Loose connective tissue ม ความส าค ญอย างไรในผน งของล าไส

กาย วิภาค ศาสตร

นางสาววรญั ญา รอดสดุ 6417701001063

คำนำ

E-bookเ ล  ม นี้ เ ป  น ส  ว น ห นึ่ ง ข อ ง วิ ช า ก า ย วิ ภ า ค ศ า ส ต ร (Anatomy) โ ด ย มี จุ ด ป ร ะส ง ค  เ พ่ือ ใ ห  ผู จั ด ทำ ไ ด  อ ธิบ า ย โครงสรางของเซลลระดับโม เลกุล เซลลของสิ่งมีชีวิต ภาพรวมของกระบวนการแบงเซลล เนื้อเยื่อและอวัยวะของ ระบบตางๆในรางกายมนุษยรวมทั้ง ผิวหนัง กระดูกและขอ กลามเนื้อ ประสาท การไหลเวียนโลหิต การหายใจ การยอย อาหาร การขับถาย ตอมไรทอ การทำงานของฮอรโมน การ สืบพันธุ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโตในภาวะปกติของ รางกายได ตลอดจนการนำไปประยุกตใชในวิชาชีพพยาบาล ในภายภาคหนา

สุดทายนี้ตองขอขอบคุณอาจารย ท่ีกรุณาตรวจและให คำแนะนำเพื่อแกไขตลอดการทำงาน ผูจัดทำหวังวา E-book เลมนี้จะใหความรูและเปนประโยชนแกผูอานทุกๆทาน หากมี ขอแนะนำหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทำขอนอมรับไว และขออภัยมา ณ ทน่ี ดี้ ว ย

วรญั ญา รอดสดุ ผูจดั ทำ

สารบญั หนา

เรือ่ ง 1-21 22-45 CELL AND SKIN 46-60 FEMALE REPRODUCTIVE SYSTEM 61-96 ENDOCRINE SYSTEM 97-112 MUSCULAR SYSTEM 113-140 SKELETAL SYSTEM 141-159 DIGESTIVE SYSTEM URINARY AND MALE 160-169 REPRODUCTIVE SYSTEM 170-187 RESPIRATORY SYSTEM 188-210 CARDIOVASCULAR SYSTEM NERVOUS SYSTEM

1

2

โครงสรา งของเซลล

เซลล (Cell)

คือ หนวยเล็กท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต โดยเซลลสามารถเพิ่มจำนวนการ เจริญเติบโตและตอบสนองตอส่ิงเราได เซลลบางชนิดเคล่ือนที่ไดดวย ตัวเอง เชน เซลลอสุจิ เปนตน เซลลมีอยูหลายชนิดซึ่งมีรูปรางและ ลกั ษณะท่ีแตกตา งกนั ไปตามตำแหนง ทอี่ ยขู องเซลล เซลลสามารถบงบอก ถึงคุณสมบัติและแสดงความเปนสิ่งมีชีวิตไดอยางชัดเจนสมบูรณ และ เซลลยังชวยในการสรางและซอมแซม ผิวหนัง กลามเน้ือ กระดูก อวัยวะ ตา งๆ ของรางกาย

เซลลม สี ว นประกอบของทสี่ ำคญั อยู 3 สวน คอื เย่อื หุม เซลล (Cell Membrane/Plasma membrane)

ไซโตพลาสซมึ (Cytoplasm) นวิ เคลยี ส ( nucleus )

3

โครงสรา งและหนา ทขี่ องเซลล

เยื่อหมุ เซลล (Cell Membrane/plasma membrane)

เปนเสมอื นรว้ั บา นกนั เซลลออกจากกัน ประกอบดวยสารโปรตีนรอ ยละ 70 คดั เลอื กสารท่จี ะผา นเขา-ออกจากเซลล จึงมีคณุ สมบตั เิ ปนเยอ่ื เลือกผา น (Semipermeable membrane) และรักษาสมดลุ ของสภาพแวดลอมภายใน เซลล

ไซโทพลาสซมึ (Cytoplasm)

