ค ม อ ระบบ สารสนเทศ สถาน ตำรวจ crimes

เพียงแต่ใช้กนั ทัว่ ไปในหนงั สอื ราชการว่า “ระบบสารสนเทศ ตร. (POLIS)” และใช้อย่างไม่เปน็ ทางการวา่ “ระบบ

POLIS”

ระบบงานที่พัฒนาขึ้นนั้นมีลักษณะการทำงานแบบ Client /Server หมายถึง การทำงานแบบ

บันทึกข้อมูลที่เครื่องลูกข่าย(Client) แล้วส่งข้อมูลให้เครื่องแม่ข่าย(Server) ภายหลังตามที่ได้กำหนดไว้ เช่น

ภายในเวลาเที่ยงคืน หรอื ๑ วัน ซึง่ ทำให้ไดข้ อ้ มูลไมท่ นั สมัย

ในปี ๒๕๔๘ สำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงานของระบบเป็นแบบ Web

Application เพื่อให้ได้ข้อมูลแบบทันที (Real Time) ซึ่งการทำงานแบบ Web Application นี้หมายถึง

การบันทึกข้อมูลจากเครื่องลูกข่าย (Client) และข้อมูลจะไปแสดงผลที่เครื่องแม่ข่ายทันที (Server)

ข้อมูลทีไ่ ดจ้ ะมคี วามทันสมยั มากขึ้น โดยเลือกระบบงานจำนวน ๑๓ ระบบมาดำเนินการ

ในปี ๒๕๕๓ สำนักงานตำรวจแหง่ ชาตไิ ดเ้ ปลยี่ นระบบงานในระบบสารสนเทศ ตร.(POLIS)

ใหม่เพ่ือสอ่ื ความหมายทง่ี ่ายต่อการเลือกใช้งานและใหต้ รงกับความตอ้ งการมากขนึ้ ดังน้ี

ลำดบั ชื่อเดิม ชอ่ื ใหม่ ๑ ระบบงานกำลังพล ระบบกำลังพล ๒ ระบบพสั ดุ ตร. ระบบพัสดุ ๓ ระบบตดิ ตามผลคดี ระบบคดีอาญา ๔ ระบบสถิติคดอี าชญากรรม ระบบสถิติคดีอาญา ๕ ระบบฐานข้อมลู ผูม้ พี ฤตกิ ารณ์ในทางมชิ อบ ระบบผ้มู ีพฤติการณใ์ นทางมชิ อบ ๖ ระบบฐานข้อมลู ปอ้ งกันและปราบปรามอาชญากรรม ๗ ระบบโครงขา่ ย ระบบข้อมลู ปอ้ งกันและปราบปรามอาชญากรรม ๘ ระบบฐานข้อมลู อุบัตเิ หตจุ ราจร ๙ ระบบฐานข้อมลู จราจร ระบบสบื สวนสอบสวนคดีอาญา ระบบคดจี ราจร ระบบควบคุมใบสั่งจราจร

๑๐ ระบบงานจราจร ระบบบันทึกใบสัง่ จราจร

๑๑ ระบบสอบถามข้อมลู ทะเบยี นราษฎร์ ระบบทะเบียนราษฎร์

๑๒ ระบบสอบถามข้อมลู ทะเบียนยานพาหนะ ระบบทะเบียนยานพาหนะ

๑๓ ระบบสอบถามใบอนญุ าตขับรถ ระบบใบอนุญาตขับรถ

ตารางู1ูเปรยบเทยบระบบงานเดมเปลยนชอไปเปนระบบงานใหม

๑๒๖

ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เป็นต้นมา สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้มีหนังสือสั่งการ ที่ ๐๐๓๓.๔๑/๓๒๕๙ ลงวันที่ ๙ ก.ย.๒๕๕๙ ให้ทุกหน่วยงานนำระบบสารสนเทศสถานีตำรวจ (CRIMES) มาใชใ้ นการบริหารจดั การข้อมูลด้านการสอบสวน สืบสวน และปอ้ งกันปราบปราม จงึ ทำใหร้ ะบบสารสนเทศ ตร. (POLIS) คงเหลือการบันทึกข้อมูลเพียง ๕ ระบบประกอบด้วย ระบบกำลังพล ระบบพัสดุ ระบบบันทึก ใบสั่งจราจร ระบบควบคุมใบสั่งจราจร (ขณะนั้นอยู่ระหว่างการพัฒนาไปเป็นระบบ PTM ซึ่งปัจจุบันได้มีการ พัฒนาระบบแยกออกไปแล้ว) และระบบสารสนเทศอาชญากรรม (CIS) ของกองทะเบยี นประวตั ิอาชญากร ๒) ระบบสารสนเทศสถานีตำรวจ (Criminal Record and Information Management Enterprise System : CRIMES)

ูรูปูภูาูพู๒๖ููแูสูดูงูหูนูาูเูขูาูสูรูะูบูบูCRIMES

ท่มี า : ตำรานักเรยี นนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

ระบบสารสนเทศสถานีตำรวจ (CRIMES) คือระบบสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลการรับแจ้ง ข้อมูลเกี่ยวกับคดี เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการสืบสวน สอบสวน ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม อันเป็นระบบที่อำนวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน โดยเป็นจุดศูนย์กลางสู่การเชื่อมต่อ ไปยังฐานข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติและหน่วยงานภายนอก

๑๒๗

นอกจากนั้นยังเป็นระบบที่รองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งถือว่าระบบนี้ช่วยให้ ประชาช นที่มาติดต่อสถานีตำรว จ ได้รับการอำนวยความส ะ ดว ก และความยุตธิ รรมได้อย่างโปรง่ ใสและรวดเรว็ ซึง่ จะไดก้ ล่าวโดยละเอยี ดในบทที่ ๓ ตอ่ ไป ๓)ระบบประชมุ ทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference System)

รู ูปูภูาูพู๒๗ ูแสู ูดงู ูกูาูรูเูชูอูมูโูยูงูรูะูบูบูVideo Conference

ท่มี า : ตำรานกั เรียนนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

ระบบประชุมวีดิทัศน์ทางไกล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (Video Conference System) คือการนำเทคโนโลยีต่างๆมาใช้สำหรับการประชุมที่ผู้เข้าร่วมประชุมอยู่คนละสถานที่โดยไม่จำกัดระยะทาง สามารถประชุมร่วมกันและมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ สามารถส่งทั้งภาพและเสียงไปยังสถานที่ต่างๆได้ ปัจจุบันหน่วยงานต่างๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติได้มีการติดตั้ง ใช้งาระบบ ระบบประชุมวีดีทัศน์ทางไกล แบบฮาร์ดแวร์หลายหน่วยงาน เช่น ศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ศูนย์ปฏิบัติการกองบัญชาการ

๑๒๘

ตำรวจนครบาล ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจภูธรภาค ๑ -๙กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กองบัญชาการ ตำรวจสอบสวนกลาง โรงเรียนนายร้อยตำรวจ กองบัญชาการการศึกษา และตำรวจภูธรจังหวดั หลาย ๆ แหง่ ท้ังนี้ กองบังการตำรวจสื่อสารยังได้จัดหาโปรแกรมหรือซอฟแวร์ในการประชุมวีดิทัศน์ทางไกล ให้หน่วยงานต่างๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติทั่วประเทศ เช่น สถานีตำรวจ ให้ดาวน์โหลด เพ่อื ใช้ในการเฝา้ ฟงั การประชมุ ของผบู้ ังคบั บัญชาในสังกัดได้

ปัจจุบันระบบประชุมวีดิทัศน์ทางไกล สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีระบบแม่ข่ายที่ทำให้ สามารถทำการประชุมได้แบบหลายหน่วยพร้อม ๆ กัน เรียกว่า MCU (Multipoint Control Unit) ซึ่งติดตั้งอยู่ที่กองบังคับการตำรวจสื่อสาร สามารถรองรับการประชุมพร้อมกันจำนวน ๑๒๐ แห่ง โดยจัดแบ่ง จำนวนห้องประชุมได้ตามความเหมาะสม ซึ่งระบบการประชุม Video Conference ของสำนักงานตำรวจ แห่งชาตโิ ดยกองตำรวจสื่อสารได้จดั ทำระบบใหส้ ามารถทำการประชุมได้หลากหลายเส้นทางการสื่อสาร เช่น VPN , Internet เป็นต้น ซึ่งจะทำให้หน่วยงานต่าง ๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติสามารถทำการประชุม ได้ต่อเนื่อง รวมทั้งยังสามารถใช้งานระบบโทรศัพท์เข้าร่วมการประชุมในลักษณะของ Voice Conference ได้อีกทางหนึ่งด้วย ทังนี้หากเครือข่ายหลักมีปัญหาก็สามารถใช้ เครือข่ายสำรองในการประชุมได้ อีกทางหน่ึง นอกจากนี้ปัจจุบันยังสามารถรองรับระบบการประชุมทางไกลผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ ๓จี, ๔จี ได้อีกดว้ ย

๑๒๙

๔)ระบบรายงานการรบั แจง้ เหตฉุ กุ เฉิน (๑๙๑)

รู ูปูภูาูพู๒๘ แู สู ูดงู ูขูนูตูอูนูกูาูรูปูฏูบูตูงูาูนูขูอูงูCall Center ๑๙๑

ท่ีมา : ตำรานกั เรยี นนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

ศูนยร์ บั แจ้งเหตุฉุกเฉิน (๑๙๑) หรือ “Call Center ๑๙๑” มีประจำอยทู่ ีต่ ำรวจภูธรจังหวัดท้ัง ๗๗ แห่งทั่วประเทศ ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฏินเกิดขึ้นในสำนักงานตำรวจแห่งชาติเมื่อสมัยที่ยังเป็น กรมตำรวจประมาณปี ๒๕๒๐ ในขณะนั้นใช้ผู้รับโทรศัพท์เพียง ๒๐ คู่สาย โดยที่งาน ๑๙๑ อยู่ใน กองกำกับการศูนย์รวมข่าวของกองบัญชาการตำรวจนครบาล ต่อมาในปี ๒๕๒๓ กองตำรวจสื่อสาร ได้เขียนโครงการของบประมาณจากประเทศญีป่ ุ่น และในปี ๒๕๓๒ ประเทศญี่ปุน่ ไดใ้ ห้งบประมาณมาพัฒนาศูนย์ ๑๙๑ ประมาณ ๒๐๐ ล้านบาท ต่อมาในปี ๒๕๓๕ กรมตำรวจเดิม ได้นำเทคโนโลยีซีสามไอ (C๓I) มาใชใ้ นระบบของศูนย์ ๑๙๑ กองบัญชาการตำรวจนครบาลใชง้ บประมาณ ๒๕๐ ล้านบาทดำเนนิ การพัฒนาระบบ จนกระทั่งปี ๒๕๓๙ - ๒๕๔๔ คณะรัฐมนตรี ในคราวประชุมเมื่อ ๑ เม.ย.๒๕๔๖ ได้มีมติเห็นชอบให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่บริการประชาชนไปพิจารณาความเหมาะสม และเป็นไปได้ในการจัดตั้งศูนย์บริการประชาชนขึ้นในหน่วยงาน โดยในส่วนของสำนักงานตำรวจ แห่งชาติ จึงได้กำหนดแนวทางการพัฒนาศูนย์บริการประชาชน (Call Center) โดยการปรับปรุง ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร โทรศัพท์สายด่วน ๑๙๑ เรียกว่า “ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน ๑๙๑”

