาษมาใชงาน Cancel: เปนปมุ สําหรับยกเลิกการใชค ําสั่ง สรา งไฟลง านใหม1.2.2 การเปดไฟลง านทีม่ อี ยแู ลว (Open) เปน การเปด ไฟลงานทีม่ ีอยแู ลวเพอ่ื นํามาแกไ ขหรือปรบั ปรุงแบบงานใหม ีความสมบูรณม ากยิ่งขน้ึ ซ่ึงเมื่อเลอื กคําส่งั แลว โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ เพื่อใหผใู ชงานไดท าํ การคน หาไฟลง านทม่ี อี ยแู ลว ทจ่ี ัดเก็บไว และเมอ่ื ทาํ การเปด ไฟลง านข้ึนมาแลว ในสวนของ Titlebar จะแสดงช่ือของไฟลง านท่เี ปด ขึน้ มาโดยมีรูปแบบคําสง่ั ดงั น้ี

รูปที่ 1.10 การเปด ไฟลงานของโปรแกรม เมอื่ ทาํ การเลือกคาํ สง่ั แลว โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ Select File เพอื่ ใหผูใ ชงานไดท าํ การคน หาไฟลงาน โดยทใ่ี นสวนรายละเอยี ดของกรอบโตต อบนั้นจะแสดงรายละเอยี ดดงั นคี้ ือ Look in: เปนสว นที่แสดงตาํ แหนง ทีอ่ ยูของไฟลงาน Name: เปน สวนทใี่ ชสาํ หรบั แสดงชื่อของไฟลงาน Preview: เปนสวนทีแ่ สดงภาพของไฟลง านกอ นเปด ใชง าน File name: เปนสว นท่ใี ชแสดงชอ่ื ของไฟลง านทีถ่ กู เลือก Files of type: เปน สว นท่ีแสดงนามสกุลของไฟลง าน Open: เปน ปมุ สาํ หรับเปดไฟลงานมาใชงาน Cancel: เปนปุมสาํ หรบั ยกเลิกการใชค าํ สัง่ เปดไฟลง านมอี ยแู ลว1.2.3 การจัดเก็บไฟลง าน (Save, Save as)เปน การจัดเกบ็ ไฟลง านท่ผี ใู ชง าน ทําการเขยี นแบบงานเสรจ็ เรยี บรอ ย หรืออาจจะยงั ไมเสร็จสมบรู ณไ วย ังท่ีจดั เตรียมไว เพ่อื นําไปใชงานหรอื ทาํ การแกไ ขภายหลงั ซง่ึ มรี ปู คําสัง่ ดงั นค้ี อื

รูปที่ 1.11 การบนั ทกึ ไฟลง านของโปรแกรมเมอื่ ทําการเลอื กคําสงั่ บันทึกไฟลข อมูลแลว โปรแกรมจะแสดงกรอบโตตอบ Save Drawing As เพอื่ ใหผ ูใชงานไดท าํ การตง้ั ช่อื ไฟลง านใชในการบันทกึ โดยท่ใี นสว นรายละเอยี ดของกรอบโตต อบนัน้ จะแสดงรายละเอยี ดดังนค้ี อื Save in: เปน สวนท่ีแสดงตาํ แหนงท่ใี ชในการบนั ทกึ ไฟลงาน Name: เปน สว นท่ใี ชส ําหรบั แสดงชอ่ื ของไฟลงาน Preview: เปนสว นทแ่ี สดงภาพของไฟลงานเมอื่ ทําการเลือก File name: เปน สว นทใี่ ชบ นั ทกึ ชื่อของไฟลง านที่จัดเก็บ Files of type: เปน สวนท่แี สดงนามสกลุ ของไฟลง าน Save: เปน ปมุ สาํ หรบั บนั ทกึ ไฟลงาน Cancel: เปน ปุมสําหรับยกเลิกการใชค ําสัง่ บันทกึ ไฟลงานรปู แบบไฟลมาตรฐานของโปรแกรม Auto CAD คอื xxx.dwg (.dwg) ซ่งึ การบนั ทกึ ไฟลง านจะมลี กั ษณะการใชง านคลา ย ๆ กบั การใชง านโปรแกรมพ้ืนฐานท่วั ไป คือ 1.2.3.1 Save จะเปน การบนั ทกึ ไฟล ตามรูปแบบมาตรฐานของไฟลท ี่ใชอ ยูปจ จบุ นั เชน เม่อื ทาํ งานและมีการบนั ทึกไฟลงานแลว โปรแกรมจะไมร อใหย ืนยันการบนั ทึกครั้งตอไป 1.2.3.2 Save As เปนการบันทกึ ไฟล โดยผใู ชง านตอ งทาํ การเลือกรปู แบบของการบันทึกทกุ คร้งั เชนตองการบนั ทึกตามรูปแบบของ Auto CAD2000 หรือ Auto CAD2004 เปนตน ซึง่ เหมาะสาํ หรบั การบันทกึไฟล เพ่อื นําไปเปด กับ Auto CAD ในรนุ ทเี่ กา กวา

เมือ่ เปด ไฟลใหม จะไดหนาตา งของโปรแกรมตามรปู ผูใ ชสามารถปรบั เปลย่ี นรูปแบบและสีหนาจอไดตามความตองการหมายเหตุ 1) ในกรณีทท่ี ําการเปดไฟลง านใหม (Drawing...) โปรแกรมจะเขาสู คาํ สั่ง Save as เพ่ือใหผ ูใชงานทําการตั้งชื่อในการจดั เก็บไฟลง านใหม 2) ในกรณที ่ที ําการเปด ไฟลงานที่มีอยูแลว ขน้ึ มาแกไขและทาํ การ จัดเก็บ โปรแกรมจะทาํ การบันทึกโดยใชชือ่ เดิม 3) ในกรณที ่ที าํ การเปดไฟลง านที่มอี ยูแลว ข้ึนมาแกไ ขและทําการจัดเก็บเปนช่อื อ่ืน จะตอ งเลือกคาํ สง่ัSave as ในการจดั เก็บเทาน้นัการเรียกใชค าํ สัง่ ในการทํางานในสภาวะปกติ ทีโ่ ปรแกรมพรอมรับคาํ สั่ง ท่ี Command line ผใู ชสามารถพิมพค าํ ส่งั ตาง ๆ ท่ี Commandline พมิ พค ําส่งั คําเตม็ หรือ ตัวยอ (Short Key) จากแปน พมิ พ ลงบนบรรทัด Command: รปู ที่ 1.12 การพิมพค ําสงั่ ท่ีบรรทดั Commandถาตองการเรียก Command Line ใหแ สดงผล เลือกที่ Menu bar… Tools…Command Line หรอื กดปุมที่Keyboard “Ctrl + 9” รปู ที่ 1.13 การเรยี กใช Command line จาก Tool icon

ใชเ มาสค ลิกเลือกคาํ ส่ังจากกลุมของ Pulldown Menu ซง่ึ ในสว นของ Menu ไดถกู แบงออกเปน กลุม ๆ ตามการใชงานแตล ะประเภท และในสว นของคาํ สง่ั แตละคําสง่ั ยงั มคี ําส่งั ยอ ยซอ นอยูในคาํ สั่งนน้ั โดยสังเกตไดจาก เครอ่ื งหมายสามเหล่ยี มสีดําหลงั คาํ ส่ังนนั้ ๆ รปู ท่ี 1.14 การเลือกคาํ ส่งั จาก Pulldown Menuใชเ มาสคลกิ เลือกรปู สัญลักษณของคาํ สง่ั ในกลมุ คําส่ัง Ribbon ที่แสดงอยบู นหนาจอ โดยเม่ือเลื่อนตําเหนงMouse ไปยงั รูปสญั ลกั ษณน ้ัน ๆ โปรแกรมจะแสดงชื่อของคาํ สั่ง และลักษณะการใชง านโดยอัตโนมัติ รูปที่ 1.15 การเลือกคาํ ส่งั จาก Ribbonหากตองการออกจากคําส่งั หรือยกเลิกคาํ ส่ังขณะนน้ั ใหกดปมุ “Esc” ส่งิ ที่สาํ คญั ท่สี ดุ ในการใชง านโปรแกรม Auto CAD คอื ผใู ชง านจะตอ งตดิ ตอ กบั โปรแกรม ผานทางCommand line ตลอดเวลา เพราะ Command line จะเปนสว นทบ่ี อกข้ันตอนของคําสั่งตา ง ๆ วา ในขณะนัน้ จะตอ งทาํ อะไร หรือโปรแกรมตองการรบั ขอมลู บางอยา งจากผใู ช ในบางคาํ ส่ังหากผใู ชง านไมยืนยนัคาํ สง่ั หรอื จบคาํ สงั่ ในชวงน้ัน โปรแกรมจะไมดาํ เนนิ การใด ๆ ตอ