• ไซโตซอล (cytosol) มลี ักษณะเปนของเหลวคลา ยวุน ประกอบดว ย สารอนิ ทรียแ ละสารอนินทรยี ร วมถึงสาร แขวนลอยตา งๆและเปนแหลงของปฏกิ ิรยิ าเคมี • ออรแ กเนลล( organelle) เปนองคประกอบของเซลลท ม่ี โี ครงสรา ง (Structure) และหนา ที่ (Function) ท่ีแนน อน แขวนลอยอยใู นไซโตซอล

ไมโทคอนเดรยี (mitocondria) 4

มีรูปรางหลายแบบ ขึ้นกับชนิดของเซลล มีเย่ือหุม 2 ช้ัน ช้ันนอก เรียบ ช้ันในจะพับทบไปมาแลวยื่นเขาไปดานใน เปนแหลงผลิต พลังงานสูงใหแกเซลลในรูปของ adenosine triphosphate (ATP) โดยเปล่ียนพลังงานในอาหารใหเปนพลังงานในรูป ATP ท่ีเซลล สามารถนำไปใชได

รางแหเอนโดพลาสซมึ (Endoplasmic Reticulum, ER)

Rough Endoplasmic Reticulum, RER มีไรโบโซม (Ribosome) เกาะทผี่ วิ

ดานนอกทำใหมผี วิ ขรุขระ มีสวนท่ี เชื่อมตอกบั เยอ่ื หุมนวิ เคลยี สและ ลำเลียงโปรตีนท่สี รา งจากไรโบโซม เพอ่ื สง ออกไปใชนอกเซลล

Smooth Endoplasmic Reticulum, SER ไมมไี รโบโซมเกาะ มีผวิ เรียบ สรา งไขมนั ฮอรโมน steroid และ

กำจดั สารพิษในเซลลตับ

Golgi complex หรอื Golgi body หรือ Golgi apparatus 5

เปนออรแกเนลลทีต่ ิดตอ กบั ER มีลักษณะเปนถุงแบนที่มเี ยอื่ 2 ชั้น ทำหนา ท่ีเติมองคป ระกอบที่เปน คารโบไฮเดรตและไขมนั ใหก ับ โปรตีนท่รี บั มาจาก RERเพ่อื สงออก มาภายนอกเซลล

ไรโบโซม (ribosome)

เปนออรแ กเนลลทมี่ ขี นาดเล็กที่สุด • (Free Ribosome) เปน โครงสรา งเดย่ี ว เปน อิสระกระจายทว่ั เซลล ไมท ำหนา ทสี่ รางโปรตีน • (FreePolyribosome) กลุม ไรโบโซม เกาะติดกบั สาร mRNA ทำหนาท่สี รา งโปรตีนเพอ่ื ใชเ ปน เอนไซมใ นเซลล • (Poly Ribosome)จับกนั เปนสายโพลีไรโบโซมเกาะตดิ กบั ผนงั ดาน นอกของ RER ทำหนาทีส่ ังเคราะหโ ปรตีนเพ่ือสง ออกภายนอกเซลล

6

ไลโซโซม (Lysosome)

เปนถุงขนาดเลก็ มเี ยือ่ ชัน้ เดียว ภายในจะบรรจเุ อนไซมซ ง่ึ ยอ ยสลาย ดว ยนาํ้ (Hydrolytic Enzyme) ยอยออรแ กเนลลข องเซลลท ห่ี มดอายแุ ละ ทำลายเชอ้ื โรคหรือส่ิงแปลกปลอมที่เขา สรู า งกาย

เซนทรโิ อล Centriole

ประกอบดว ยหลอดเล็ก ๆ เรียกวา microtubuleเรยี งตวั กนั เปน กลุม ๆ ทำหนา ท่ีสรางเสน ใยสปนเดิล (Spindle Fiber) เพอ่ื ยดึ ตดิ กับโครโมโซม

นิวเคลยี ส (nucleus) 7

ควบคมุ การแสดงลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การแบงตวั ของเซลลแ ละ ควบคุมการสรา งโปรตนี ประกอบดวย