๑๓๐

ของตำรวจภูธรจังหวัด ในแต่ละจังหวัดเพียงแห่งเดียว ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบรายงานการรับแจ้งเหตุ ฉกุ เฉนิ รองรบั การรายงานใหเ้ กิดความสะดวกรวดเรว็ ขึ้น ๕)ระบบบรหิ ารจัดการใบสัง่ ออนไลน์ (Police Ticket Management: PTM)

รู ูปูภูาูพู๒๙ แู ูสูดูงูกูาูรูเูชูอูมูโูยูงูรูะูบูบูPTM

ที่มา : ตำรานักเรยี นนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

สำนักงานตำรวจแหง่ ชาตมิ ีนโยบายท่ีจะเพ่ิมช่องทางในการให้บริการชำระคา่ ปรบั คดีจราจรแก่ป ระชาชน เพื่ออำนวยความสะดวก ลดความขัดแย้งระหว่างเจา้ หนา้ ที่ตำรวจกบั ประชาชน โดยวธิ กี ารชำระค่าปรับ ผ่านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์บั ตรเครดิต หรือวิธีการอื่นโดยผ่านธนาคารหรือหน่วย บริการ รับชำระเงิน โดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติได้มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ(MOU) กับบริษัท ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) พัฒนาระบบ PTM โดยธนาคารกรุงไทยเป็นผู้พัฒนาโปรแกรม จัดหา เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย จัดหาช่องทางการรับชำระเงินค่าปรับให้กับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยแบง่ การพัฒนาเป็น ๓ ระยะ คือระยะท่ี ๑ การออกใบสงั่ จากกล้อง ระยะท่ี ๒ การออกใบสัง่ เล่ม และปัจจุบัน อยใู่ นระยะท่ี ๓ พัฒนา Application สำหรับออกใบส่งั ผ่านอปุ กรณพ์ กพา

๑๓๑

๖)ระบบตรวจสอบลายพมิ พ์น้ิวมอื อตั โนมตั ิ (Automated Fingerprint Identification : AFIS)

ูรูปูภูาูพู๓๐ แู สู ูดงู ูตูวูอูยูาูงูกูาูรูตูรูวูจูเูปูรูยูบูเูทูยูบูลูาูยนู ูวูมูอูแูฝูงูรูะูบูบููAFIS

ท่มี า : ตำรานักเรยี นนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

ระบบนี้ เป็นการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้งานร่วมกับหลักวิชาพิมพ์ ลายนิ้วมือ โดยในขั้นตอนการทำงานนั้น ลายพิมพ์นิ้วของอาชญากรทั่วประเทศ จะถูกส่งมาตรวจสสอบ และเก็บในฐานข้อมูลระบบ AFIS ของกองทะเบียนประวัติอาชญากร Software ของระบบ AFIS จะอ่านและแยกประเภทของลายพิมพ์น้ิวมือแต่ละนิ้วว่าเป็นลายประเภทใด เช่น ประเภทโค้ง ประเภทมัดหวาย ป ร ะ เ ภ ท ก ้ น ห อ ย เ ป ็ น ต ้ น แ ล ะ แ ส ด ง จ ุ ด ใ จ ก ล า ง ข อ ง ล า ย เ ส ้ น ใ น ล า ย น ิ ้ ว ม ื อ แ ล ะ จ ุ ด ส ำ คั ญ ลักษณะพิเศษของลายเส้นแล้วคำนวณค่าสัมพันธ์ของจุดต่างๆ ดังกล่าวเป็นค่าทางคณิตศาสตร์โดยอัตโนมัติ จากนั้นระบบจะนำค่าที่ได้ไป ค้นหาเปรียบเทียบข้อมูลในระบบ AFIS หากพบข้อมูลที่ตรงกัน ก็แสดงว่าผู้นั้นเคยมีประวัติการกระทำความผิดมาก่อน ระบบ AFIS จะเชื่อมโยงไปยังระบบฐานข้อมูล ประวัติอาชญากร เพื่อที่จะแสดงรายละเอียดและยืนยันประวัติของผู้ต้องหา ตำหนิรูปพรรณ

๑๓๒

แผนประทุษกรรมและภาพถ่าย ซึ่งใช้เป็นข้อมูลและหลักฐานในการดำเนินคดีกับผู้ต้องหา ไดอ้ ยา่ งแม่นยำ ๗)ระบบกล้องอ่านหมายเลขป้ายทะเบยี นรถอัตโนมัติ (License Plate)

รู ูปูภูาูพู๓๑ูแู ูสูดูงูตูวูอูยูาูงูกูาูรูใูชูงานระบบูLicense Plate

ที่มา : ตำรานักเรียนนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๓๓

ระบบกล้องอ่านหมายเลขป้ายทะเบียนรถอัตโนมัติ(License Plate) นั้นสืบเนื่องจาก จุดตรวจ/ด่านตรวจต่าง ๆ มีเจ้าหน้าที่ทำการตรวจบริการการเดินทางของประชาชนเป็นบางเวลาไม่ต่อเนื่อง ทำให้เป็นช่องว่างในการที่กลุ่มคนร้ายลำเลียงยาเสพติดและก่ออาชญากรรมต่างๆได้ สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ จึงได้หาวิธีการนำเทคโนโลยี เพื่อรักษาความปลอดภัย สืบสวน ป้องกันและปราบปราม อาชญากรรมต่างๆในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติสมัยนั้น จึงได้จัดตั้งศูนย์สกัดกั้น การลำเลียงยาเสพติดขึ้น เพื่อสกัดกั้นการลำเลียงยาเสพติด ที่มีแหล่งผลิตภายนอกประเทศมิให้เข้าสู่พื้นที่ ตอนในของประเทศรวมทั้ง ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมต่างๆ โดยใช้ระบบกล้องวงจรปิด ที่สามารถนำภาพที่เห็นมาแปลงเป็นข้อมูล หรือเรียกว่าอ่านป้ายแผ่นทะเบียน แล้วทำการบันทึกข้อมู ล จำนวนรถทีผ่ า่ นเส้นทางจดุ น้นั ๆ ทำใหเ้ จ้าหนา้ ที่ตำรวจสามารถนำข้อมูลนัน้ ๆ มาใช้ในการคัดแยกรถ ตรวจสอบรถ แจ้งเตือนภัยรถกรณีรถต้องสงสัย ซึ่งจุดติดตั้งระบบกล้องอ่านแผ่นป้ายทะเบียน มีอยู่ ทั่วทุกภาค ทั่วประเทศ ทั้งหมด ๓๗๖ จุด ประสิทธิภาพของระบบกล้องอ่านป้ายทะเบียน สามารถใช้ได้กับยานพาหนะ รถยนต์ รถบรรทุก ทำงานได้ทั้งเวลากลางวันและกลางคืน จากนั้นข้อมูลที่ถูกแปลงแล้วจากด่านตรวจ จำนวนมากทั้งประเทศ จะถูกส่งขึ้นมาที่ศูนย์ควบคุมส่วนกลางที่ กองบังคับการสกัดกั้นการลำเลียงยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด ในทันทีในส่วน ศูนย์ควบคุมสั่งการฯ ได้ดำเนินการจัดทำ เว็บบริการ สำหรับข้าราชการตำรวจที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเข้าถึงข้อมูล โดยมีรหัสลับในการเข้าถึงข้อมูล เพื่อที่จะสามารถใช้บริการในการตรวจสอบสืบค้นหาและดูข้อมูล สถานที่ตั้งของกล้อง หมายเลขทะเบียนรถ ประเภทรถ ภาพถ่ายรถ วันและเวลาที่ถูกต้อง อีกทั้งสามารถเรียกดูภาพและประวัติการใช้เส้นทางย้อนหลัง ของยานพาหนะ และเชื่อมโยงเส้นทางของยานพาหนะ ทั้งก่อนหน้า และหลังใช้เส้นทางได้อย่างรวดเร็ว โดยอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพสูง เจ้าหน้าที่จึงต้องศึกษาเพื่อให้เข้าถึงหลักการทำงาน และนำข้อมูล มาวิเคราะห์ สืบสวนประกอบกบั เทคโนโลยีอ่นื ๆ

๘)ระบบสารสนเทศสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

(Personal Identifi cation and Blacklist Immigration Control System: PIBICS)

๑๓๔

ูรูปูภูาูพู๓๒ แู ูสูดูงูตูวูอูยูาูงูกูาูรูใูชูงูาูนูรูะูบูบูPIBICS

ท่มี า : ตำรานกั เรียนนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

ระบบสารสนเทศสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (PIBICS) เป็นระบบสารสนเทศที่ทางสำนักงาน ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองพัฒนาขึ้นโดยมีบริษัท คอนโทรล ดาตา (ประเทศไทย) จำกัด เป็นบริษัทคู่สัญญา เพื่อรวบรวมข้อมูลประวัติการเดินทางเข้า–ออก ราชอาณาจักรไทย สามารถเช่ือมโยงข้อมูลต่างๆ ได้ เช่น ข้อมูลการขออยู่ต่อ การตรวจสอบบัญชีเฝ้าดู การตรวจสอบเปรียบเทียบกับภาพบุคคลกับผู้ที่มีแบล็กลิสต์ และใบหน้าคนที่เคยเข้ามาในราชอาณาจักร หรือรูปที่อยู่ในพาสสปอร์ต รวมทั้งประวัติที่เคยเข้ามาในอดีต เพื่อป้องกันการสวมรอย ป้องกันการปลอมพาสปอร์ต ซึ่งด่านต่าง ๆ ของสำนักงานตำรวจตรวจคน เข้าเมืองมีอยู่ทั่วราชอาณาจักร สามารถเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ระบบโครงข่ายส่วนตัวเสมือน (Virtual Private N e t w o r k : V P N ) ท ำ ใ ห ้ ข ้ อ ม ู ล ม ี ค ว า ม ท ั น ส ม ั ย แ ล ะ ท ั น ต ่ อ เ ห ต ุ ก า ร ณ์ ก า ร ด ำ เ น ิ น ก า ร นี้ อยู่ภายในกำกับดูแลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง (ศทส.ตม.)