รปู ท่ี 1.16 การตดิ ตอ กับโปรแกรม ผา นทาง Command line1.3 การตง้ั คา เบอ้ื งตน ในการทาํ งาน 1.3.1 การปรับแตง หนา จอแสดงผล เพ่ือเตรยี มความพรอมในการเขยี นแบบคาํ สั่ง Options เลอื กคําสงั่Tools ที่ Menu bar > Tools > Options…ผใู ชง านสามารถปรับเปลี่ยนรปู แบบการวางเครอื่ งมือตาง ๆ และสภาพแวดลอ มของโปรแกรมไดตามความพอใจ โดยทว่ั ไปจะขนึ้ อยกู บั ขนาดของจอภาพที่ใช และสที ชี่ อบเน่อื งจากในการออกแบบตองใชเ วลาในการทํางานเปน เวลานาน ๆ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอ มที่ดจี ะชว ยใหผใู ชงานไมร ูสกึ อดึ อดั และไมเครียดเวลาทํางาน วธิ ีปรบั แตง โดยเลอื กคําสง่ั Tools ท่ี menu bar…Options… รปู ท่ี 1.17 การปรบั แตง หนาจอแสดงผล คาํ ส่ัง Options Display: ใชส ําหรบั ปรับแตงหนาจอคอมพวิ เตอร เชน ตอ งการใหแสดง Scroll bars, ToolTips,… รวมถงึ การปรับแตงสใี นสว นตา ง ๆ ของโปรแกรม ตามความพอใจของผใู ชง าน เชน สีพืน้ ตวั อกั ษร และการปรับขนาดของ Crosshair/Pointer เปนตน โดยท่วั ไปจะปรับแตง ดังนี้

รปู ท่ี 1.18 สวนประกอบ Windows ElementsWindows Elementsให หนาคําสัง่ ท่ตี องการใหท ํางาน Display Scroll Bars in Drawing Window แสดง Scroll bars ท่ีดา นลา งและดานขวาของหนา จอ Display Screen Menu แสดง Screen menu ดานขวาของหนา จอซง่ึ จะคลา ยกบัหนาจอของ Auto CAD R12 Use Large Buttons for Toolbars แสดงรูปปุม กด (Buttons) ขนาดใหญ ซงึ่ มีขนาด 32 x 30 pixels. Show Tooltips แสดงชือ่ คาํ สงั่ เมอ่ื เลื่อน Mouse อยบู นปมุ คําส่ังใด ๆ ShowShortcut Keys in Tooltips แสดงคําสัง่ ยอ เมื่อเลื่อน Mouse อยบู นปมุ คําสง่ั ใด ๆColors… รปู ที่ 1.19 การปรับเปลยี่ นสขี องหนา จอโปรแกรม Auto CADใชส าํ หรับปรบั เปล่ยี นสขี องหนา จอโปรแกรม Auto CAD เชน สีพ้ืน สีตวั อักษร หรอื สี Crosshair/Pointerเปนตน การใชง าน ผูใชส ามารถใช Mouse เลอื กที่หนา ตางหมายเลข 1 หรอื เลือกท่ี Tab Window elementชอ งหมายเลข 2 แลว จึงเลอื กสที ตี่ อ งการ จากนัน้ เลอื ก Apply & Close

1.3.1.1 Display Resolution ใชส าํ หรบั การปรบั ความละเอยี ดของการแสดงผล ปกตจิ ะปรับท่ีคา smoothness ซง่ึ เปน คา ทที่ าํ ใหก ารแสดงผลของเสน โคง ตา ง ๆ ใหม ีความราบเรยี บเหมอื นจรงิ สามารถปรับได ตั้งแต 1–20000 ยิง่ คามาก ความราบเรียบของสวนโคงก็จะมากตามไปดว ย แตกจ็ ะทําใหก ารประมวลผลของภาพชา ลง ทั้งน้ีขน้ึ อยกู ับประสทิ ธภิ าพของเครื่องคอมพิวเตอรทใ่ี ช รูปที่ 1.20 สว นประกอบ Display Resolutionใชส ําหรบั ปรับขนาดของ Pointer รูปท่ี 1.21 การปรับขนาดของ Crosshair size 1.3.1.2 Open and Save: File Save สามารถ Save ไฟล เปน Auto CAD 2007 หรือตํ่ากวา ไดโ ดยอตั โนมตั ไิ มต องกังวลเรอื่ งการ Save as ในการ Save ไฟลป กติ

รปู ที่ 1.22 หนา ตา ง Options ในสว น Open and Save 1.3.1.3 User Preferencces: ใชส าํ หรบั ต้ังคาการใชง านระบบคาํ นวณของโปรแกรม เชน เสนบอกขนาด Scale และการปด-เปด การใช Right Click เพ่ือยอนคําส่งั ทีผ่ านมา รปู ที่ 1.23 Options ในสวน User Preferencces

1.3.1.4 Drafting: ใชส ําหรบั ต้งั คา การใชงานของ Snap สามารถปรบั เปล่ยี นสี สัญลกั ษณ และขนาดของขอบเขตการใชง าน snap รูปท่ี 1.24 Options ในสว น DraftingAutoSnap SettingsMarker แสดงสญั ลกั ษณข องการ snap เชน endpoint แสดงรปู , midpoint เปนรปู เปนตนMagnet ปด /เปด การ autosnap เมอื่ Pointer อยใู กลก บั จดุ ทต่ี งั้ คา ไวโ ปรแกรมจะทําการ snap จดุ ใหอัตโนมตั ิDisplay AutoSnap Tooltip แสดงชือ่ ของการ snapDisplay AutoSnap Aperture Box แสดงขอบเขตของการ AutonapAutoSnap maker color: สําหรบั ปรับเปลีย่ นสขี องสัญลักษณ snapAutoSnap maker size: สาํ หรับปรับเปล่ียนขนาดของสัญลักษณ snapAperture Size: สาํ หรับปรบั เปลย่ี นขนาดของขอบเขตการ snap 1.3.1.5 Selection: ใชส ําหรบั ตั้งคา การใชงาน Mouse ไมวาเปนสหี รอื ขนาดขนาดของ ส่เี หลย่ี มซง่ึอยูกับ หรือ Pointer Crosshair ในสวน Pickbox Size และ Grip Size

รปู ที่ 1.25 Options ในสวน SelectionSelection:Pickbox Sizeขนาดของ ส่เี หลย่ี มซ่ึงอยกู บั Crosshair หรอื Pointer ดงั รปูGrip Sizeจุดสเี่ หลย่ี มซึ่งจะแสดงบนวตั ถุท่ถี ูกเลือก 1.3.2 การตั้งคา Grid and Snapกอ นท่เี ราจะไปเรยี นรวู า แตล ะคาํ สัง่ ใชงานอยางไร เราจาํ เปน ตองทราบถงึ การต้งั คาและการใชงานเบ้อื งตนตา งๆ ของโปรแกรมเสียกอ น ซึง่ คําส่งั เหลานีจ้ ะชว ยเพ่มิ ความถกู ตอ ง แมน ยาํ ใหกบั การใชง าน โดยมีกลมุ คาํ สั่งท่ีจําเปน ตองต้งั คา กอ น มดี ังนี้SNAP คือ การกําหนดให Pointer (Crosshairs) เคลอื่ นทีต่ ามระยะกําหนด โดยคา ระยะผใู ชส ามารถปรับแตงเองได GRID คอื แนวจดุ แสดงระยะในแนวแกน x, y ทีผ่ ใู ชกําหนดขึ้น