• เยือ่ หุม นวิ เคลยี ส (Nuclear Membrane/Nuclear envelope) Membrane 2 ชั้น ซง่ึ เชอื่ มติดกนั เปน ชว งๆ ทำใหเกิดเปนหลุม (Nuclear Pore) ทำใหมีการแลกเปลย่ี นสารระหวางนวิ เคลียสกบั ไซโตพลาสซมึ เชน mRNA rRNA

• นิวคลีโอลัส (Nucleolus) เปนเสน ใยซง่ึ เปน โมเลกุลของ DNA ท่ีขดตวั เปนกอน ทำหนา ทีส่ ังเคราะห RNA โดย DNA

• เสนใยโครมาติน (Chromatin) คอื เสนใย DNA ท่ีจับอยูกับโปรตนี ซ่งึ ในระยะทเ่ี ซลลแบง ตวั DNA กบั โปรตนี จะรวมตวั กันแนน ปรากฏใหเ หน็ เปนแทง โครโมโซม (Chromosome)

8

การลาํ เลยี งสารเขา ออกของเซลล

การลำเลยี งสารแบบไมใ ชพ ลงั งาน (passive transport)

การแพร (diffusion) การแพรธรรมดา (Simple diffusion) การกระจายของอนภุ าคจากสาร

บริเวณทีม่ คี วามเขม ขน ของสารสูงไปสบู ริเวณท่ีมคี วามเขม ขน ของสารตาํ่ กวา การแพรแ บบมีตวั พา ( Faciliteated diffusion )การแพรข องสารผาน โปรตีนตวั พา(Carrier) มอี ัตราการแพรเ ร็วกวา การแพรแ บบธรรมดามาก

ออสโมซสิ (osmosis)

เปนการแพรข องเหลวหรอื การแพรข องนํา้ ผา นเย่อื เลือกผา นโดยน้าํ จะ แพรจากบริเวณทม่ี ีความหนาแนน ของนา้ํ มากไปยงั บริเวณทม่ี คี วาม หนาแนน ของนํ้านอ ยกวา

- เมอ่ื เซลลอ ยใู นสารละลายไฮโปทูนคิ (Hypotonic Solution) มี ความเขม ขน ต่าํ กวาภายในเซลล นํ้าจากสารละลายจะแพรเ ขา สเู ซลลท ำ ใหเ ซลลเ ตง บวมและแตกได

- เมื่อเซลลอ ยูใ นสารละลายไฮเปอรท ูนคิ (HypertonicSolution) มี ความเขม ขน สูงกวาภายในเซลล นา้ํ จะแพรออกจากเซลลท ำใหเ ซลล เหีย่ ว

- เซลลท อี่ ยใู นสารละลายไอโซทูนคิ (Isotonic Solution) คือ สารละลายท่ีมคี วามเขมขน เทากับภายในเซลล จะไมม กี ารแพรข องนา้ํ ปรมิ าตรของเซลลไ มเ ปล่ยี นแปลง

9

การลำเลยี งโดยใชพ ลงั งาน (Active Transportation)

สามารถนำสารจากบรเิ วณทม่ี คี วามเขมขนของสารตํ่าไปสู บริเวณท่ีมีความเขมขน ของสารสูงกวา ได โดยใชพ ลังงานจาก ATP

- การดูดกลบั สารทที่ อของหนว ยไต

- Na+ -K+ pump หรอื การขบั Na+ และการรบั K+ของใย ประสาท

10

Tissue structure and function โครงสรา งและหนาทข่ี องเนอ้ื เย่ือ

เปน โครงสรา งท่เี กิดจากเซลลช นิดเดียวกันมารวมกนั เพื่อทำหนาทีใ่ ดหนา ทหี่ นึ่ง ประเภทของเนอ้ื เยอื่ • เนื้อเยื่อบุผิว Epithelial tissues • เน้อื เย่ือเกีย่ วพัน Connective tissues • เน้ือเยื่อกลามเนอื้ Muscle tissues • เนอ้ื เย่อื ประสาท Nervous tissues