๑๓๕

ทำหน้าที่เป็น"แอดมิน"หรือผู้ดูแลระบบ มีหน้าที่คอยควบคุมและออกแบบระบบให้มีประสิทธิภาพ ระบบ PIBICS จะช่วยในการบูรณาการข้อมูลถือว่าเป็นคลังข้อมูลของสำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ทั้งนี้ข้อมูลเปรียบเสมือนอาวุธการจะรบกันในยุคของฐานข้อมูล (Knowledge Base) จำเป็นต้องมีข้อมูล ที่ในปริมาณที่มากมากและทันสมัย ซึ่งการบริหารงานแบบใช้ข้อมูลเป็นการเสริมการทำงาน ใหก้ บั ทีมสอบสวนของสตม.ดว้ ย ระบบฐานขอ้ มูลในระบบ PIBICS ทั้งหมด ๒๕ ฐานข้อมูล ดงั นี้

ระบบในกลุ่มงานตรวจคนเข้าเมอื ง • ระบบการเดนิ ทางเข้า-ออกราชอาณาจกั ร • ระบบหนงั สือเดินทางไทย • ระบบการจัดเกบ็ บตั รเดินทางเขา้ -ออกราชอาณาจักรตม 6 • ระบบตรวจผู้โดยสารผา่ นลำ • ระบบการตรวจลกู เรือ • Visa On Arrival

ระบบในกลุ่มงานควบคุม(บริการ)คนเข้าเมือง • ระบบขออยู่ต่อในราชอาณาจกั ร • ระบบแจง้ ท่ีพักอาศยั • ระบบการอนุญาตให้กลับเข้ามาในราชอาณาจักร • ระบบการขอมีถ่ินที่อยใู่ นราชอาณาจักร • ระบบงานทะเบยี นใบสำคัญถิน่ ท่ีอยู่ • ระบบสลักหลงั แจง้ ออกและตรวจลงตรา • ระบบงานทะเบียนคนตา่ งด้าว

ระบบในกลุ่มงานการกระทำความผิด • ระบบบัญชบี คุ คลต้องหา้ มและบญั ชีเฝ้าดู • ระบบงานทะเบยี นผตู้ อ้ งกัก • ระบบพิธีการเข้าเมืองเกยี่ วกับคนไทยที่ทำความผิดในตา่ งประเทศ • ระบบสบื สวน • ระบบสอบสวนและตดิ ตามคดี

๑๓๖

ระบบในกลุ่มงานธรุ การและอำนวยการ • ระบบฝกึ อบรม • ระบบจัดเก็บคา่ ธรรมเนียมและค่าปรบั • ระบบค่าลว่ งเวลา • ระบบทะเบียนพล • ระบบคดวี ินัย • ระบบสวสั ดกิ าร

การเชอ่ื มโยงข้อมูลกับระบบสารสนเทศอืน่ ๆ • ระบบงานเช่ือมต่อข้อมลู จากโครงการ POLIS(ขอ้ มูลหมายจบั ) • ระบบงานเชอ่ื มต่อข้อมลู กับกองการต่างประเทศ (ตท.) ระบบ CMIS

(ข้อมูลหมายจบั ข้ามชาต)ิ

๙)ระบบจัดเก็บข้อมลู ของบุคคลต้องหา้ ม บุคคลเฝ้าระวงั และหรือข้อมูลหมายจบั คนร้ายข้ามชาติ

(Biometric Blacklist System : BBS)

รู ูปูภูาูพู๓๓ ูแูสูดูงูตูวูอูยูาูงูกูาูรูใูชูงูาูนูรูะูบูบูBBS

ทม่ี า : ตำรานกั เรียนนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๓๗

ระบบนี้เริ่มต้นจากโครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบตรวจพิสูจน์บุคคลโดยเทคโนโลยี Biometrics (ลายพิมพ์นิ้วมือและภาพถ่ายใบหน้า) ของบุคคลเข้า - ออก ประเทศ ซึ่งมีการดำเนินโครงการมา ตัง้ แต่ปี ๒๕๕๙ ด้วยว่าระบบสารสนเทศตรวจคนเขา้ เมืองเดิมที่มีอยู่นัน้ ไม่มรี ะบบงานสำหรับงาน Biometrics ท้ัง ในด้านการเด็บข้อมูล การเปรียบเทียบบุคคล และการค้นหาในฐาน Black list/Watch list และยังไม่มีการจัดทำ Data Warehouse และ BI(Business Intelligence) สำหรับผู้บริหาร จึงเป็นระบบที่สามารถตรวจและคัดกรอง ผู้โดยสารที่เดินทางเข้า - ออกประเทศที่มีประสิทธิภาพเป็นมาตรฐานสากลเทียบเท่าทา่ อากาศยานนานาชาติและ จุดผ่านแดนในต่างประเทศ ศักยภาพของระบบนี้สามารถตรวจสอบและยืนยันตัวบุคคลได้อย่างถูกต้องแม่นยำ โดยใช้เทคโนโลยี Biometrics ซึ่งในการค้นหาข้อมูลของบุคคลต้องห้ามบุคคลเฝ้าระวังและหรือ ข้อมูลหมายจับคนร้ายข้ามชาติ (Biometric Blacklist System : BBS) จะมีการเปรียบเทียบข้อมูลภาพถ่ายกับ ลายนิ้วมือ เปรียบเทียบภาพถ่ายใบหน้ากับภาพถ่ายหนังสือเดินทางแสดงผลข้อมูลทันที (Real time) อีกทั้งมี การบูรณาการฐานข้อมูลเพ่ือวิเคราะห์และช่วยในการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร ทำให้หน่วยงานความมั่นคงและ นานาประเทศ รวมทั้งองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) มีความเชื่อม่ันในระบบการตรวจคัดกรอง คนเข้าเมืองของประเทศไทย ๑๐)ระบบรบั สง่ เอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์ (E-cop)

ูรูปูภูาูพู๓๔ ูแูสูดูงูหูนูาูเูขูาูรูะูบูบ E-Cop

ทีม่ า : ตำรานกั เรียนนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๓๘

ระบบรับส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Cop) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นระบบสนับสนุนงาน ธุรการอำนวยการในการรับส่งหนังสือราชการทุกระดับ โดยสามารถส่งหนังสือข้ามเครือข่ายระหว่าง กองบัญชาการลงมาจนถึงระดับสถานตี ำรวจ ซึ่งทำใหป้ ระหยดั และสะดวกรวดเรว็ กว่าการเดนิ รายงานทเ่ี คยปฏิบัติ แต่ละหน่วยงานจะใช้ URL แตกต่างกัน เช่น ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค ๖ ต้องเข้า URL 203.114.122.133/new ผู้ใช้จะต้องเข้าระบบด้วยชื่อและหน่วยงานของผู้ใช้งาน ซึ่งระบบรับส่งเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ (E-Cop) นี้นอกจากจะให้บริการรับส่งหนังสือแล้ว ยังให้พื้นที่ตารางนัดหมายงาน ปฏิทินส่วนตัว และประชาสมั พันธด์ ้วย ๑๑) ระบบฐานขอ้ มลู อาชญากรรม (Criminal Database System : CDS)

รู ูปูภูาูพู๓๕ แสดงภาพูกูาูรูบูนูทูกูขูอูมูลูใูนูรูะูบูบ CDS

ที่มา : ตำรานกั เรียนนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๓๙

ระบบนี้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติอาชญากรมาจัดเก็บเช่นเดียวกับระบบสารสนเทศ อาชญากรรม (CIS) ซึ่งปัจจุบันกองทะเบียนประวัติอาชญากรเป็นผู้ดูแล ผู้บันทึกและใช้งานข้อมูล แต่ระบบ CDS หน่วยงานศูนย์พิสูจน์หลักฐานต่างๆทั่วประเทศเป็นผู้บันทึกข้อมูลและใช้งานข้อมูล ความสามารถ ของระบบ CDS สามารถสืบค้นจากชื่อ-นามสกุล ตำหนิรูปพรรณ วิธีการกระทำความผิด ลักษณะเช่นน้ี ในพื้นที่ใกล้เคียงกันมีกี่คดี และในแต่ละคดีมีบุคคลใดเป็นผู้ต้องสงสัย จึงทำให้งานสืบสวนสามารถทราบ ขอ้ มูลของอาชญากรรมท่ตี ้องการได้อยา่ งรวดเร็ว ๑๒) การใชค้ อมพวิ เตอรส์ เกต็ ซแ์ ละประกอบภาพใบหนา้ คนรา้ ย

ูรูปูภูาูพู๓๖ แสดงู ูตูวูอูยูาูงูกูาูรูใูชูงูาูนูรูะูบูบูสูเูกูตูซูภูาูพูใูบูหูนูาูคูนูรูาูยู(PICASSO เูดู ูม)

ทม่ี า : ตำรานักเรียนนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

ก า ร ส เ ก็ ต ซ ์ แ ล ะ ป ร ะ ก อ บ ภ า พ ใ บ ห น ้ า ค น ร ้ า ย น้ี เ ป ็ น เ ท ค น ิ ค ก า ร บ อ ก เ ล ่ า ข อ ง ผ ู ้ พ บ เ ห็ น เหตุการณ์ที่เห็นภาพใบหน้า ลักษณะตำหนิรูปพรรณ การสวมเสื้อผ้า ของผู้ต้องสงสัยออกมาเป็นรู ปภาพวาด

๑๔๐

เพื่อนำไปสู่การออกหมายจับ หรือกระบวนสืบสวนหาผู้กระทำความผิดผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน โดยไม่มีการใช้โปแกรมประยุกต์ที่ตายตัว (เดิมใช้โปรแกรม PICASSO) ระบบสก็ตซ์ภาพปัจจุบันเป็นการ เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ผสมผสานกับความเชี่ยวชาญของเจ้าหน้าที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร ที่ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ เชี่ยวชาญ ในวิชาการเสด็ตซ์ภาพผู้ต้องสงสัยส่วนลำดับขั้นตอน การวาดภาพสเก็ตช์คนร้ายนั้น ผู้เสียหายต้องมาคัดเลือกชิ้นส่วนต่าง ๆ ของใบหน้า เช่น โครงหน้า คิ้ว คาง ปาก จมูก ฯลฯ จากสมุดแฟ้มภาพสเก็ตช์อาชญากร โดยจดหมายเลขรหัสใต้รูปนำไปให้ เจ้าหน้าที่ประกอบรูปคนร้าย ทำให้หลาย ๆ คดคี ลีค่ ลายจนดำเนนิ การจับตวั ผู้กระทำความผดิ มาดำเนินคดีได้

๑๓) ระบบฐานขอ้ มลู อาชญากรรมขา้ มชาติ

(Case Management Intelligence System : CMIS)