ORTHO (Orthogonal) คือ การบงั คบั ให Pointer เคลอ่ื นท่ตี ามแนวแกนโดยทั่วไปใชช ว ยในการเขียนเสน ใหอยใู นแนวแกนนอน หรอื แกนตัง้OSNAP (Object Snap) คอื การกําหนดใหโ ปรแกรมเลอื กตําแหนง หรอื จดุ ตามทไ่ี ดกําหนดไวเ ชน จุดปลายของเสน (Endpoint) จดุ ตดั ของเสน (Intersection) จุดก่ึงกลางของวงกลม (Center) เปนตน มีประโยชนม ากในการทํางาน เพราะทาํ ใหผ ใู ชไ มต องกะระยะดว ยสายตา หรอื ประมาณตําแหนงจดุ ตา ง ๆ ทาํ ใหก ารทํางานรวดเรว็ และแมน ยาํDYN (Dynamics Input) คอื การกําหนดใหโปรแกรมแสดงรายละเอยี ดของพิกดั หรอื คาตา ง ๆ ขณะทําการเขยี นเสน ซง่ึ สามารถกาํ หนดหรอื แกไ ขคาที่แสดงได คลายกับการกําหนดคาท่ี Command lineวธิ เี ขาสโู หมด Setting โดย Right-Click ท่ี Grid Display บน Status bar เลอื ก Setting…เปลี่ยนคาระยะตัวเลขในชอ งตามตอ งการ การเปด -ปด Grid On หรอื กดปุม Function 7 (F7) ท่ี keyboard เพ่ือแสดง GridSnap On หรอื กดปมุ Function 9 (F9) ที่ keyboard เพอ่ื ใหการเคลอื่ นของ Pointer ตามระยะทต่ี งั้ คาSnap spacing 1.3.3 คําสง่ั ชว ยในการกระโดดลงตาํ แหนง (Object Snap)คําสัง่ ชวยในการกระโดดลงตาํ แหนง เปนกลมุ คาํ สัง่ ท่ใี ชสาํ หรบั บงั คบั ให Cross Hair กระโดดไปยังตาํ แหนง ที่กําหนด เชน ปลายเสน กลางเสน จุดตดั กนั ฯลฯ โดยการใชง านคาํ สงั่ น้นั จะตองใชงานรวมกบั คําสงั่ ตา ง ๆ ในสวนของโปรแกรม 1.3.3.1 การเรียกใชก ลุม คาํ สัง่ ชวยกระโดดลงตาํ แหนงกดปมุ Shift ทีแ่ ปนพมิ พค าง และคลิก เมาสป มุ ขวา โปรแกรมจะแสดงเมนูของคําสงั่ กระโดดลงตําแหนง(Object Snap) บนพืน้ ท่หี นาจอโปรแกรม รูปที่ 1.26 เมนูคาํ สัง่ ชวย Object Snap

เลือกจากกลมุ คําส่งั Tools > Toolbars > Auto CAD > Object snap หรือ เลอ่ื นเมาสไ ปยงั กลมุ เครอ่ื งมอืFloating Toolbar ใด ๆ ท่แี สดงอยู แลวคลิกเมาสป ุม ขวา โปรแกรมจะแสดงแทป็ รายช่อื ของกลมุ เครื่องมือและทาํ การเลือกเคร่ืองมือ Object snap 1.3.3.2 การตงั้ คาคําสั่ง OSNAP (Object Snap) แบบอตั โนมตั ิในการใชค ําส่งั ชว ยกระโดดลงจดุ นัน้ ผใู ชงานสามารถใชการปด -เปด โดยการกดปุม F3 และสามารถตง้ั คา การกระโดดลงจุดใหเปนแบบอัตโนมัติได โดยการเลอื กคําสั่ง Tool > Drafting Settings > Object Snapโปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ Drafting Setting ผใู ชงานสามารถเลือกคําส่ังชวยกระโดดลงจดุ ตา ง ๆ ไดด ว ยการคลกิ Check box ในกรอบส่ีเหลี่ยม หนา คําสั่ง ใหแสดงเคร่ือง หมาย จากน้นั ใหกดปุม OK รูปที่ 1.27 กรอบโตต อบ Drafting SettingEndpoint เปน คําสัง่ เมอ่ื ตองการใหเ มาสใชจ บั ปลายของวัตถุไมวาจะเปน เสน ตรง 1หรอื เสน โคง รูปที่ 1.28 การแสดงเมนูคาํ สงั่ ชวย Object SnapMidpoint เปนคําสงั่ เมือ่ ตองการใหเ มาสใชจ ับจดุ ก่งึ กลางของเสนไมว า จะเปน เสน ตรง หรอื เสนโคงโปรแกรมจะคาํ นวณหาจดุ ก่ึงกลางเสนที่ถูกเลือก และจะแสดงสัญลักษณร ูปสามเหล่ยี มตาํ แหนงกึ่งกลางเสนที่เลือกนัน้

รปู ที่ 1.29 การใชค าํ สั่ง Object snap แบบ MidpointCenter เปนคาํ สั่ง เมื่อตองการใหเ มาสใชจ บั จดุ ศูนยก ลางของวัตถนุ ้นั ไมวาจะเปน จดุ ศนู ยกลางของวงกลมสวนโคงหรอื วงรโี ปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณว งกลมท่ีตําแหนงจดุ ศนู ยก ลางของวงกลมหรือสว นโคง เม่ือผูใชง านทําการเลอ่ื นเมาสไ ปยงั เสน ของวงกลมหรือสว นโคง รปู ท่ี 1.30 การใชคาํ สั่ง Object snap แบบ CenterNode เปน คาํ สงั่ เม่อื ตอ งการใหเ มาสใชจบั จดุ (Point) ที่เคยเขียนไวจากคาํ ส่งั Point คาํ สัง่ Divideคําส่งั Measure รปู ที่ 1.31 การใชค าํ ส่งั Object snap แบบ NodeQuadrant เปน คําสง่ั เมือ่ ตองการใหเ มาสใชจ บั ท่ี Quadrant ของวงกลมตาํ แหนง (0, 90, 180, 270องศา) ทอี่ ยูใกลท ส่ี ุด

รปู ท่ี 1.32 การใชค าํ ส่งั Object snap แบบ QuadrantIntersection เปน คาํ สงั่ ท่ชี วยใหกระโดดลงตาํ แหนง ของจุดตดั กนั ของเสนหรอื ตําแหนง ทป่ี ลายเสนสองเสนมาชนกนั โดยทโ่ี ปรแกรมจะคาํ นวณหาจดุ ตัดกนั หรือหาจุดท่เี ชื่อมชนกัน และจะแสดงสัญลกั ษณรปู กากบาทแสดงตําแหนง จดุ ตดั กนั ของเสนทเ่ี ลือกนน้ั รปู ท่ี 1.33 การใชค ําสงั่ Object snap แบบ IntersectionExtension เปนคาํ สง่ั ทชี่ ว ยใหก ระโดดลงตําแหนงในทิศทางเดมิ ของเสนตน แบบตามระยะท่ผี ูใชง านกําหนดซึ่งในการเลือกคําส่ัง Extension น้นั ข้ันตอนที่ 1 ผูใ ชง านจะตอ งเลอ่ื นเมาสมายงั ตาํ แหนงของปลายเสนตน แบบเพ่อื ใหโปรแกรมแสดงสญั ลกั ษณร ปู กากบาท ทปี่ ลายเสน ข้นั ตอนที่ 2 ใหเ ลื่อนเมาสอ อกตามแนวที่โปรแกรมแสดงทิศทางท่ีเกดิ ขึ้น โดยท่ีผูใชง านสามารถคลิก เมาสซ า ยเพ่อื กําหนดจดุ ใหม หรอื พมิ พระยะหางที่ตองการจากปลายเสน ไดโ ดยตรง รูปท่ี 1.34 การใชค ําสง่ั Object snap แบบ ExtensionPerpendicular เปนคําส่ังทช่ี ว ยกระโดดลงตาํ แหนงของจุดต้งั ฉากของเสนทต่ี องการเช่อื มตอ โดยการใชงานของคําสัง่ นนั้ ผูใชง านจะตอ งเลอื กเสน ทตี่ องการทํามุมฉากกับเสนทีล่ ากอยู เมือ่ เล่ือนตําแหนง ของเมาสไปแตะทีเ่ สนทีต่ องการ โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณม มุ ฉากขึ้น

รูปที่ 1.35 การใชค าํ ส่ัง Object snap แบบ PerpendicularTangent เปนคําสง่ั ทช่ี ว ยกระโดดลงตาํ แหนง ของจุดสมั ผสั ของวงกลม หรือสว นโคง เพอ่ื ใหเ สนที่นาํ มาสมั ผสักบั วงกลมหรอื สวนโคงมคี วามราบเรียบในการเชอื่ มตอ กัน โดยที่โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณว งกลมสมั ผัสเสนตรง ที่บริเวณขอบของวงกลมหรอื สว นโคง ท่ผี ูใชง านเลอื ก รูปท่ี 1.36 การใชค าํ ส่ัง Object snap แบบ TangentNearest เปน คาํ ส่งั ท่ชี วยในการกระโดดลงตาํ แหนง ทใ่ี กลท ี่สุดของจดุ ทต่ี องการ โดยการเล่อื นตาํ แหนง CrossHair ไปยังตําแหนง ของเสนที่ตองการ โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณ ณ ทีต่ ําแหนงที่เมาสว าง รปู ที่ 1.37 การใชค าํ สงั่ Object snap แบบ NearestParallel เปนคําสั่งที่ใชในการชวยลากเสน ใหมใหขนานกับเสน ที่ตองการ ในการใชง านนน้ั เมือ่ กําหนดจดุ เรม่ิ ตน ของเสน ใหมแ ลว ขั้นตอนท่ี 1ใหน ําเมาสไปแตะเสน ทตี่ องการคูขนานโปรแกรมจะ แสดงสัญลกั ษณParallel ข้ันตอนท่ี 2 คอ ย ๆ ขยบั เมาสอ อกเสน เมื่อตาํ แหนงของเสนขนานกนั โปรแกรมจะแสดงแนวเสน ท่ีตอ งการ