เนื้อเยอ่ื บผุ วิ Epithelial tissues แบง ตามลกั ษณะรปู รา งได 3 แบบ – Squamous epithelium รปู รา งแบน บาง – Cuboidal epithelium รูปรา งเหมอื นลกู บาศก – Columnar epithelium รปู รางสูง มีความสูงมากกวา ความกวา ง

แบงตามจำนวนชนั้ ของเซลล 11

– Simple epithelium เซลลเรยี งกนั เปนช้ันเดยี ว

– Pseudo stratified epithelium ประกอบดวยเซลลเ รยี งกนั เปนช้นั เดยี วบน

เยือ่ รองรับฐาน แตมเี พียงบางเซลลเ ทา นนั้ ท่สี งู ถงึ ผวิ หนา ดา นบน

– Stratified epithelium เซลลเ รยี งซอนกันหลายชนั้

ทำหนา ที่ ปอ งกนั (protection) เชน เนื้อเยอื่ บผุ ิวทีป่ กคลุมรา งกายไมใ ห เชอื้ โรคเขา สรู างกายและปอ งกันการระเหยของนาํ้ ออกสูรา งกาย การดดู ซมึ (absorbtion) เน้ือเยือ่ บทุ ผ่ี วิ ของลำไสเ ล็ก และดูดซึมอาหารเขาสูหลอด เลอื ด สรา งสารคดั หลั่ง(secretion) เชน ตอ มตา งๆทีท่ ำหนาที่สรา งฮอรโมน เพอ่ื ควบคมุ การทำงานของรา งกาย

เนือ้ เย่ือเก่ยี วพนั (Connective tissue)

เปนเนอื้ เยือ่ ที่พบแทรกอยูทว่ั ไปในรางกาย ทำหนา ที่ ยดึ เหน่ียวหรอื พยุง อวยั วะ ใหค งรปู อยูได ลักษณะของเนอื้ เยื่อชนดิ นี้ คอื ตวั เซลลแ ละเสนใย กระจายอยู ในสารระหวางเซลลที่เรยี กวา เมทริกซ (matrix) เนอ้ื เยือ่ เก่ียวพันแบง เปน 4 กลุม ไดแก

1. เนอ้ื เยอ่ื เกยี่ วพนั สมบรู ณ (connective tissue proper) 12

ลักษณะเมทริกซเปนเสน ใยกระจายอยแู ตกตา งกนั แบง เปน 2 ประเภท คือ

- เนือ้ เยือ่ เกี่ยวพนั ชนิดโปรงบาง (loose connective tissue) เปน เน้อื เย่อื มเี สนใยเรยี งตวั ไมเ ปน ระเบยี บ ชนิดท่ีพบมาก ไดแกคอลลาเจนและ อิลาสตกิ สำหรับเสนใยรางแหพบเล็กนอย

- เนือ้ เย่อื เกี่ยวพนั ชนดิ แนน ทึบ พบปริมาณเสน ใยมากอยูตดิ กนั แนน ทบึ ทำใหม ีชอ งวา ง ระหวางเซลลน อ ย

2. กระดกู ออ น (cartilage) พบอยตู ามสวนของโครงกระดกู โดยเฉพาะบรเิ วณท่ีกระดูกมกี าร

เสียดสกี นั ประกอบดว ย เมทรกิ ซ มลี ักษณะคลาย วนุ เซลลก ระดกู ออน เรียกวา คอนโดรไซต (chondrocyte) เรยี งตวั อยูในชองวา งท่เี รียกวา ลาคูนา (lacuna) กระดกู ออ นสามารถพบไดท ่ใี บหู ฝาปด กลอ งเสียง (epiglottis)กลองเสยี ง(trachea) กระดูกออนกัน้ ระหวา ง กระดกู สัน หลังแตละขอ (intervertebral disc)