สำนกั งานตำรวจแห่งชาตเิ ป็นหนว่ ยรบั ผดิ ชอบและเป็นหน่วยงานเจ้าภาพในกรอบความร่วมมื อว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติของอาเซียน ได้มีการจัดทำความตกลงแลกเปลี่ยนข่าวกรอง มีความร่วมมือระหว่างกัน และมีความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น อนุสัญญาอาเซียน ว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้าย นอกจากนี้ยังมีกรอบความร่วมมือภายใต้สนธิสัญญ าอาเซียน ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา (Mutaul Legal Assistance Treaty : MLAT) อีกกรอบหนึ่งที่จะใช้ในอนาคต และได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ (Transnational Crime Coordination Center (TCCC)) (ศอปช.) แบ่งเป็นระดับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศอปช.ตร.) กองบัญชาการ (ศอปช.ภ.) กองบังคบการ(ศอปช.ภ.จว.) ขึ้นมา เพื่อดำเนินการประสานการปฏิบัติ การสืบสวนปราบปราม จับกุม และดำเนินคดีกับอาชญากร กลุ่มองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ที่มีลักษณะเป็นกระบวนการและเป็นเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผ่ า น ร ะ บ บ ฐ า น ข ้ อ ม ู ล อ า ช ญ า ก ร ร ม ข ้ า ม ช า ต ิ (Case Management Intelligence System : CMIS) เป็นระบบท่ีรวบรวมข้อมูลข่าวสารเกยี่ วกับตวั บุคคลและกลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มีลกั ษณะเปน็ เครือข่ายมีพฤติการ ณ์กระทำผิดเกี่ยวกับอาชญากรร มข้ามชาติเพื่อนำไปสู่การจับกุมและตรวจยึดหรืออายั ดทรัพย์ของผู้กระทำผิด รวมทั้งประชาสัมพันธ์รูปแบบแผนประทุษกรรมของกลุ่มอาชญากรโดยกองการต่างต่างประเทศ (ตท.) เป็นผู้ดูแลระบบ หน่วยงานระดับกองบัญชาการ (กองบังคับการกองกำกับการสืบสวน) และกองบังคับการ

๑๔๑

(ก อ ง ก ำ ก ั บ ก า ร สื บ ส ว น ) เ ป ็ น ผ ู ้ บ ั น ท ึ ก ข ้ อ ม ู ล อ า ช ญ า ก ร ร ม ข ้ า ม ช า ต ิ แ ล ะ ค ว า ม ผ ิ ด อ า ญ า ทเี่ ข้าข่ายอาชญากรรมขา้ มชาตลิ งในระบบและใช้ข้อมูลรว่ มกนั ๒.๒ ระบบสารสนเทศตามแนวนโยบายและแอพพลเิ คชั่นสนบั สนนุ

๑) POLICE ๔.๐ ๒) CRIMES Online ๓) Cyber Village : Clubhouse ๔) KMPPP ๕) Traffy Fondue ๖) Police Phonebook ๗) Tanjai Application ๘) Police I lert you

ูรูปูภูาูพู๓๗ููแูสูดูงูหูนูาูเูมูนูแูอูปูพูลูเูคูชูนูขูอูงูสูาูนูกูงูาูนูตูาูรูวูจูแูหูงูชูาูตู(RTP Application Center)

๑๔๒

๑) POLICE ๔.๐

ใชส้ ำหรบั เจา้ หน้าที่ตำรวจสายตรวจในการบนั ทกึ การลงช่ือเขา้ เวร การตรวจตแู้ ดง ผ่าน การ scan QR-Code และการบันทึกการต้ังดา่ นในแต่ละวัน รองรบั ระบบปฏบิ ัติการ (Operating System :OS) ของโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี (Smart Phone) ทั้ง iOS และ Android โดยดาวนโ์ หลดโปรแกรมจาก Play Store สำหรบั iOS และ App Store สำหรบั Android เพื่อติดตั้งบนโทรศัพท์ที่ต้องการ

๒) CRIMES online

ใช้สำหรบั สบื ค้นข้อมูลเกีย่ วกับงานป้องกนั และปราบปรามอาชญากรรม เปน็ โปรแกรมที่ พัฒนาขึน้ เพอื่ บรู ณาการข้อมูลในระบบ CRIMES ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ แก่สำนกั งาน ตำรวจแหง่ ชาติ รองรับระบบปฏิบัตกิ าร(Operating System :OS) ของโทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี (Smart Phone) ท้งั iOS และ Android โดยดาวนโ์ หลดโปรแกรมจาก Play Store สำหรับ iOS และ App Store สำหรับ Android เพ่อื ติดตงั้ บนโทรศัพท์ทต่ี ้องการ ศักยภาพท่ีโดดเด่นคอื ความสามารถเข้าถงึ ด้วยอปุ กรณ์ ๓ อุปกรณส์ ำหรับหน่ึง บัญชี คอื Smart Phone, Tablet และ Desktop

๓) Cyber Village

โครงการนี้ไม่ใช่แอปพลิเคชน่ั แตเ่ ป็นโครงการตามนโยบายของ พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจง้ ยอดสขุ ผบ.ตร.ที่มีดำริ ให้โครงการ Cyber Village เป็นแนวทางเพื่อให้ชุมชนหรือหมู่บ้าน ได้ใช้เทคโนโลยีรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม โดยเฉพาะการใช้แอพพลิเคชัน่ เฟซบุ๊ก ไลน์ คลับเฮาส์ ทวิตเตอร์ ฯลฯ ร่วมกับเจา้ หน้าที่ทาํ งานในรูปแบบใหม่ ใน งานชุมชนมวลชนสัมพนั ธ์ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนรว่ มมือทํางานกับเจ้าหน้าที่ตํารวจในการแก้ปัญหาและ ปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม ยาเสพตดิ หรือเหตกุ ่อความเดือดรอ้ นรําคาญ ที่อาจสรา้ งความขัดแย้งขนึ้ ในชุมชน ได้กําหนดตัวบคุ ลากรท่ีมีความเข้าใจขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานดา้ นชมุ ชนมวลชนสัมพันธ์ทีผ่ า่ นการอบรม ลงไปในพน้ื ให้ความรู้เกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์และแอพพลิเคชั่น ต่างๆ ใน Smart Phone ในปัจจุบัน เช่น Face Book, YouTube, Twitter, Clubhouse, TikTok, Line, Google Meeting, Google map, Google Street view , Google form กับประชาชนได้เรียนรู้ถึงเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารในรูปแบบใหม่ไว้สําหรับประสานงาน เผยแพร่กิจกรรม ของคนในชุมชน ใช้ทดแทนการเก็บข้อมูลภาพถ่ายเป็นเอกสารเข้าแฟ้มแบบดั้งเดิม ประชาชน

๑๔๓

ทั่วไป ทีมงานและผู้บังคับบัญชาสามารถรับรู้ความเคลื่อนไหว ได้ตลอดเวลาแบบเรียลไทม์ มีการปฏิบัติงาน ๗ ข้ันตอน คอื

ข้ันตอนที่ ๑ พบปะเย่ยี มเยียนชุมชนและคน้ หาแกนนาํ ในพ้ืนท่ี เปา้ หมาย โดยเวน้ ระยะหา่ งปฏิบัติตาม มาตรการการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา (โควดิ -๑๙) งดเวน้ การเรียกระดมคนจาํ นวนมากมารวมตัวกนั แตใ่ ช้ สื่อ เชน่ หอกระจายขา่ ว เฟซบุ๊กไลฟ์ ประชาสมั พันธ์ โครงการ เมื่อไดบ้ ุคคลท่ีเปน็ แกนนําแลว้ ให้จดั ตง้ั กลมุ่ ไลน์ ไว้เพื่อตดิ ต่อประสานงานในระยะ ตอ่ ๆ ไป

ขน้ั ตอนท่ี ๒ ให้แกนนาํ มสี ว่ นร่วมในการแก้ปญั หาในชมุ ชน โดยอธิบายปลกุ เรา้ สรา้ งความตระหนัก ให้มคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คมสว่ นรวม

ขัน้ ตอนท่ี ๓ ศึกษาพน้ื ฐานชมุ ชน ขนั้ ตอนน้ี โดยใชเ้ ทคโนโลยี ประกอบกบั ข้อมลู ในพื้นท่ีทําการศึกษา สภาพชมุ ชน ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และความเป็นอยู่ สภาพปัญหาตา่ งๆ อาจใช้ Google map, Google Street view การแชร์ Location ใน Line เพ่ือ เก็บรวบรวมขอ้ มูลพนื้ ฐานต่างๆ บา้ นแกนนํา บา้ น บคุ คลท่ีชอบกอ่ ความเดือดรอ้ นราํ คาญ จุดลอ่ แหลมสุ่มเส่ยี ง อาชญากรรม เพื่อนาํ มาใช้ วางแผนการทํางานในส่วนอน่ื ๆ ต่อไป

ขัน้ ตอนท่ี ๔ สนทนาและวเิ คราะห์ปญั หา ใช้ระบบสังคมออนไลนม์ าประยุกตใ์ ชใ้ นการประชุม เชน่ Clubhouse , Line Meetting, Google Meetting, Zoom หรือเทคโนโลยดี า้ นอ่นื ๆ

ขน้ั ตอนที่ ๕ ระดมความคดิ ประชมุ ผา่ น Clubhouse กับประชาชนช่วยกนั แสดงความคิดเห็น วางแนวทางแก้ปัญหาด้วยชมุ ชนเอง ไมโ่ ยนภาระให้กับหน่วยราชการ และหาทางแก้ปัญหาโดยสนั ตวิ ิธี การบงั คับใชก้ ฎหมายขอใหเ้ ป็นทางเลือกสดุ ทา้ ย

ขน้ั ตอนที่ ๖ ชดุ ปฏิบัติการลงไปร่วมกนั ปฏิบัติตาม บนั ทกึ ภาพถ่าย คลปิ หรือใช้แอพพลเิ คช่นั TikTok สรา้ งสีสัน และนํารวบรวมลงกิจกรรมไว้ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ Cyber Village ของชมุ ชนเปา้ หมาย เพ่ือสรา้ งความ ผกู พนั การสร้างทมี งาน Admin Page พยายามชกั จูงโนม้ น้าวใหว้ ยั รนุ่ ในชุมชน เข้ามามีบทบาทใหม้ ากท่สี ุด

ขั้นตอนที่ ๗ ติดตามประเมินผล ในการติดตามประเมินผลน้ี เมื่อเจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้ในการนาํ เทคโนโลยี เพื่อทํางานด้านชุมชนมวลชนสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่ ประชาชนทํางานร่วมกับเจา้ หน้าที่ตํารวจ สะดวก รวดเร็วใน การปอ้ งกันอาชญากรรม ประชาชนมคี วามมั่นใจในการทํางานของเจา้ หน้าท่ีตํารวจ ประชาชนตระหนักถึงบทบาท หน้าที่ของตนเองและให้ความร่วมมือในการป้องกันอาชญากรรม เป้าหมายสำคัญของโครงการคือ ประชาสัมพันธ์

๑๔๔

ใหป้ ระชาชนทราบว่าเจ้าหนา้ ท่มี ีความหว่ งใยในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ิน และช่วยตำรวจให้สามารถเข้า ไปชว่ ยเหลือ แกไ้ ขสถานการณไ์ ด้อย่างรวดเร็วฉับพลนั ทนั ทว่ งที

๔) KMPPP แอปพลิเคชันน้ีให้ความรู้สำหรับประชาชนและตำรวจ ประกอบไปด้วยฟีเจอร์ eLearning และ Knowledge เช่น ข้อสอบออนไลน์ บทเรียนจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน คลังความรู้ รองรับระบบปฏิบัติการ(Operating System :OS) ของโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart Phone) ทั้ง iOS และ Android โดยดาวน์โหลดโปรแกรมจาก Play Store สำหรับ iOS และ App Store สำหรับ Android เพอ่ื ติดตั้งบนโทรศพั ท์ที่ต้องการ