รปู ท่ี 1.38 การใชคําสงั่ Object snap แบบ ParallelApparent Intersection เปน คาํ ส่งั ท่ชี วยใหก ระโดดลงตําแหนง ของจดุ ทคี่ าดวาจะตดั กันของเสน หรอืตําแหนง ทปี่ ลายเสนสองเสน ที่คาดวา จะมาชนกัน โดยทโี่ ปรแกรมจะทําการคํานวณหาจุดจะตดั กันหรือจดุ ท่ีจะเชือ่ มชนกนั โดยท่ขี ้นั ตอนท่ี 1 ผูใชงานจะตองคลิกเมาสป ุม ซายเพอื่ กําหนดเสนหลกั กอ น และขน้ั ตอนท่ี 2เลือกเสน ท่ตี องการใหต ัดกบั เสนหลกั โปรแกรมจะแสดงสัญลักษณร ูปกากบาท ทต่ี ําแหนงจดุ ตดั กันของเสน ท้ังสองเสน นัน้ รปู ท่ี 1.39 การใชค าํ สั่ง Object snap แบบ Apparent Intersectionการใชง านจะไมน ยิ มเลอื กตวั ชว ยทัง้ หมด เน่ืองจากจะทําใหยากตอการทาํ งาน เพราะโปรแกรมอาจจะเลือกไมตรงกับความตอ งการของผูใช จะนยิ มใชว ธิ ี เรยี กเปนคร้งั คราว โดยการกดปมุ “Shift + Right-Click” หรือ“Ctrl + Right-Click” กไ็ ด 1.3.4 การใช function keyboard ในโปรแกรม Auto CADในการใชโ ปรแกรมเขยี นแบบงานภาพ 2 มติ ิ นอกจากจะใชคําสง่ั ตาง ๆ ในการเขยี นแบบงานแลว ปุมฟง คช นัคียบ นแปน พมิ พก ม็ ีสวนสําคัญที่จะชวยใหผ เู ริม่ ตน ของการเขียนแบบงาน ควบคมุ การใชง านของคาํ สั่งเพื่อเพม่ิความรวดเร็วในการเขยี นแบบงานไดดยี ่ิงขึ้น ซ่งึ มรี ายละเอยี ดแตละปมุ ตามรปู ท่ี 1.40 และตารางท่ี 1.1 ดงั นี้

รปู ท่ี 1.40 function keyboardตารางท่ี 1.1 สรุปการใชง าน การใช function keyboard ในโปรแกรม Auto CADAuto CAD ESC ใชย กเลกิ คําสัง่ ใด ๆ ที่กําลงั ทาํ งานENTER ใชย นื ยันขอ มลู ที่ปอ นผา น command line หรือใชเรยี กคําส่งั ที่ผานมาDel ใชล บวตั ถุ แทนคาํ ส่ัง EraseF1 เรียกหนา ตา ง ขอความชวยเหลอื (Help)F2 เปด/ปด Auto CAD Text Window เพื่อดู คําสั่งทง้ั หมดจาก Command lineF3 ปด /เปด OSNAPF4 ปด/เปด Tablet DigitizerF5 ควบคุมดา น front, right, top ของ Isometric ViewF6 ปด /เปด การแสดงผลของคา coordinateF7 ปด/เปด GRIDF8 ปด/เปด ORTHOF9 ปด /เปด SNAPF10 ปด /เปด POLARF11 ปด /เปด OTRACKF12 ปด /เปด DYN1.3.4.1 ปุม F1 เปน ฟงคชันคยี ใ ชส าํ หรับการเขา สูระบบความชวยเหลอื ของโปรแกรม (Help) เมือ่ ผใู ชง านตองการรายละเอียด หรอื คาํ อธบิ ายการใชง านของโปรแกรมรวมถงึ คาํ สัง่ ตาง ๆ

รปู ที่ 1.41 หนา จอ Auto CAD 2010 Help 1.3.4.2 ปมุ F2 เปน ฟงคช ันคยี ท ีใ่ ชส าํ หรบั การเขาสูหนาจอ Text Windows ของโปรแกรม เพ่อื ดูขอมูลในการใชค าํ ส่ังทผ่ี า นมา เปน การแสดงรายละเอยี ดของคําสง่ั ยอ นหลงั ใน Command Line รูปท่ี 1.42 หนา จอ Auto CAD Text Window 1.3.4.3 ปุม F3 เปนปมุ ฟงคชนั คยี ท ่ใี ชส ําหรับควบคมุ การปด-เปด การทาํ งานของคาํ ส่ังชว ยการกระโดดลงจดุ แบบอตั โนมัติ (Object Snap) ในการเขยี นแบบงาน 2 มิติ

รูปท่ี 1.43 ลักษณะการกระโดดลงตําแหนงแบบปลายเสน 1.3.4.4 ปุม F4 เปน ปมุ ฟง คช ันคียท ใ่ี ชสาํ หรับควบคุมการ ปด-เปด การทาํ งานของคําสัง่ ชว ยการกระโดดลงจุดแบบอัตโนมัติ (Object Snap) ในการเขียนแบบงาน 2 มิติ1.3.4.5 ปุม F5 เปน ปมุ ฟงคชันคียท ีใ่ ชในการควบคุมการปรบั เปลย่ี นระนาบแนวแกนของภาพ 3 มติ ิแบบไอโซเมตรกิ เม่ือทาํ การกดปมุ F5 โปรแกรมจะทําการเปลยี่ นระนาบไปตามลาํ ดับคือ Isoplane Top, IsoplaneRight และ Isoplane Left เพ่ือใหผ ใู ชง านเกดิ ความสะดวกในการเขยี นเสน ตามแนว 30 องศา รูปที่ 1.44 รูปแบบของระนาบแกนไอโซเมตริก 1.3.4.6 ปมุ F6 เปน ปุมฟงคชันคียท ่ใี ชในการปด -เปด การปรบั เปลี่ยนระนาบของ UCS Icon แบบDynamic บนผิวหนาของชิน้ งาน 3 มิติ 1.3.4.7 ปุม F7 เปน ปุมฟงคช ันคยี ท ใ่ี ชใ นการปด-เปด การแสดงเสน ตาราง (Grid) บนหนา จอทาํ งานซ่ึงคามาตรฐานของเสนตารางนัน้ จะมรี ะยะหา งของเสน ในแกน X=10 หนว ย และในแกน Y=10หนวย และจะแสดงคาของเสน หลักในทุก 5 ชอง

รูปที่ 1.45 ลกั ษณะการแสดงเสน (Grid)การปรบั แตงการแสดงเสน (Grid) ผใู ชง านสามารถปรับคาระยะหา งของจดุ กรดิ ได โดยการเลือกคําส่งั จากกลุมคาํ ส่งั Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ Drafting Setting จากนน้ั ทําการเลอื กSanp and Grip และปรบั ระยะหางของเสน ในแนวแกน X (Grid X spacing) ปรับระยะหางของเสนในแนวแกน Y (Grid Y spacing) และปรบั คาแสดงแกนหลัก (Major line every) รูปที่ 1.46 การปรบั คา Grid Spacing

1.3.4.8 ปมุ F8 ใชช วยใหก ารเขียนเสน อยูในแนวแกนนอน (X) และแกนตั้ง (Y) ไดสะดวกและรวดเร็วโดยผใู ชง านไมตองกงั วลวาเสน ดงั กลา วจะอยูในแนวแกนหรือไมโดยใช Mouse คลิกที่ ORTHO Tab บนStatus bar หรอื กด Function 8 (F8) ที่ keyboard เพือ่ ปด /เปด โหมดบังคับเสนทเี่ ขียนใหอยเู ฉพาะในแนวแกน รปู ท่ี 1.47 การใชงาน Osnap 1.3.4.9 ปมุ F9 เปน ปุมฟงคชันคยี ที่ใชส าํ หรบั การ ปด- เปด การควบคุมระยะการเคล่อื นท่ขี องเสน(Snap) ตามระยะท่กี ําหนด เชน ระยะแกน X=10 และแกน Y=10 จะทําใหต ําแหนงของเสน Cross Hairเคล่อื นท่ไี ปตามระยะทกุ ๆ 10 หนวยในแนวแกน X และแนวแกน Y โดยปกติปุมฟง คช นั คยี  F9 (Snap) จะใชรวมกับปุมฟง คชันคีย F9 (Snap)การปรบั แตง ระยะควบคมุ การเคลอ่ื นที่ของเสน (Snap) ผูใชงานสามารถทําการปรับแตง ไดโดยการเลอื กคาํ ส่งั จากกลมุ คาํ สง่ั Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตตอบDrafting Setting จากนนั้ ทําการเลือก Snap and Grid และปรบั ระยะหางของเสน ในแนวแกน X (Snap Xspacing) ปรับระยะหา งของเสนในแนวแกน Y (Snap Y spacing) รปู ที่ 1.48 การปรบั คา Snap spacing