3. กระดกู แขง็ (bone) 13

ประกอบดวยเซลลกระดูกท่ีเรียกวา ออสทีโอไซต (osteocyte) อยูใน ชองลาคูนา โดยเซลลกระดูก จัดเรียงตัวเปนวงรอบชอง ฮาเวอรเชียน (harversian canal) ท่ีมีเสนเลือดนำอาหารมาเลี้ยงเซลลกระดูกและเรียก การเรียงตัวของเซลลกระดูกน้ีวา ระบบฮารเวอรเชียน (harversian system) ชองฮารเวอรเชียนสามารถติดตอกับ ชองลาคูนาหรือระหวางชอง ลาคูนาดวยกันเองโดยผานชองเล็กๆ ท่ีเรียกวา คานาลิคูไล (canaliculi) สารระหวางเซ ลล กระ ดูก ประ กอบ ดว ยแค ลเซี ยมและฟ อสเ ฟตเ ป น องคป ระกอบสำคญั

4. เลอื ด (blood) ประกอบดว ย • นา้ํ เลอื ด (plasma) • เซลลเม็ดเลอื ด แบงเปน

- เซลลเ มด็ เลอื ดแดง (red blood cell or erythrocyte) มีรงควตั ถุ ฮโี มโกลบิน (hemoglobin) ซง่ึ เปน โปรตีนทีอ่ ยใู นเมด็ เลือดแดง และมี คุณสมบัติในการจับกับออกซิเจนเพ่ือนำไปเลย้ี งเนื้อเยื่อตา งๆ และ ลำเลียงคารบ อนไดออกไซดกลบั มาฟอกที่ปอด มปี รมิ าณมากกวา เซลล เมด็ เลือดขาวและเกรด็ เลอื ด

14

- เซลลเ มด็ เลือดขาว (white blood cell or leucocyte) ทำหนาที่ ทำลาย สง่ิ แปลกปลอมทเ่ี ขาสูรา งกาย

- เกลด็ เลอื ด (Platelets) ทำหนาท่ชี วยใหเลือดแขง็ ตวั โดยการปลอย สารทรอมโบพลาสตนิ ซงึ่ เปนเอนไซมช นิดหนงึ่ ออกมา ทรอมโบพลาสติน กระตุนโพรทรอมบนิ ใหก ลายเปน ทรอมบนิ ทรอมบนิ กระตนุ ไฟบรโิ นเจนให กลายเปนไฟบรนิ ซง่ึ จะรวมตวั สานกนั ในลักษณะตาขา ยเพอื่ ปดบาดแผลไว

เนอื้ เย่ือกลา มเนอ้ื (Muscular tissue) แบง เปน 3 ชนิด

1. กลามเนอื้ เรียบ (smoothmuscle) พบท่ีอวัยวะภายใน เชนท่ผี นงั ของ ทางเดนิ อาหารมดลูก เสน เลือด และอวัยวะภายในอน่ื ๆ รูปรา งของเซลลม ี ลักษณะยาว หัวทา ยแหลม แตละเซลลม ี1นวิ เคลยี สอยูต รงกลางเซลล และ การทำงานอยูนอกอำนาจจิตใจ

15

2. กลามเนื้อยึดลาย (skeleton muscle) เปนกลามเนื้อขนาดใหญอยูติดกับ กระดูก เชน กลา มเนื้อที่แขนขา จงึ ทำหนา ท่ีเก่ียวกบั การเคลื่อนไหวของรางกาย โดยตรง เซลลกลามเน้ือน้ีมีลักษณะเปนทรงกระบอกยาว การทำงานของ กลามเนอื้ นีอ้ ยภู ายใตอ ำนาจจิตใจ ควบคุมโดยระบบประสาท

3. กลา มเนอ้ื หวั ใจ (cardiac muscle) พบท่ผี นงั หวั ใจ เซลลมรี ูปรา งยาว ทรงกระบอก มนี ิวเคลยี สอันเดียวอยตู รงกลางทำงานอยนู อกอำนาจจิตใจ ควบคมุ การทำงานโดยประสาทอัตโนมตั ิ