๕) Traffy Fondue เป็นระบบรับเรอื่ งร้อยเรียนจากประชาชนผา่ นแอปพลเิ คช่ัน ซ่งึ จะต้องมขี ้อมูลประกอบการ รับเร่อื งเกยี่ วกับรายละเอียดของปญั หา พิกัดตำแหน่ง รูปภาพ ภาพเคลือ่ นไหวหรือเสยี งและ ประเภทของปัญหา โดยระบบนี้จะรับเรื่องต้นทางไปจนถึงติดตามความสำเร็จในการแก้ไข ปัญหาและประเภทความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหรือประชาชน Traffy Fondue ถูกพัฒนาโดย ดร.วสันต์ ภัทร อธิคม นักวิจัยประจำศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) แพลตฟอร์มทราฟฟ่ี ฟองดูว์ เกดิ ขึน้ จากการผสานการทำงานของ 2 เทคโนโลยีหลัก คือ Geographical Information System (GIS) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเพื่อการจัดเก็บรายละเอียด ข้อมูล ตำแหน่งของสถานที่ รวมถึงรูปภาพของสถานที่ ร่วมกับ เทคโนโลยี AI ซึ่งทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล Big Data ออกมาเป็นข้อมูลที่พร้อมใช้งาน ปัจจุบันมีผู้ใช้บริการกว่า ๑,๕๐๐ หน่วยงาน แบ่งเป็นกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ๙๖ หน่วยงาน, เทศบาล ๓๕๗ แห่ง, อบต. ๓๕๐ แห่ง, อาคาร ๒๓๒ แห่ง, นิคมอุตสาหกรรม ๑๒ แห่ง และหน่วยงานอื่น ๆ อีก ๔๕๖ แห่ง ประเภทหน่วยงานนอกจากนี้ Traffy Fondue ยังได้รับรางวัล นวัตกรรมแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๔ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมภาครัฐ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๑ ด้วย ๑๔. ประเภทปญั หาทร่ี บั แจ้ง

๑๔๕

๑) ความสะอาด ขยะ ๒) ไฟฟ้า ประปา ๓) ไฟถนนเสีย ๔) ถนน ทางเท้า ๕) อาคารสถานทชี่ ำรุด ๖) อปุ กรณ์ครุภณั ฑ์ชำรดุ ๗) จุดเส่ียง ๘) สาธาณภัย: นำ้ ท่วม ไฟไหม้ เผาไหม้ ๙) ต้นไม้ กล่ิน เสียง สัตว์ ๑๐) ข้ึนทะเบยี น ประชาสมั พันธ์ ๑๑) ความชว่ ยเหลือ ๑๒) สขุ ภาพ ๑๓) เบาะแสุทจุ ุรุต ๑๔) อืน่ ๆ ทีม่ า : https://www.traffy.in.th/

๖) Police Phonebook ใชส้ ำหรบั การสืบคน้ หมายเลขโทรศพั ท์ของข้าราชการตำรวจชัน้ สญั ญาบตั รในหนว่ ยงาน สำนักงานตำรวจแห่งชาติรายบคุ คล หรอื สบื ค้นหาหมายเลขโทรศัพทข์ องหนว่ ยงานแล้วคน หาเจา้ หนา้ ท่ใี นหนว่ ยงานของสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ

๗) Tanjai Application หรือแทนใจ แอปพลเิ คชน่ั นใ้ี ช้สำหรบั งานสวัสดกิ ารตำรวจ สวัสดกิ ารการเงิน ทนุ การศึกษาทัง้ หลกั สูตร ในประเทศและต่างประเทศ สวสั ดิการจองศาลาวัดตรที ศเทพ สวัสดิการจองสนามกีฬา ตำรวจและจองสโมสรตำรวจ และกำลังพฒั นาระบบคำร้องขอรบั การแตง่ ตง้ั นอกจากน้ัน

๑๔๖

ยงั มีคลงั ความร้โู รงเรยี นนายร้อยตำรวจและภารกจิ ข่าวสารกิจกรรมของผบู้ ังคบั บญั ชาระดับสูงอีกด้วย

๘) Police I lert you

ใช้สำหรบั ประชาชนทว่ั ไปทีอ่ ยู่ในประเทศไทย สามารถกดขอความชว่ ยเหลอื จากตำรวจได้ โดยการสง่ ข้อมูลสว่ นตวั ภาพถา่ ย เวลาเกิดเหตุ และตำแหนง่ ท่ีเกิดเหตุ ไปยงั War Room หรือศูนยร์ ับแจง้ เหตุ ๑๙๑ ซ่งึ มเี จา้ หน้าที่ตำรวจรบั เรอื่ งตลอดเวลา ๒๔ ชวั่ โมง และจะประสานงานส่งเจ้าหนา้ ท่ี ตำรวจเขา้ ชว่ ยเหลือ และใหบ้ ริการไดท้ ันที โดยแอปพลเิ คชนั่ น้ียงั สามารถแจ้งบริการสายการแพทย์ ๑๑๖๙ ไดอ้ กี ด้วยกรณพี บเหตุทต่ี ้องการความชว่ ยเหลือทางการแพทย์ ท้งั น้ีระบบสารสนเทศอน่ื ๆ ที่สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาตริ ว่ มเปน็ ผู้ใชข้ อ้ มูล (User) ยังมีอีกมากมายหลายระบบซึ่งต้องมีการศึกษาค้นคว้าหาความร้เู พิม่ เตมิ ต่อไปและยังมอี ีกหลายระบบทอี่ ยู่ ระหวา่ งการพฒั นา

สรปุ ทา้ ยบท

ด้วยภารกิจของสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีความหลากหลาย จึงเป็นเรื่องยากที่ระบบ สารสนเทศที่นำมาใช้งานจะตอบสนองความต้องการให้ครอบคลุมทุกหน่วยงานในสังกัดให้เบ็ดเสร็จใน ระบบงานเดยี วจงึ เป็นเหตผุ ลใหท้ ุกหน่วยงานพยายามท่จี ะพัฒนาระบบสารสนเทศข้นึ มาใช้งานเองเพ่ือตอบสนองค วามต้องการในภารกิจของตัวเองให้ครบทุกมิติ และสิ่งที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติต้องทำเป็นลำดับแรกคือ การ ทำให้ทุกระบบ มีความเชื่อมโยงกันให้ได้มากที่สุด เพื่อความต่อเนื่องและรองรับงานสืบสวนสอบสวน เพราะการกระทำผิดของผู้ต้องสงสัย ๑ คน สามารถสร้างฐานข้อมูลให้เกิดขึ้นกับทุกหน่วยงาน ดังน้ัน ทุกองค์กรต้องบูรณาการข้อมูลร่วมกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและลดงบประมาณ ของประเทศชาติได้อย่างมหาศาล ซึ่งในภาพรวมของการแบ่งประเภทของระบบสารสนเทศ ในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆคือระบบสารสนเทศในกองบัญชาการต่าง ๆ และ ระบบสารสนเทศแอปพลเิ คชนั่ สนบั สนนุ การปฏิบัติงาน

๑๔๗

แหล่งคน้ ควา้ เพิม่ เติม/อ้างอิง

กองบัญชาการศึกษา. (๒๕๖๔). ตำราเรียนหลกั สูตรนักเรียนนายสิบตำรวจ วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การปฏิบัติงานตํารวจ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพต์ ํารวจ.

สำนักงานตรวจคนเขา้ เมือง. (๒๕๕๙). โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบตรวจพิสูจนบ์ คุ คลโดยเทคโนโลยี Biometrics (ลายพมิ พ์นิ้วมือและภาพถ่ายใบหน้า). กรุงเทพฯ : สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ

สำนกั งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร. (๒๕๕๕). เอกสารแนะนำโครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสถานตี ำรวจ. กรงุ เทพฯ : สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ.

๑๔๘

กิจกรรม

๑. แบง่ กลุม่ สืบคน้ ข้อมลู ระบบสารสนเทศ ๑๐ ระบบดังน้ีคอื POLIS, CRIMES,AFIS, License Plate, POLICE ๔.๐, KMPPP, Traffy Fondue, Police I Lert you, E-Cop , Cybervillage โดยใชแ้ พลทฟอร์ม Clubhouse อภิปรายกล่มุ (Discussion) ในครง้ั ท่ี ๑๒ ๒. จัดทำรายงาน (Report) ตามข้อ ๑. กำหนดสง่ ทางระบบรับสง่ เอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Cop) ๓. ทำแบบฝึกหัดทา้ ยบท (Quiz)

๑๔๙

แบบฝึกหดั (Quiz)

เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. ขอ้ ใดไม่ใชร่ ะบบสารสนเทศสำหรับใช้งานระดับสถานีตำรวจ ก. Personal Identification and Blacklist Immigration Control System. ข. POLice Information System ค. Video Conference System ง. Police Ticket Management

๒. ข้อใดไม่ใช่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ก. ระบบตรวจสอบลายพิมพน์ ้ิวมืออัตโนมัติ (AFIS) ข. ระบบสารสนเทศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (POLIS) ค. ระบบสารสนเทศสถานตี ำรวจ (CRIMES) ง. ระบบรบั แจ้งอบุ ตั ิเหตุ (E-Accident).

๓. ผู้ใดส่งขอ้ มูลคอมพิวเตอร์หรอื จดหมายอิเล็กทรอนิกสแ์ ก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหลง่ ท่มี า ของการสง่ ข้อมูลดงั กล่าว อันเป็นการรวบกวนการใช้ระบบคอมพวิ เตอรข์ องบุคคลอน่ื โดยปกติสขุ มีบท กำหนดโทษอยา่ งไร ก. ระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท. ข. ระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หนึ่งแสนบาท ค. ระวางโทษปรับไมเ่ กินหา้ หมน่ื บาท จำคกุ ไมเ่ กิน 5 ปี ง. ระวางโทษปรบั ไม่เกนิ หน่ึงแสนบาท จำคกุ ไมเ่ กนิ 5 ปี หรอื ทัง้ จำทัง้ ปรบั

๔. ผใู้ ห้บรกิ ารเครือข่ายอินเตอร์เนต็ เรียกว่าอะไร::[html]<p>ผูใ้ หบ้ รกิ ารเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตเรียกวา่ อะไร ก. Internet Service Provider (ISP). ข. Domain Name System (DNS) ค. Internet Explorer (IE) ง. Uniform Resource Locator (URL)

๕. ระบบฐานข้อมูลหลกั ของสำนักงานตำรวจแห่งชาตทิ ั้งดา้ นการบริหารงานกำลงั พล คดีอาญา/จราจร การ สืบสวน หมายจับ และการรายงานอ่ืนๆ มีระบบศนู ย์ควบคุมกลางอยูท่ หี่ น่วยใด ก. สำนักงานพิสจู นห์ ลักฐานตำรวจ (สพฐ.) ข. สำนักงานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (สทส.). ค. สำนักงานจเรตำรวจ (จต.) ง. สำนักงานปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (สอท.)