1.3.4.10 ปมุ F10 เปน ปุม ฟงคช ันคยี ท ใ่ี ชใ นการควบคมุ การปด -เปด แนวเสนเชงิ มมุ (POLAR) ตามองศาที่กาํ หนด ซ่ึงจะชว ยใหผ ูใชงานสามารถทาํ การเขยี นแบบงานไดสะดวกยง่ิ ขน้ึ รูปที่ 1.49 ลักษณะการแสดงแนวเสนเชิงมมุการปรับแตงองศาของแนวเสนเชงิ มมุ ผใู ชง านสามารถทําการปรับแตง ไดโ ดยการเลอื กคาํ สั่ง จากกลมุ คาํ สัง่Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตตอบ Drafting Setting จากนน้ั ทาํ การเลอื ก PolarTracking และเลอื กองศาทีต่ อ งการกาํ หนดแนวเสนเชิงมมุ ท่ี Incremen รูปที่ 1.50 การปรบั คา Increment angle 1.3.4.11 ปุม F11 เปนปุมฟง คชนั คยี ท ่ีใชควบคุมการปด -เปด ใชงานของ Object Snap Tracking ท่ีใชเ ปนเครอ่ื งมอื ในการหาตาํ แหนงของจดุ ตดั ในแนวนอนและแนวต้งั ฉากจากจดุ ทกี่ ําหนด โดยใชงานรวมกับObject Snap ทตี่ อ งเปดใชง านอยู รูปที่ 1.51 ลักษณะของการใชง าน Object Snap Tracking

1.3.4.12 ปมุ F12 เปนปุมฟงคชนั คียท ใ่ี ชค วบคุมการปด-เปด การแสดงแนวเสน และการปอนคาตวั เลขในขณะทํางานบนหนา จอ (Dynamic Input) แทนการปอ นคาในบรรทัด Command รูปท่ี 1.52 ลกั ษณะของการใช Dynamic Input 1.3.5 การใชง านคาํ สั่ง DYN (Dynamic Input)โปรแกรมจะแสดงคา พิกัดของ Pointer ขนาดและมุมขณะทาํ การเขยี นแบบ ผใู ชสามารถปอนคา ทตี่ อ งการได โดยการใชป ุม “Tab” ท่ี Keyboard ชว ยในการสลับระหวา งการปอ นคา มุมและขนาดการควบคมุ การทาํ งาน โดยคลิกท่ี DYN Tab บน Status bar หรอื กดปุมFunction 12 (F12) ท่ี Keyboard เพ่อื ปด/เปด คําสั่ง…วธิ ีเขาสโู หมด Setting โดย Right-Click ท่ี DYN บน Status bar เลือก Setting… รูปท่ี 1.53 การกําหนด Dynamic Input Model Preview: คอื ตัวอยา ง Dynamic Input ในหนา ตางการเขยี นแบบปกติ Layout Preview: คอื ตัวอยาง Dynamic Input ในหนาตางการพล็อตแบบ Color: การเลอื กสี Dynamic Input Size: ปรบั ขนาด Transparency: กาํ หนดให Dynamic Input โปรง แสง

1.3.6 การใชเ มาสในการวาด ในการใชงาน Auto CAD ความชาํ นาญของผูใ ชมีสวนชวยอยา งมากในการทํางานใหมีความสะดวก รวดเรว็และมีประสิทธภิ าพ โดยจะใชม ือขวาในการพมิ พคาํ ส่งั บนคยี บอรด และมอื ซา ยควบคุมเมาส เชน เดียวกบั การใชคยี บอรด ท่ีจะเนนการใชต ัวยอ เทคนคิ ในการใชงานเมาสในโปรแกรม Auto CAD มมี ากมายก็เพอ่ื เพ่ิมความรวดเรว็ ในการทํางาน ในเบอ้ื งตน นีจ้ ะกลา วถึงเทคนคิ พ้ืนฐานกอ น และในบทตอ ไปจะเพิม่ เติมขน้ึ ในภายหลงั1.3.6.1 คลิกซาย (Left Click = Select) เชน เดยี วกบั โปรแกรมทั่วไป การคลกิ ซา ยจะใชในการคลิกปุม และเมนูตา ง ๆ ในโปรแกรม ในการวาดจะใชในการคลกิ เลือกทลี ะวัตถุหรือตีกรอบเลือกเพอ่ื ทําการปรับปรงุแกไข ในระหวา ง ท่ใี ชค าํ สง่ั หากตองการยกเลกิ ใหกด Esc1.3.6.2 คลิกขวา (Right Click = Option)ระหวางท่ใี ชค าํ สั่งวาดอยู การคลกิ ขวาจะแสดงตวั เลอื กในการ ใชค ําสัง่ เปนรายการขึ้นมาทตี่ วั ช้ีพกิ ัด หรอื เม่ือเราพมิ พคาํ สง่ั เชน พมิ พ l หรอื line เพ่อื ลากเสน คลิกขวาจะเทา กบัการกด Enterเมื่อเรมิ่ ลากเสนแลว ลองคลิกขวาจะแสดงทาง เลือกตาง ๆเชน Enter, Cancel หรอื Close ใหเ ลอื กสงั่ งานไดโ ดย ไมตอ งกมลงมองบรรทัดคําส่ัง 1.3.6.3 คําส่งั ในการเล่อื น (pan) Pan Realtime เมื่อเรยี กคาํ สง่ั pan โปรแกรมจะเปลี่ยนจากสัญลักษณ crosshairเปนรูปมือ การใชงานโดยใชว ิธีการ Drag mouse ไปในทิศทางทีต่ อ งการ หนาจอกจ็ ะเลื่อนไปในทิศทางนั้น 1.3.6.4 คาํ ส่งั ยอ -ขยาย (Zoom) คาํ สงั่ ยอ-ขยาย พ้นื ทห่ี นา จอ ท่ใี ชก นั บอ ย ไดแก 1) Zoom Realtime เม่ือเรยี กคําส่งั Zoom Realtime โปรแกรมจะเปลี่ยนจากสญั ลักษณCrosshair เปนรปู แวนขยาย การใชงานโดยใชว ธิ กี าร Drag Mouse ข้ึน-ลง หนาจอจะขยายหรอื ยอตามการเคล่อื นท่ีของเมาส

  1. Zoom Window เม่ือเรยี กคาํ สั่ง Zoom Window โปรแกรมจะแจงใหผูใชงานกาํ หนดมมุ ของกรอบรูปสเี่ หล่ียม ซึ่งแทนพน้ื ที่ทตี่ องการขยาย 3) Zoom Extents เมือ่ เรียกคําสัง่ Zoom Extents โปรแกรมยอหรือขยายรูปที่เขียนทง้ั หมดใหเ ต็มหนาจอพอดี 4) Zoom Previous เปนการสงั่ ใหโ ปรแกรมเปลี่ยนหนา จอยอ หรอื ขยาย ยอนกลบั ขั้นตอนที่มีการส่งั งานกอ นหนานี้**** โดยทว่ั ไปจะใชวธิ เี รียกคําสั่ง pan โดยกดปุม scroll ของmouse คางไว แลว เคล่อื น mouseไปในทศิ ทางทต่ี อ งการ**** โดยทั่วไปจะใชว ิธีเรยี กคาํ ส่งั Zoom Realtime โดยหมนุ ปมุScroll ของ Mouse ขน้ึ -ลงหนา จอ จอขยายหรอื ยอตามการเคลื่อนท่ีของปุม Scrollและถาดับเบ้ลิ คลิกลกู กลงิ้จะ Zoom ขยายเต็มรปู (Zoom Extent) 1.3.6.5 การรเี จน (Regen)ในการแสดงผลรูปภาพท่วี าดใน Auto CAD มกั จะเปน การแสดงผลท่ีตอ งการความรวดเรว็ ดังน้ันภาพทแี่ สดงผลบางภาพอาจจะมลี ักษณะทไ่ี มค อยละเอียดมากนักตัวอยางเชน รูปวงกลมเม่ือเราใชค าํ สัง่ Zoom เม่ือ Zoom ไปแลว จะเหน็ เสนโคง เปนเหลีย่ ม ๆ ไมล ะเอียดเทา ทีค่ วร เราสามารถใชคาํ สั่ง REGEN เพื่อให Auto CAD ทาํ การคํานวณภาพและแสดงผลใหมจ ะทําใหภาพนัน้ ละเอยี ดยงิ่ ขนึ้ เราสามารถใช คําส่ัง REGEN ทาง Command Line หรอื กอ นเลือกคาํ สง่ั Regen หลงั จากใชค าํ ส่งั Regen รปู ที่ 1.54 การรีเจน (Regen) 1.3.7 การกําหนดพ้นื ท่แี ละหนวยการใช ในงานเขยี นแบบ 1.3.7.1 การกาํ หนดพื้นทแ่ี ละขนาดของกระดาษ (Drawing Limits)กอ นเริม่ ตน เขียนแบบ จะตองกําหนดขนาดของกระดาษ ใหเทา กบั กระดาษมาตรฐานทีจ่ ะพิมพห รอื พลอ็ ตแบบการตัง้ คา ขนาดกระดาษ
  1. คลกิ ท่ีแถบคาํ สง่ั Format > Drawing Limits 2) ในชอง Command: Specify lower left conner or (ON/OFF) <0.0000,0.0000>: ใหกดEnter ผาน 3) ในชอ ง Command: Specify lupper right conner <420.0000,297.0000> : ใหใ สคาขนาดกระดาษ ดงั น้ีกรณีกระดาษขนาด A3 ใสค า 42,29.7 คา แรกคอื คาในแนวแกน X คาตวั หลงั คือคา ในแนวแกน Y (กรณีกระดาษขนาด A4 ใสค า 29.7, 21) แลวกด Enter 1.3.7.2 การตง้ั คา Snap และ Gridเพื่อกําหนดการกระโดดของเคอรเ ซอรและระยะหางของจุดอา งองิ บนพน้ื ทเี่ ขียนแบบ เพือ่ ชว ยใหก ารเขยี นแบบงา ยข้ึน คลกิ ขวา ทไ่ี อคอน Grid Display ดานลา ง แลว คลิกขวา เลือก Settings หรือ ไปท่ีแถบคําสั่งTools คลกิ เลอื ก Drafting settings จะปรากฏไดอะล็อกบอ็ กซ Drafting settings- กาํ หนดระยะ SNAP ไดโดยใสคาลงในชอง Snap X spacing และ Snap Y spacing- กาํ หนดระยะ GRID ไดโดยใสค า ลงในชอ ง Grid X spacing และ Grid Y spacing รูปที่ 1.55 การต้งั คา Snap และ Grid 1) ในกรอบ Snap ชอ ง Snap X spacing ใสค า 1 ชอง Snap Y spacing ใสค า 1 เปนการใสค าใหการกระโดดของเคอรเซอร ไปในทิศทางแกน X และแกน Y คร้ังละ 1 หนว ย บนพื้นทเี่ ขยี นแบบ 2) ในกรอบ Grid ชอ ง Grid X spacing ใสค า 1 ชอง Grid Y spacing ใสค า 1 เปน การใสค าระยะหา งของจุดอา งองิ ในทศิ ทางแกน X และ Y เทากับ 1 หนว ย บนพ้ืนทเ่ี ขยี นแบบแลว คลกิ OK3) การแสดงผล ใชค ําส่งั Zoom All กด F7 (แสดง Grid)