๑๕๐

๖. ระบบใดไม่สามารถสืบคน้ หมายจบั ได้ ก. POLIS ข. CRIMES ค. PTM. ง. PDC

๗. ระบบใดท่ีถูกนำมาใช้สบื คน้ บุคคลด้วยการเชอื่ มโยงกับหนว่ ยงานภายนอก ก. ขอ้ มลู ทะเบียนราษฎร์. ข. ข้อมลู คดอี าญา ค. ขอ้ มลู คดีจราจร ง. ข้อมูลกำลงั พล

๘. เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology) หมายถึงข้อใด จ. การนำเอาความรูท้ างเทคโนโลยดี า้ นคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีด้านเครือข่ายโทรคมนาคมและการ สื่อสารมาจัดการสารสนเทศใหไ้ ด้ตามวัตถปุ ระสงค์. ฉ. โปรแกรมหรือชุดคำสง่ั ที่เขยี นขน้ึ เพอื่ ให้เครื่องคอมพวิ เตอร์ปฏบิ ัติตามคำส่งั นนั้ ๆ ช. กระบวนการทำงาน เพื่อให้ได้ผลลพั ธ์ตามต้องการโดยใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอรม์ าใช้ในการ ประมวลผล ซ. ส่อื กลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่านในการรบั -ส่งขอ้ มูลระหวา่ งผู้รับและผูส้ ง่ ข้อมูล

๗. เครอื ขา่ ยระบบสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ VPN-Polis ทีเ่ ช่ือมโยงกับหน่วยงานภายนอก จัดเปน็ เครือข่ายประเภทใด ก. Internet ข. Intranets ค. Extranets ง. Externet

๑๕๑

แผนคำสอน บทท่ี ๓

ระบบสารสนเทศสถานตี ำรวจ

(Criminal Record and Information Management Enterprise System: CRIMES)

วตั ถุประสงค์

๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถจำแนกระบบสารสนเทศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๒. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเลอื กวธิ ีการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการช่วยสบื ค้นขอ้ มูลได้อย่างเหมาะสม ๓. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นร้จู กั เคร่ืองมือเครื่องใช้อุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศในระบบ CRIMES ๔. เพ่ือให้ผเู้ รียนสามารถบำรงุ รักษาอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ด้วยตนเองได้ ๕. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมที ักษะในการค้นหาขอ้ มูลผ่านเครือขา่ ยได้ ๖. เพื่อให้ผู้เรยี นเขา้ ใจและฝึกปฏิบัตริ ะบบจำลองการเรียนรู้ (Simulation) ไดค้ ะแนนผา่ นตาม หัวขอ้ โจทย์ท่ีกำหนดไว้ ไดแ้ ก่ การรับแจ้งเอกสารหาย, จราจร, ลักทรพั ย์, การพนัน, ยาเสพติด, บนั ทกึ ข้อมูล ทอ้ งถิน่ และวิเคราะหน์ าฬกิ าอาชญากรรม และบนั ทกึ ข้อมลู คดอี าญาครบทุกขน้ั ตอน (วงแดง) : จำหน่ายคดี

หัวข้อเรื่อง

๓.๑ หลกั การทำงานของระบบ CRIMES ๓.๒ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นระบบ CRIMES และการบำรุงรักษา ๓.๓ ประโยชน์ของระบบ CRIMES ๓.๔ การเชือ่ มโยงกบั หนว่ ยงานภายนอก ๓.๕ ฝึกปฏบิ ัตกิ ารเข้าใช้งานระบบบรหิ ารจดั การเรียนรู้ LMS : crimespolice.com/portal

กจิ กรรมและวธิ ีสอน

๑. ผสู้ อนสาธิต (Demonstrate) การเขา้ สืบคน้ ในระบบ CRIMES : 118.175.46.2 ๒. ให้ผูเ้ รียนฝึกปฏบิ ัติ (Practice) ระบบจำลองการเรียนรู้ LMS ช่ือเว็บไซต์ crimespolice.com โดยผสู้ อนกำหนดรหัสผใู้ ช้เป็นเจ้าพนักงานรบั แจ้งเหตุเบื้องตน้ ตามหัวข้อโจทย์ทกี่ ำหนดให้

๑๕๒

๓. ให้ผ้เู รยี นพมิ พ์สำเนาประจำวันรบั แจ้งเหตตุ ามหวั ข้อโจทย์พรอ้ มกับลงชื่อผู้รบั แจ้งนำสง่ ผูส้ อนทาง ระบบรับสง่ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ (E-Cop) : 203.114.122.133/new

๔. ใหผ้ ู้เรยี นทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท (Quiz)

สือ่ การสอน

๑. คอมพิวเตอร์และสัญญาณอนิ เทอร์เนต็ ๒. ระบบจำลองการเรียนรู้ LMS : crimespolice.com/portal

การวดั ผล

๑. การเขา้ ชน้ั เรียน (Class attendance) ๒. การประเมินกลมุ่ (Group Assessment) – การทำงานเป็นทมี ระดมสมองและความสามัคคี ๓. การสงั เกตพฤติกรรม (Behavior observation) - การมสี ่วนรว่ มในชัน้ เรยี น ๔. ประเมินจากเอกสารรายงาน (Report) รปู แบบ เนอื้ หาและความตรงต่อเวลา

แหล่งค้นควา้ เพ่มิ เตมิ

กองบัญชาการศึกษา. (๒๕๖๔). ตำราเรยี นหลกั สูตรนักเรียนนายสบิ ตำรวจ วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศกับ การปฏบิ ตั ิงานตํารวจ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ตาํ รวจ.

พัชรา สนิ ลอยมา และคณะ. (๒๕๕๖). โครงการพฒั นาประสิทธิภาพดา้ นเทคโนโลยมี าใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ของเจา้ หน้าทตี่ ำรวจระดับสถานีตำรวจ. นครปฐม : โรงเรยี นนายรอ้ ยตำรวจ.

มนตรี สีทอง, พ.ต.อ..(๒๕๖๐). เอกสารประกอบการอบรมของสำนกั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร. กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศกลาง สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ.

สำนกั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร. (๒๕๕๕). เอกสารแนะนำโครงการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศสถานตี ำรวจ. กรงุ เทพฯ : สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ.

๑๕๓

บทท่ี ๓

ระบบสารสนเทศสถานีตำรวจ

(Criminal Record and Information Management Enterprise System: CRIMES)

ดว้ ยระบบสารสนเทศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติไดม้ กี ารพัฒนาในหลายกองบัญชาการท้งั งานด้าน อำนวยการ งานปฏบิ ัติการป้องกันปราบปรามและสบื สวนสอบสวน ซง่ึ แตล่ ะกองบัญชาการต้องพัฒนาเพ่ือใหท้ นั ตอ่ สถานการณ์ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปของสังคมและรปู แบบของอาชญากรรมท่เี ปล่ยี นแปลงไปตามบรบิ ทของสังคมดว้ ย เช่นกนั

บทนี้จะกล่าวถึงเฉพาะระบบที่ใช้ทุกสถานีตำรวจทั่วไปประเทศ คือ ระบบสารสนเทศสถานีตำรวจ ( C r i m i n a l R e cord and Information Management Enterprise System : CRIMES) อ ั น เ ป็ น ระบบสารสนเทศที่รวบรวมขอ้ มลู การรบั แจง้ ข้อมลู เกี่ยวกบั คดี เพ่อื เป็นเครอื่ งมอื ชว่ ยในการสบื สวน สอบสวน การ ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ได้ทันท่วงที โดยเป็นจุดศูนย์กลางเชื่อมต่อไปยังฐานข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และหน่วยงานภายนอก นอกจากนั้นยังเป็นระบบที่รองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งถือว่าระบบนี้ช่วยให้ประชาชนที่มาติดต่อสถานีตำรวจ ไดร้ บั การอำนวยความสะดวกและความยุติธรรมได้อยา่ งโปร่งใสและรวดเรว็

๓.๑ หลักการทำงานของระบบ CRIMES

ก่อนจะเรียนรู้เรื่องหลักการทำงานของระบบ CRIMES จะกล่าวถึงความเป็นมาของระบบว่าเกิดจาก การพัฒนามาอย่างไร โดยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงาน ตำรวจแห่งชาติได้จัดทำโครงการ “โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสถานีตำรวจ” ขึ้น เรียกโดยย่อว่า “CRIMES” (Criminal Record and Information Management Enterprise System : CRIMES) โดยคณะกรรมการพิจารณาความต้องการและกำหนดแนวทางการบริหารระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงาน ตำรวจแห่งชาติในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ ได้มีมติเห็นชอบและยังได้รับ

๑๕๔

การสนับสนุนจาก พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์ รองนายกรัฐมนตรี ในด้านงบประมาณ ดังนี้ (สำนักงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร, ๒๕๕๕ : ๑ - ๑๒)

โครงการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศสถานีตำรวจ ได้รบั การจดั สรรงบประมาณผูกพนั ๒ ปี ดงั น้ี

ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๐ จำนวน ๕๙,๔๗๐,๐๐๐.- บาท

ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๑ จำนวน ๒๓๗,๘๙๐,๐๐๐.- บาท

รวมทัง้ สิน้ จำนวน ๒๙๗,๓๕๐,๐๐๐.- บาท

หลังจากนั้น เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้อนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการ

กำหนดร่างขอบเขตของงาน (TOR : Term of Reference) เพื่อดำเนินการตามกระบวนการจัดหา ต่อมา

สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้สั่งการเมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบให้สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร ดำเนินโครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสถานีตำรวจต่อไป จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการ

กำหนดร่างขอบเขตของงานขึ้นใหม่ โดยคณะกรรมการฯได้ร่วมกับที่ปรึกษาโครงการฯ ปรับปรุงพัฒนาระบบ

CRIMES ให้เหมาะสมทันสมัยยิ่งขึ้น จ นกระทั่งในที่สุดในยุคของพลตำรวจโท สมเดช ขาวขำ เป็น

ผู้บัญชาการสำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓

และนำไปสู่การประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ โดย บริษัท

สงขลาฟินชิ ชง่ิ จำกดั เป็นผูช้ นะการประกวดราคา ซ่ึงเสนอราคาตำ่ สุดในวงเงนิ จำนวน ๒๙๑,๘๘๘,๐๐๐- บาท

ในการนี้รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) ได้สั่งการ

เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๔ เห็นชอบราคาดังกล่าว และอนุมัติให้จัดซื้อระบบคอมพิวเตอร์ โครงการพัฒนา

เทคโนโลยีสารสนเทศสถานีตำรวจ (CRIMES) ที่แก้ไขปรับปรุงใหม่ ตามที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติเสนอ และ

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้บัญชาการสำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จึงได้ทำสัญญาซื้อขายระบบคอมพิวเตอร์โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสถานีตำรวจ ระบบ CRIMES

กับบริษัท สงขลาฟินิชชิ่ง จำกัด ตามสัญญาซื้อเลขที่ ๑/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ โดยบริษัทฯ

ผู้ขายจะติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ พร้อมติดตั้งทดลองและบริการให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลา ๕๔๐ วัน

นบั แตว่ นั ถดั จากวันลงนามในสญั ญา

หลักการสำคัญของระบบ CRIMES คือการรวบรวมข้อมูลและการรับแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับคดี

ไว้อย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลกับหน่วยงานภายนอกและนําข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในงานด้านตา่ ง ๆ

ของตำรวจได้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลต่อประชาชนที่ได้รับการอํานวยความยุติธรรมที่รวดเร็วและ

๑๕๕

เปน็ ธรรม เปรียบเสมือนกระบวนการทำงานของ สายพานข้อมลู ซ่ึงเร่ิมต้นจากจุดแรกคือ การบนั ทึกข้อมูลเบ้ืองต้น ลําเลียงส่งต่อไปยังจุดต่าง ๆ เพื่อทำการบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน แล้วส่งผ่านไปจนถึง กระบวนการสุดท้าย คือ การนําไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ ต่อไป นอกจากนี้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ยงั เปน็ ตน้ ทางของข้อมูลที่สำคัญในกระบวนการยุตธิ รรม ท่ีจะส่งต่อให้หน่วย งานตา่ ง ๆ เชน่ อยั การ ศาล ราชทณั ฑส์ ามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นงานอำนวยความยุติธรรมได้ต่อไป

รู ูปูภูาูพู๓๘ แู ูสูดงู ูฐูาูนูขูอูมูลูเูชูอมโยงระบบูCRIMES กู ูบูหูนูวูยูงูาูนูภูาูยูนูอูก

ที่มา : ตำรานักเรยี นนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๕๖

ระบบสารสนเทศสถานตี ำรวจ (CRIMES) ประกอบดว้ ยระบบงาน ๕ กลมุ่ ไดแ้ ก่ ๑.ระบบงานบันทึกข้อมลู (Data Entry) ประกอบดว้ ยข้อมูล

- คดีอาญาทวั่ ไป คดีออุบตั เิ หตจุ ราจร เหตุทรพั ย์หาย เหตรุ ถหาย เหตุคนหายพลดั หลง เหตุคนตายไม่ทราบชื่อ แผนประทษุ กรรม เหตุทตี่ ้องรายงาน

- การออกคาํ ขอตา่ ง ๆ : หมายจับผดั ฟ้องฝากขงั ประกันตวั - ขอ้ มูลหมายจบั - ความคบื หน้า/ผลคดี : ความเห็นช้ันพนักงานสอบสวน สัง่ ฟ้อง / ไม่ฟ้อง - การบรหิ ารจัดการคดีของหวั หนา้ งานสอบสวน การโอนคดี - การปล่อยตวั ชวั่ คราว - การจบั กมุ การประกันตัว เป็นตน้ ๒. ระบบงานสบื ค้นข้อมลู (Data Search) เป็นสว่ นสำคญั ในการนําข้อมูลไปใช้ประโยชนใ์ นการ ปฏิบัตงิ านตำรวจ สามารถตรวจสอบข้อมลู เพ่ือติดตามจบั กุมคนร้ายได้อยา่ งรวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ อนั ประกอบด้วย - ข้อมูลจากระบบสารสนเทศของสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาตไิ ด้แก่ ขอ้ มลู คดีอาญา คดจี ราจร หมายจับผกู้ ระทำผิด ประวตั กิ ารแจง้ เหตุเบอ้ื งต้น ขอ้ มูลยานพาหนะ /อาวุธ /ทรัพย์ในคดี เปน็ ต้น - ข้อมลู จากหน่วยงานภายนอก ไดแ้ ก่ ข้อมลู ทะเบยี นราษฎร ข้อมลู ยานพาหนะ ขอ้ มูลประกันสงั คม ข้อมูลประกนั สุขภาพ ขอ้ มลู คนตา่ งดา้ ว ขอ้ มูลทะเบียนพาณชิ ย์ รวมถึงออกแบบ รองรบั การเชื่อมโยงและแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ของหน่วยงานในกระบวนการยตุ ิธรรม ได้แก่ ศาล อัยการ ราชฑัณฑ์ กรมคุมประพฤติ ฯลฯ ๓. ระบบงานบริการข้อมลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Data Services) ระบบรายงานสถิตใิ นรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น รายงานสถิติคดีตามชว่ งเวลาแยกตาม สถานีตำรวจ แยกตามภาคหรอื ท้ังประเทศ รายงานสถิติคดีอาญา ๔ กลมุ่ สถิตกิ ารรบั แจ้งความ ๔. ระบบแจง้ เตือน (Alarm & Alert Services) แจง้ เตอื นเกยี่ วกบั การครบกําหนดเวลาของงานตา่ ง ๆ เช่น ครบกำหนดฝากขัง ครบกำหนดประกนั ตัว แจ้งเตือนเกยี่ วกบั การตรวจสอบอตั โนมัติ เชน่ การพบหมายจบั อ่นื ๆ ขณะทำการบันทกึ ข้อมูลของผตู้ ้องหา เป็นตน้

๑๕๗

๕. ระบบงานบริหารจดั การข้อมลู และระบบสำหรับผูด้ แู ลระบบ (Data & System Management) ประกอบด้วย

- ระบบบริหารสทิ ธติ า่ งๆ สำหรับขอ้ มลู โปรแกรมระบบงาน, ระบบ Backup & Restore ของข้อมูลระบบงานระบบบริหารการเชื่อมโยงและเฝา้ ดูการทำงานของเครื่องคอมพวิ เตอรล์ ูกข่าย เป็นต้น

- ระบบบริหารจัดการคดใี นส่วนของหัวหนา้ งาน เพื่อการควบคมุ เร่งรดั ตรวจสอบ ความคืบหน้าทางคดีในความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวนได้

ูรูปูภูาูพู๓๙ูแู ูสูดูงูกาู ูรูกูาูหูนดู สู ูทูธูใูชูงาู ูนรู ะู บู ูบูCRIMES

ทมี่ า : ตำรานกั เรยี นนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๕๘

รู ูปูภูาูพู๔๐ ูแสู ูดูงูขูนูตูอูนูกูาูรูทูาูงูาูนูขูอูงูรูะูบูบูCRIMES - ูพูนูกูงูาูนูสูอูบูสูวูน รู ูปูภูาูพู๔๑ููแูสูดูงูหูนูาูเูมูนูเูขูาูรูะูบบูCRIMES

๑๕๙

๓.๒ อปุ กรณ์ท่ีใช้ในระบบ CRIMES และการบำรงุ รกั ษา

ูรูปูภูาูพู๔๒ แู ูสูดงู ูภูาูพูอูปูกูรูณูกูาูรูใูชูงูาูนูใูนูรูะูบูบูCRIMES

ท่มี า : ตำรานักเรยี นนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

การบำรุงรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ เกิดการชำรุดขัดข้องใน การ ปฏิบัติงาน โดยการบำรุงรักษา ซ่อมแซม แก้ไขระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ ไม่มคี วามผิดปกติในระบบการทำงาน เพื่อจะได้แกไ้ ขซ่อมแซมกอ่ นเกิดความเสียหายตอ่ ระบบทง้ั หมด

๑) ตรวจเชค็ ความถกู ต้องของอปุ กรณ์ตามเอกสารใบงาน -Serial Number ของอุปกรณท์ ุกชน้ิ - Mac Address เคร่ือง Thin Client ทกุ เครื่อง - IP Address ของเครอ่ื ง Thin Client

๑๖๐

- ชอ่ื หนว่ ยงาน ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และช่อื เจ้าหน้าที่ผดู้ แู ล ในกรณที ี่ไมถ่ ูกต้องให้ทำการจดบันทกึ ขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้องลงในชอ่ งหมายเหตุ ๒) ทำความสำอาดภายนอกด้วยการ ดูด ปัด เช็ด เป่า อุปกรณ์ทั้งหมด เช่น เคส จอภาพ เมาส์ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนภาพสี กล้องถ่ายภาพ เครื่องอ่านบัตร เครื่องสำรองไฟฟ้า ใหส้ ะอาดเรยี บร้อยและอยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งาน

รู ูปูภูาูพู๔๓ แู ูสูดูงูภูาูพูตูวูอูยูาูงูกูาูรูบูาูรูงูรูกูษูาูอูปูกูรูณูใูนูรูะูบบูCRIMES

ท่ีมา : ตำรานกั เรียนนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๖๑

๓) เม่อื พบอุปกรณ์ชำรดุ ให้แจง้ เจา้ หนา้ ทผ่ี ้รู บั ผดิ ชอบ การแจ้งเปิดเคสเพ่ือซ่อมแซมเปลย่ี นอะไหล่ ท่เี บอร์ ๑๒๒๘ กด ๒ (๑๒๒๘ #๒) เจ้าหน้าทข่ี องบริษทั สงขลาฟินิชชิง่ จำกัด ซ่ึงประจำอยทู่ ่ีสำนักงานตำรวจ แหง่ ชาติ จะทำการเปิดเคสแจง้ ซอ่ มมายงั บริษัทฯ เพ่ือดำเนินการซอ่ มแซมส่วนที่เสียหายให้กลบั มาใช้งานไดเ้ ป็น ปกติ กรณีนอกเวลาราชการ (หลงั เวลา ๑๖.๓๐ น. เป็นตน้ ไป) แจง้ มาที่หมายเลขโทรศัพท์ ๐๒๗๘๙๙๐๙๙ กด ๑ (๐๒๗๘๙๙๐๙๙ #๑) บริษทั ฯ จะดำเนนิ การซอ่ มแซมสว่ นทเ่ี สียหายให้กลับมาใช้งานไดเ้ ป็นปกตทิ ันที

๔) ทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ทุกอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้เป็นปกติเช่น ใช้ระบบ CRIMES ได้จากภาพแสดงหน้าจอการเข้าใช้งานระบบ CRIMES ,ระบบ POLIS, การทดสอบสัญญาณ Network และการตง้ั คา่ หมายเลข IP Address เสรจ็ เรียบร้อย

ูรูปูภูาูพู๔๔ แู ูสูดูงูตูวูอูยูาูงูกูาูรูทูดูสูอูบูสูญูญูาูใูนูรูะูบูบูCRIMES และูPOLIS

ที่มา : ตำรานกั เรยี นนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๖๒

๕) ตรวจสอบการตดิ สตกิ เกอรโ์ ครงการ CRIMES ทกุ อปุ กรณใ์ นตาแหน่งท่กี าหนด

ูรูปูภูาูพู๔๕ูแู ูสูดงู ูตูาูแูหูนูงูกูาูรูตูดูสูตูกูเูกูอูรูบูรูเูวูณูดูาูนูขูาูงูเูคูรูองูThin client แู ูลูะูดูาูนูหูลูงูจูอูภูาูพ

ทม่ี า : ตำรานักเรยี นนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๑๖๓

รู ูปูภูาูพู๔๖ูแู สู ูดูงูตูาูแูหูนูงูกูาูรูตูดูสูตูกูเูกูอูรูบูนูอูปูกูรูณูขูนูาูดูเูลูก