รปู ท่ี 1.56 พ้นื ท่เี ขยี นแบบ1.3.7.3 การตั้งคา เปน หนว ยใชงาน ในงานเขียนแบบกอสรางนิยมใชห นว ยเปนเมตร 1) คลกิ ท่แี ถบคาํ สง่ั Format > Unit… 2) จะปรากฏไดอะลอ็ กบอ็ กซ Drawing Units รูปท่ี 1.57 หนา ตา ง Drawing Units 3) ในกรอบ Length ชอง Type: ใหเลอื ก Decimal 4) ในกรอบ Length ชอง Precision: ใหเลือก ทศนยิ ม 2 ตาํ แหนง 0.00 5) ในกรอบ Angle ชอ ง Type: ใหเลอื ก Decimal Degrees 6) ในกรอบ Angle ชอ ง Precision: ใหเลือกไมมที ศนยิ ม 0 Clockwise ปลอยใหวา งไวองศาจะทวนเขม็ นาฬกิ า

  1. ในกรอบ Insertion ชอ ง Unit to scale inserted content: ใหเ ลือก Meters แลว คลกิ OK รปู ที่ 1.59 หนา ตา ง Layer Properties Manager

ตารางที่ 1.2 การใชคาํ สง่ั พื้นฐานการใชงานคาํ สง่ั Layerตวั อยา ง แสดงการตั้งคา Layer สาํ หรับนําไปใชในงานเขยี นแบบ ใหกําหนดชือ่ ของ Layer ดงั นี้รูปที่ 1.60 การต้งั คา New Layer 1.3.8.1 การเปล่ียนสี Layer หากตองการใหเปลีย่ นสี เปน สที ่ีตอ งการสามารถ เลือกเปล่ยี นไดโดย ใชเมาสค ลกิ เลือกท่ตี ําแหนง สีจะไดไ ดอะล็อกบ็อกซ Select Color ตามรปู ท่ี 1.61

รปู ที่ 1.61 หนาตาง Select Color 1.3.8.2 การจัดการเกยี่ วกบั รูปแบบเสน Linetype ชนดิ หรอื รูปแบบของเสนมีความสาํ คญั อยางมากในการเขียนแบบ เน่ืองจากเปนสัญลักษณทจ่ี ะสามารถระบุ หรือส่อื ความหมายใหกับผทู ีอ่ านแบบเขา ใจถงึ รูปทรงและรายละเอียดของงาน ไดถ กู ตองตวั อยางเชน ถา แนวเสน เปน เสน ประ (Hidden Line) แสดงวา แนวเสน นนั้มสี ว นอืน่ ของ ผิวงานบังอยู ถาเปนงานจรงิ กไ็ มส ามารถมองเปน ได เปนตนการเปลย่ี นรูปแบบเสน LineTypeเลือกตรงตําแหนง เดมิ โปรแกรมต้งั คาไวเ ปน Continuous ของ Layer ท่เี ลือกจะปรากฏไดอะลอ็ กบอ็ กซSelect Linetype ดังรูปท่ี 1.62 รูปที่ 1.62 หนา ตาง Select Linetypeตอ งการเพ่มิ รปู แบบของเสน สามารถคลิก Load… ปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ Load or Reload Linetypesตามรปู ท่ี 1.63

รูปที่ 1.63 หนาตา ง Load or Reload Linetypesเลอื กรปู แบบเสน ท่ตี องการใชงาน สามารถเลอื กกี่แบบกไ็ ด ซ่งึ ในแตละชนดิ ของเสน โปรแกรมจะสรางไวให 3ขนาด เชน Center, Center2 (.5x), CenterX2 (2X) ซ่ึงหากเปรยี บเทียบสัดสว นของเสน Center2 จะเปนครึ่งหน่ึงของ Center และ CenterX2 จะเปนสองเทา ของ Center เปน ตน1.3.8.3 การจดั การเก่ยี วกับความหนาเสน Linewieght หากตองการเปล่ียนรปู แบบของความหนาเสนสามารถเลอื กท่ีเสนใน Layer นัน้ จะปรากฏไดอะลอ็ กบ็อกซ Lineweight ตามรปู เลอื กนํ้าหนักเสนที่ตองการใชง าน กด OK กจ็ ะไดค วามหนาทีต่ อ งการ รูปที่ 1.64 หนาตาง Lineweight

1.4 ระบบพิกดั สาํ หรบั การเขียนแบบ เมอื่ ตองการเขยี นเสนความยาวตามตอ งการ หรอื ระบุตาํ แหนง วัตถใุ ด เราจะตอ งระบุพกิ ัดจุดปลายแตละจุดของเสนหรือของวตั ถนุ ้ัน เปน ตน ซ่งึ ในสว นของโปรแกรมไดมกี ารแบง ระบบพกิ ดั เพื่อใชกําหนดพิกดัตําแหนงดงั นค้ี ือ 1.4.1 ระบบพิกัดสมบูรณ (Absolute Coordinate) เปน ระบบพิกดั ท่วี ัดระยะจากจดุ เรม่ิ ตน (Origin) ที่จุดตดั ของแกน X=0 และ แกน Y=0 ไปยงั จุดตดั กนั ทีเ่ กิดขนึ้ ในระนาบแกน X และแกน Y โดยมรี ปู แบบดังนค้ี ือ X, Y ปอ นคา ท่ี command line Command: _line Specify first point: 2, 3 Specify next point or [Undo]: -1, 2 Specify next point or [Undo]: -2, -1 Specify next point or [Close/Undo]: 3, -4 Specify next point or [Close/Undo]: c ถาปอ นอกั ษร c [Close] โปรแกรมจะทาํ การเขยี นเสน จากจดุ ปจจุบันไปยงั จุดเริม่ ตน ของการใชคาํ สงั่รูปท่ี 1.65 การอา นคา ระบบพิกดั สมบรู ณ (Absolute Coordinate) 1.4.2 ระบบพกิ ดั สัมพัทธ (Relative Coordinate) เปน การปอ นคา ในแนวแกน X และ Y โดยทาํ การอางองิ จากจดุ สุดทายของการปอนใหม ีคาเปนจุด Origin โดยมีเคร่อื งหมาย @ นาํ หนา มรี ปู แบบดงั น้ี @ X,Yปอนคาท่ี command line Command: _line Specify first point: Specify next point or [Undo]: 2, 1 Specify next point or [Undo]: @1, 2 Specify next point or [Close/Undo]: @-5, -1 Specify next point or [Close/Undo]: @1, -4 Specify next point or [Close/Undo]: @2, -1 Specify next point or [Close/Undo]: cรูปที่ 1.66 การอา นคาระบบพิกดั สมั พทั ธ (Relative Coordinate) 1.4.3 ระบบพกิ ัดสมั พนั ธเ ชงิ มมุ (Relative Polar) เปนการปอนคา ระยะรศั มแี ละมมุ ที่เกิดจากเสนรัศมีทีก่ ระทาํ กบั แกน X (0 องศา) โดยอา งองิ จากจดุ สุดทายของการปอนใหมคี าเปนจดุ Origin มีเครื่องหมาย@ นาํ หนา มีรปู แบบดงั น้ีคือ @ ระยะทาง < มุม

ปอ นคาที่ command line Command: _line Specify first point: Specify next point or [Undo]: 2, 1 Specify next point or [Undo]: @2<0 Specify next point or [Close/Undo]: @2<90 Specify next point or [Close/Undo]: @2<180 Specify next point or [Close/Undo]: @1<225 Specify next point or [Close/Undo]: @3.2<180 Specify next point or [Close/Undo]: @5.1<270 Specify next point or [Close/Undo]: @3<0 Specify next point or [Close/Undo]: @2<45รูปท่ี 1.67 การอานคา ระบบพกิ ดั สมั พนั ธเชงิ มุม (Relative Polar)หมายเหตุ 1. มุมทวนเข็มนาฬกิ ามีเคร่ืองหมายเปน บวก มมุ ตามเขม็ นาฬิกามีเครอ่ื งหมายเปน ลบ2. ผใู ชงานจะตอ งทราบถงึ ขนาดความยาวเสนและมมุ ของเสนกบั แนวแกน X 1.4.4 การกาํ หนดคาพิกดั ผา นทาง Dynamic Input การกาํ หนดคา จะมคี วามหมายเหมือนกับการกาํ หนดคาแบบ Relative coordinate และ Relative polar coordinate เพียงแตผ ูใ ชไ มจาํ เปน ตอ งพิมพสัญลกั ษณ @ สามารถพมิ พต ัวเลขไดเลย ตัวอยา งเชน ตอ งการเขียนเสน ในแนวแกนนอน ยาว 100 หนวย การปอนแบบ Relative coordinate คอื พิมพ 100,0 Enter การปอ นแบบ Relative polar coordinate คอื พิมพ 100<0 เปนตนสรปุ หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 Auto CAD เปน โปรแกรมท่ีชวยใหนกั เขียนแบบทาํ งานไดด ีข้ึน สะดวกขึ้น และรวดเร็วมากย่ิงขน้ึคณุ สมบตั ิพเิ ศษเหลานี้ จะไมม ีในการเขยี นแบบดวยมอื อยางแนน อน ซ่ึงในปจจบุ ันการเขยี นแบบดว ยมอื มไี ดนอยมาก นอกจากการเรยี นการสอนเขยี นแบบสถาปต ยกรรมในสถาบนั การศกึ ษาเทา นัน้ ท่ีนกั เรยี นจาํ เปน ตอ งรูไวเ ปนพน้ื ฐาน สาํ หรับความพิเศษของโปรแกรม Auto CAD ท่ีทาํ ใหเหนือกวา การเขียนแบบดวยมอื พอจะสรปุขอ ๆ ไดดังน้ี 1. ความละเอียด ของโปรแกรม Auto CAD ถือวา มมี ากกวา การเขยี นแบบดวยมอื ท่ีใชไ ม Scale เปนตวั วดั จะไมมที างมีความละเอียดถึง ทศนิยม 8 ตําแหนงอยางโปรแกรม อยา งแนนอน 2. ความละเอียดแมน ยาํ หากใชป ากกาเขียนแบบเขียนเสน จากเสนเดิมทีเ่ ขยี นไว คณุ จะตอ งเช็ดหวั ปากกาใหแหง สนทิ อยา งดี แลว จงึ จะเขียนได หากหมกึ ไมแ หง รบั รองวา เสนไมส มํา่ เสมอแนน อน และอาจจะไมต อจากเสน เดมิ กไ็ ด แต Auto CAD มีความแมนยาํ ตอจากปลายเสนเดมิ ดว ยคําสง่ั Object Snap ทส่ี ามารถจบั ไดท ั้งกึ่งกลางสน ปลายเสน หรือจุดศูนยกลางของวงกลมกต็ าม หรือจะเปน คําส่งั Othor Mode (กดแปน

F8) จะเปนการสลบั การทาํ งานแบบใหเ มาสเคลอื่ นทไี่ ดอ ยา งอิสระไปไดท ัว่ หรือจะใหเมาสท าํ งานแบบวิ่งไปตามแนวแกนต้งั และแกนนอน ซ่งึ ทาํ ใหท ํางานไดอยา งรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 3. ลดการซํ้า ในแบบบานเพียง 1 หลงั ถาเขยี นแบบดวยมือ อาจจะตอ งเขียนแบบประตู หนา ตาง ลายกระเบอ้ื ง ฯลฯ ถึงหลายคร้งั ปญหาเชนนจี้ ะไมมเี กิดกับการเขยี นแบบดว ยคอมพวิ เตอรซ ึง่ มีท้ังคาํ สงั่ Copy,Mirror, Offset หรือ Block ทจ่ี ะชว ยใหท ํางานเพียงคร้ังเดยี วแตใ ชไดไ ปตลอด 4. มมุ มองหนาจอโปรแกรม สามารถใชก ลุมคําสั่ง Zoom ยอและขยายแบบงานไดอยา งอสิ ระซึง่ ทาํ ใหไมจาํ เปน ตอ งเพงช้ินงานจนทาํ ใหปวดตา 5. การบอกระยะ การบอกระยะในโปรแกรมมคี วามละเอยี ดเทยี่ งตรงสงู มากกวาการเขยี นแบบดว ยมือแถมยงั สามารถเขียนบอกระยะไปเรอื่ ย ๆ โดยไมตอ งหยดุ ก็ได

กจิ กรรมการเรียนรู1. ขน้ั นําเขา สบู ทเรียน - ผสู อนนําสูเขา บทเรียนในเร่อื งหลักการใชคอมพวิ เตอรส ําหรบั เขยี นแบบดวยโปรแกรม AutoCAD2. ขัน้ สอน นําเขาสบู ทเรียน 1. ผูสอนนําสูเ ขา บทเรยี นในเรอ่ื งหลกั การใชคอมพิวเตอรส าํ หรบั เขยี นแบบดว ยโปรแกรม AutoCAD สอน 1.ผูเรยี นศกึ ษาเรอ่ื งหลักการใชค อมพิวเตอรส าํ หรบั เขยี นแบบดว ยโปรแกรม AutoCAD 2.ผสู อนอธบิ ายเรือ่ งหลกั การใชคอมพวิ เตอรสําหรบั เขียนแบบดวยโปรแกรม AutoCADโดยมกี ารซักถามผเู รียนใหมีสว นรวม 3. ผูสอนสาธติ หลกั การใชคอมพิวเตอรสาํ หรบั เขียนแบบดว ยโปรแกรม AutoCADประกอบโดยมกี ารซกั ถามผูเรยี นใหมสี ว นรวม 4.ผูสอนมอบใหผูเรียนปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 1 ขั้นสรปุ 1. ผูเ รยี นรวมกนั สรปุ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านตามใบงาน 2. ผสู อนอบรมจิตพสิ ัยที่ดีในการทาํ งาน 3. ผสู อนใหผ เู รียนทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นเร่อื งหลักการใชคอมพิวเตอรสาํ หรับเขยี นแบบดว ยโปรแกรม AutoCADส่ือการเรยี น/การสอน 1.หนงั สอื เรยี นวชิ าเขียนแบบโครงสรา งดวยคอมพิวเตอร 2.ใบงานที่......1.......การวดั และประเมินผล วิธวี ดั ผล 1. ตรวจแบบทดสอบผลสัมฤทธกิ์ ารเรียนรูห ลังเรยี น 2. ประเมินผลประเมนิ พฤตกิ รรมรายบคุ คล 3. ประเมนิ ผลพฤติกรรมอนั พึงประสงคโดยผูเรียนและผสู อน เคร่อื งมอื วัดผล 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 2. แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของผูเรียน(แบบประเมินตามใบงาน) 3. แบบประเมินพฤตกิ รรมรายบคุ คล 4. แบบประเมนิ พฤติกรรมอันพงึ ประสงคโดยผเู รยี นและผสู อน