ทมี่ า : ตำรานกั เรยี นนายสบิ ตำรวจ ปี ๒๕๖๔

๖) ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของใบงานก่อนลงลายมือช่ือรบั ทราบกรณีรบั มอบอปุ กรณ์

๑๖๔

๓.๓ ประโยชนข์ องระบบ CRIMES

๑) ประโยชน์ในภาพรวม ๑.๑) พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพให้กับสถานีตำรวจ และหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่สิบสวน

คดีอาญา ๑.๒) ใช้ฐานข้อมูลกลางและทำงานแบบรวมศูนย์ ซ่ึงง่ายต่อการบริหารจัดการข้อมูล ๑.๓) เช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่มีอำนาจในการสืบสวนสอบสวน ๑.๔) สนับสนุนการแลกเปล่ียนข้อมูลร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระบวนการยุติธรรม ๑.๕) สามารถนำข้อมูลด้านงานอาชญากรรม มาใช้วิเคราะห์ประมวลผลเพื่อสนับสนุนงานด้าน

ปฏิบัติการ ด้านบริหาร และด้านสถิติ ๑.๖) สามารถแบ่งปันการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสืบสวน สอบสวน เพื่อประโยชน์ร่วมกัน

๒).ประโยชน์สำหรับผู้ปฏิบัติงานสอบสวน ๒.๑) ลดงานของพนักงานสอบสวนและช่วยให้พนักงานสอบสวนทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๒) มีระบบแจ้งเตือนเกี่ยวกับระยะเวลาดำเนินการต่าง ๆ เช่น ครบกำหนดส่งสำนวนคดี ครบ

กำหนดขอผัดฟ้องฝากขัง ๒.๓) มีระบบแจ้งเตือนต่างๆเช่น หมายจับ คนหาย บุคคลพ้นโทษ รถหาย รถแจ้งสกัดจับ ๒.๔) สนับสนุนการทำงานร่วมกัน เช่น การแจ้งขออายัดตัวผู้ต้องหาจากสถานีตำรวจอื่น ๆ ๒.๕) สามารถออกเอกสารประกอบการทำสำนวน เช่น หมายจับ คำร้องขอหมายจับ คำร้องขอผัด

ฟ้อง บัญชีของกลางคดีอาญา ๓). ประโยชนสำหรับผู้ปฏิบัติงานสืบสวนปราบปราม ๓.๑) สามารถสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ข้อมูลทะเบียน

ยานพาหนะ ข้อมูลใบอนุญาตขับขี่ ข้อมูลทะเบียนปืน ข้อมูลใบอนุญาตพกพาอาวุธ ข้อมูลประกันสังคม ข้อมูล ท้องถิ่นของแต่ละสถานี หมายจับ คนหาย คนตาย คนพลัดหลง รถหาย

๓.๒) สามารถนำไปจัดทำระบบฐานข้อมูลสถิติ เช่น นาฬิกาอาชญากรรมตามประเภทคดี ฐานข้อมูล ท้องถ่ิน

๓.๓) สนับสนุนการทำงานร่วมกัน เช่น การแจ้งเตือนเม่ือสามารถจับตัวได้ตามหมายจับ เป็นต้น ๔). ประโยชน์สำหรับผู้บริหาร

๑๖๕

๔.๑) สามารถใช้สามารถตรวจสอบรายงานสถิติคดีประจำวัน เดือน ปี รายงานสถิติคดีตามสถานี จังหวัด ภาค หรือประเทศ ตลอดจนผลงานของเจ้าหน้าท่ีแต่ละคน

๔.๒) สนับสนุนการทำงานระหว่างสถานีตำรวจ บก., บช. และ ตร.ในการทำงานร่วมกันด้านการ วิเคราะห์และวางแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๕) ประโยชน์สำหรับประชาชน ๕.๑) ได้รับการบริการท่ีดีข้ึน รวดเร็วและเป็นระบบมากข้ึน ๕.๒) สามารถตรวจสอบความคืบหน้าของคดีตนเองได้ ๕.๓) ลดช่องว่างระหว่างเจ้าหน้าท่ีตำรวจกับประชาชน ๕.๔) ช่วยส่งเสริมสนับสนุนในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

ูรูปูภูาูพู๔๗ููแูสูดงู ูแูนูวูคูดูกูาูรูปูฏูบูตูงูาูนูกูาูรูรูบูแูขูงูคูวูาูมูใูนูรูะูบูบูCRIMES

ที่มา : ตำรานกั เรยี นนายสิบตำรวจ ปี ๒๕๖๔

รายละเอียดขนั้ ตอนการทำงาน ๑๖๖

• เจ้าหน้าที่ตำรวจจะบันทึกข้อมูลการแจ้งของทุกรายลงระบบ สารสนเทศสถานีตำรวจ(CRIMES) ทันที ช่วยลดปัญหาการเลือก ปฏิบัตปิ ฏิเสธการรบั แจ้ง

• พนักงานสอบสวนพิจารณาแล้วหากต้องทำการสืบสวนหาข้อมูลเพ่ิม จะส่งข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจฝา่ ยสบื สวน ปราบปรามผ่านระบบ เพอื่ ดำเนนิ การในสว่ นทเี่ กี่ยวข้องต่อ โดยท่ปี ระชาชนไม่ต้องให้ข้อมูล กับเจ้าหน้าที่ตำรวจซ้ำหลายครั้ง จะมีเพียงการให้ข้อมูลเพิ่มเติมใน ภายหลังเกิดการบรกิ ารทส่ี ะดวกรวดเร็วมากขึน้

• การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานราชการอื่นทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ สามารถสืบค้นและตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นได้ผ่านระบบ ลดเวลา ในการตดิ ต่อขอข้อมูลระหวา่ งหนว่ ยงาน ทำให้สะดวกรวดเร็วขึน้

ปัจจุบันการพัฒนาระบบ CRIMES อยใู่ นระยะที่ ๒ สว่ นที่ ๑ เป็นการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพให้กบั ระบบและ การนำข้อมูลไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ ดงั นี้

๑.๑ สามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อนำข้อมูลมาประยุกต์ใช้สนับสนุนอำนวยความสะดวกงานตำรวจใน รูปแบบต่าง ๆ ที่สะดวกและเหมาะสมมากขึ้น ได้แก่ ระบบแผนที่ข้อมูลอาชญากรรม, ระบบลงลายมือช่ือ อิเล็กทรอนิกส์, ระบบค้นหาข้อมูลอัจฉริยะ, ระบบรู้จำใบหน้า , พัฒนาระบบให้บริการประชาชนสามารถเข้า ตรวจสอบตดิ ตามความคบื หน้าทางคดีทตี่ นเปน็ ผู้เสียหายไดผ้ ่านทาง Internet , ระบบจัดการฐานข้อมลู แบบพร้อม กนั , พัฒนาระบบ CRIMES ใหส้ ามารถเข้าถงึ ได้ทกุ ท่ีทุกเวลาผ่านเครือข่าย Internet (CRIMES ONLINE) ระบบ การทำสำนวนอิเล็กทรอกนิกส์ ทำให้ลดงานเอกสาร เช่น งานพิมพ์เอกสารสำนวนตามแบบฟอร์มต่าง ๆ ยกเลิก สมดุ คมุ คดเี น่อื งจากมรี ะบบจำหน่ายคดี (วงแดง) ,ยกเลิกแฟม้ บุคคลทเ่ี กย่ี วขอ้ งอาชญากรรมมาจัดเก็บในฐานข้อมูล บุคคลท้องถน่ิ ฯลฯ

๑.๒ เพิ่มประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและฐานข้อมูลให้สามารถรองรับปริมาณข้อมูลและ ผใู้ ชง้ านในขณะเดียวกนั ได้มากข้นึ

๑.๓ มีการจัดหาเคร่อื งคอมพิวเตอรล์ ูกขา่ ยและอปุ กรณ์ต่าง ๆ เพิม่ ใหส้ ถานตี ำรวจท่วั ประเทศ

๑๖๗

ส่วนการพัฒนาระยะที่ ๒ ส่วนที่ ๒ คือการเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบดำรงอยู่ได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง หมายถึงเดิมนนั้ ตอ้ งเสยี บบัตรประจำตัวประชาชนและยนื ยนั ตวั ตนทุกวนั ท่ีจะต้องทำการสืบคน้ เพราะตัดเวลาเที่ยง คืน แต่ด้วยภารกิจต่อเนื่องในการสืบสวน การปฏิบัติภารกิจให้สำเร็จลุล่วงจำเป็นต้องมีข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อการ ตรวจสอบ ติดตามจับกุมคนร้ายได้อย่างรวดเร็ว และวางแผนป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ทนั ตอ่ สถานการณ์ โดยไดด้ ำเนนิ การ

๑) จดั สรา้ งศูนยป์ ระมวลผลสารสนเทศสำรอง (Disaster Recovery Center) ๒) พฒั นาระบบส่ือการเรียนรอู้ เิ ล็กทรอนิกส์ (E-Learning) ๓.๔ การเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอก เพื่อสนับสนุนงานปฏิบัติการให้สามารถสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ข้อมูลทะเบียนราษฎร ข้อมูลผู้ขออนุญาตมีและใช้อาวุธปืน ข้อมูลยานพาหนะ ข้อมูลใบอนุญาตขับขี่ ข้อมูล ผู้ประกันตนและสถานประกอบการ ข้อมูลแรงงานต่างด้าว ข้อมูลประกันสุขภาพ ข้อมูลจดทะเบียนบริษัทและ เครื่องหมายการค้า ข้อมูลหนังสอื เดนิ ทาง ข้อมูลหมายจบั ดเี อสไอ(DSI) ข้อมูลบคุ คลพ้นโทษและบคุ คลตอ้ งขัง

ูรูปูภูาูพู๔๘ูแู ูสูดูงูหูนูวูยูงูาูนูเูชูอูมูโูยูงูขูอูมูลูภูาูยูนูอูก

๑๖๘

๓.๕ ฝึกปฏิบตั ิ การเขา้ ใช้งานระบบบรหิ ารจัดการเรียนรู้ LMS และบันทึกข้อมูลรบั แจ้งเหตเุ บ้อื งตน้ ในระบบ CRIMES

ตามหัวขอ้ ต่อไปน้ี ๑) แจง้ เอกสารหาย, จราจร ๒) แจง้ เหตลุ กั ทรัพย์ ๓) แจ้งเหตุการณ์พนัน ๔) แจง้ เหตยุ าเสพติด ๕) บนั ทกึ ข้อมูลท้องถนิ่ ๖) วเิ คราะห์นาฬิกาอาชญากรรม ๗) บันทกึ ข้อมูลคดีอาญาครบทุกข้ันตอน (วงแดง) : จำหนา่ ยคดี

ูรูปูภูาูพู๔๙ ูแสู ูดูงูหูนูาูเูมูนูรูะูบูบูCRIMES -ูเูจู ูาูพูนูกูงูาูนูรูบูแูจูงูเูหูตูเูบูอูงูตูน