เกณฑการประเมินผล 1. ผลการทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เกณฑผ านรอ ยละ 50 ข้ึนไป 2. ผลการประเมินจากการปฏบิ ตั งิ าน เกณฑผ า น ตอ งไมม ชี องปรับปรงุ 3. ผลการประเมินพฤตกิ รรม เกณฑผา นระดบั ดีกิจกรรมเสนอแนะ 1. ใหนกั เรียนทบทวนการใชงาน การต้ังคา พ้นื ฐานการใชง านโปรแกรมเขียนแบบทเ่ี รยี นมาทัง้ หมดเพื่อใหเ กิดความชาํ นาญ ทักษะ และกระบวนการคดิ เพื่อสรุปผลครั้งตอ ไป 2. คน ควาเกีย่ วกบั ฟงกชนั่ จากคยี บอรดเพิม่ เติมที่เปน ประโยชนในการใชงานโปรแกรมเขียนแบบ แลวนาํ มาสรปุ นาํ เสนอตอครแู ละเพื่อน

แบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยที่ 1 เริม่ ตนการใชง านโปรแกรม Auto CADคําช้ีแจง แบบทดสอบชดุ น้มี ที ั้งหมด 10 ขอ เวลา 10 นาทีคาํ สงั่ จงทําเครอ่ื งหมาย ทับตวั อักษรหนา ขอท่ถี ูกท่ีสดุ เพียงขอเดยี วลงในกระดาษคาํ ตอบ1. ลักษณะการเรียกใชคาํ สงั่ โปรแกรม Auto CAD สามารถเรยี กใชไดก่ีลักษณะก. 3 ลักษณะ ข. 4 ลกั ษณะ ค. 5 ลกั ษณะ ง. 6 ลกั ษณะ2. สวนทใ่ี ชสาํ หรับแสดงการโตต อบขนั้ ตอนการทาํ งานระหวางผูใชง านและโปรแกรม คอื ขอใด ก. Graphic Iconข. Floating Toolbar ค. Command line ง. Layout Space3. สว นทใ่ี ชส าํ หรบั แสดงช่อื และตาํ แหนง ที่อยขู องไฟลงานคือขอใดก. Pull down menu ข. Title bar ค. Model Space ง. Status bar4. ขอใดเปนรูปแบบการปอนคา แบบ Absolute Coordinateก. @ x, y ข. @ _ < _ ค. x, y ง. ลากเมาส และพมิ พร ะยะ5. ทศิ ทางของมุม 0 องศา ของโปรแกรมตามคา โปรแกรมกาํ หนด ตรงกับเลขนาฬิกาใด ก. 12 นาฬิกา ข. 9 นาฬิกา ค. 6 นาฬิกา ง. 3 นาฬิกา6. ขอใดเปน ลักษณะการปรบั หนา จอตามคาํ ส่งั Zoom – Allก. ปรบั หนา จอมุมมองเทา กบั คากําหนดของโปรแกรมในครั้งแรกข. ปรบั หนา จอใหแสดงชน้ิ งานเต็มหนา จอค. ปรบั หนา จอยอ นกลบั ไปกอนหนาง. ปรับหนาจอตามขนาดของกรอบสีเ่ หล่ียมท่ีกาํ หนด7. ขอใดไมใ ชลกั ษณะการเลอื กวัตถุ (Select Objects) แบบกลมุ Crossingก. วตั ถทุ ่ีอยูภายในและถกู เสนกรอบผาดผานถูกเลอื ก ข. พน้ื ทร่ี ะบายในกรอบเปนสีฟาค. วัตถุทอี่ ยภู ายในกรอบเทาน้ันถกู เลือก ง. เสน ขอบแสดงเปน เสนประ8. เมื่อตองการแกไ ขแบบงานท่ีมอี ยูแ ลว และเมอ่ื แกไ ขเสร็จเรียบรอ ยแลว ตอ งการบนั ทกึ ชอ่ื ไฟลงานใหเ ปน ช่ืออืน่ จะตอ งใชค ําส่งั ในการจดั การไฟลง านอยางไรก. คาํ ส่ัง New, Save as ข. คําสัง่ New, Saveค. คาํ สัง่ Open, Save ง. คําสัง่ Open, Save as9. การลอคแนวแกนของเสน เพ่อื ใหเมาส สามารถเคลอื่ นทไี่ ปตามทศิ ทางแกน X และ แกน Y เปนหนา ท่ขี องปุมฟง คชันใด ก. F2 ข. F5 ค. F8 ง. F910. ปมุ ฟงคชน่ั F3 มหี นาที่การทํางานอยา งไรก. เปดการชว ยเหลือ (Help) รายละเอยี ดโปรแกรม ข. ปด –เปด จุดกะระยะบนหนา จอค. ปด –เปดการทาํ งานของคาํ สงั่ ชวย Object Snap

แบบทดสอบหลงั เรียน หนวยท่ี 1 เริ่มตนการใชงานโปรแกรม Auto CADคาํ ชี้แจง แบบทดสอบชุดนมี้ ีทั้งหมด 10 ขอ เวลา 10 นาทีคาํ สั่ง จงทําเครื่องหมาย ทับตัวอักษรหนา ขอ ที่ถูกท่สี ดุ เพียงขอเดยี วลงในกระดาษคาํ ตอบ1. สวนท่ใี ชส าํ หรับแสดงชือ่ และตาํ แหนงทอี่ ยขู องไฟลง านคือขอใด ก. Pull down menu ข. Title bar ค. Model Space ง. Status bar2. สวนที่ใชสาํ หรบั แสดงการโตต อบขัน้ ตอนการทาํ งานระหวา งผใู ชง านและโปรแกรม คอื ขอ ใด ก. Graphic Iconข. Floating Toolbar ค. Command lineง. Layout Space3. ลกั ษณะการเรียกใชคาํ สงั่ โปรแกรม สามารถเรยี กใชไดกี่ลักษณะก. 3 ลักษณะ ข. 4 ลกั ษณะ ค. 5 ลักษณะ ง. 6 ลักษณะ4. ขอ ใดเปนรูปแบบการปอ นคา แบบ Absolute Coordinateก. @ x, y ข. @ _ < _ ค. x, y ง. ลากเมาส และพมิ พร ะยะ5. ทิศทางของมมุ 0 องศา ของโปรแกรมตามคาโปรแกรมกาํ หนด ตรงกับเลขนาฬิกาใดก. 12 นาฬกิ าข. 9 นาฬิกาค. 6 นาฬกิ าง. 3 นาฬิกา6. ขอใดเปนลักษณะการปรับหนาจอตามคําสั่ง Zoom–Allก. ปรบั หนา จอมุมมองเทา กบั คา กาํ หนดของโปรแกรมในคร้ังแรกข. ปรบั หนา จอใหแ สดงชิ้นงานเตม็ หนาจอค. ปรบั หนาจอยอ นกลบั ไปกอนหนาง. ปรบั หนาจอตามขนาดของกรอบสีเ่ หลย่ี มท่ีกาํ หนด7. ขอใดไมใ ชล ักษณะการเลอื กวตั ถุ (Select Objects) แบบกลมุ Crossingก. วตั ถุทีอ่ ยูภายในและถูกเสน กรอบผาดผานถูกเลอื ก ข. พืน้ ที่ระบายในกรอบเปน สีฟาค. วัตถทุ ่ีอยูภายในกรอบเทานั้นถูกเลือก ง. เสนขอบแสดงเปน เสน ประ8. เมือ่ ตองการแกไ ขแบบงานทีม่ ีอยูแลว และเมอื่ แกไขเสรจ็ เรยี บรอยแลว ตอ งการบนั ทึกชื่อไฟลง านใหเ ปนช่อือ่นื จะตองใชคาํ สัง่ ในการจดั การไฟลง านอยา งไรก. คาํ สงั่ New, Save as ข. คาํ สัง่ New, Saveค. คําส่งั Open, Save ง. คําสง่ั Open, Save as9. การลอคแนวแกนของเสนเพ่ือใหเมาส สามารถเคล่อื นท่ีไปตามทศิ ทางแกน X และ แกน Y เปนหนา ท่ีของปุมฟง คช นั ใด ก. F2 ข. F5 ค. F8 ง. F910. ปุม ฟง คช ่ัน F3 มีหนา ทีก่ ารทาํ งานอยางไร ก. เปด การชวยเหลือ (Help) รายละเอียดโปรแกรม ข. ปด–เปด จุดกะระยะบนหนาจอค. ปด–เปดการทํางานของคาํ สง่ั ชว ย Object Snap

แบบฝก หดั หนวยที่ 1จงตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. จงบอกสว นประกอบของ Auto CAD Window ลงในชอ งสีเหลี่ยมใหถูกตอง

แบบฝก ทกั ษะคร้งั ที่ 1จงเขียนงานตอ ไปนโ้ี ดยใชค ําสงั่ Line โดยการบอกเปน คา พิกดั ทั้ง 3 รปู แบบคือ Absolute Coordinate,Relative Coordinate และ Polar Coordinate