เน้อื เยอ่ื ประสาท (Nervous tissue) ประกอบดว ย 16

1. เซลลประสาท (neuron) ทำหนา ทร่ี บั สงกระแสประสาท 2. เซลลเ กย่ี วพันประสาท (neuroglia) ประกอบดวย • ตวั เซลล ซ่ึงอยูในช้นั สีเทา (grey matter) ของระบบประสาท ไขสนั หลังและระบบประสาท สวนกลาง เซลลประสาทมลี กั ษณะ กลมขนาดใหญ มีนวิ เคลียสอยตู รงกลาง • แขนงประสาท แบง เปน

- เดนไดรต (dendrite) ทเี่ ปนแขนงประสาทขนาดสั้นทำหนาที่ รบั กระแสประสาท (impulse) เขา สตู วั เซลล

- แอกซอน (axon) เปนแขนงประสาทลกั ษณะยาวไมม ีแขนง แตกออกใกลกบั ตวั เซลลแ อกซอน ทำหนา ทน่ี ำกระแสประสาท ออกจากตัวเซลล

17

ระบบปกคลมุ รา งกาย

• ผิวหนัง (skin) ผิวหนังเปนหน่งึ ในอวยั วะทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ของรางกาย โดยคิดเปน 16% ของนา้ํ หนักตวั เปน ตวั แบง ก้นั อวยั วะภายในออกจาก สง่ิ แวดลอ มภายนอก • อวยั วะที่มตี น กำเนดิ มาจากผวิ หนงั (เลบ็ ผม/ขนและรขู มุ ขน ตอมไขมนั ตอมเหงอื่ )

Epidermis (หนงั กำพรา )

เปน เยื่อบุผิวชนดิ stratified squamous keratinizedepithelium ชัน้ น้ี ไมมหี ลอดเลือด จึงไดร ับอาหารจากชั้นที่อยลู ึกกวา • Thick skin คอื ผวิ หนงั ที่มีชนั้ epidermis หนาพบบริเวณฝา มือ ฝาเทา ซึง่ จะไมม ขี น รูขมุ ขนแต จะมตี อ มเหงอื่ • Thin skin คือ ผวิ หนงั ทมี่ ชี น้ั epidermis บางพบไดท ัว่ รางกาย ซ่งึ ผิวหนังชนดิ นจี้ ะมรี ขู มุ ขนตอ ม ไขมัน ตอมเหงอ่ื

Epidermis ประกอบดว ยเซลล 4 ชนิด คอื 18

- Keratinocyte เปนเซลลทเี่ ปน องคป ระกอบหลกั ของ epidermis ประมาณ 85 % ทำหนา ทสี่ ราง keratin โดยขบวนการ keratinization จนไดเ ซลลช น้ั บนท่ตี ายแลว

- Melanocyte ทำหนา ท่ีสรางเมลานิน ซงึ่ เปนสารทที่ ำใหเกิดเมด็ สี

- Langerhans cell เก่ยี วของกับระบบภูมคิ มุ กันของรา งกาย

- Merkel cell เปน เซลลเกย่ี วกับการรบั ความรูส ึก

Dermis (หนังแท)

• เปน ชน้ั ท่ีอยูใตช ั้นหนงั กำพรา ประกอบไปดวยconnective tissue ระบบ เสนเลือด เสนประสาทตอมไขมนั และตอมเหงื่อ มสี วนของหนงั แทที่แทรก อยรู ะหวางหนงั กำพรา เรยี กวา Dermalpapillae • เปน ท่อี ยูข อง collagen ชวยใหความแขง็ แรงและซอมแซมผิวหนงั ทบี่ าดเจบ็ และ elastin สรา งความยืดหยุน ใหผ วิ หนัง

Hypodermis หรอื Subcutaneous fattytissues 19

• อยูใตช ้ันหนังแท ประกอบไปดว ย เนือ้ เยื่อเก่ียวพันท่อี ยูก ันอยา ง หลวมๆ (looseconnective tissues) และไขมัน(Adiposetissues) ทำหนาทสี่ ะสม ไขมนั อยูใตผ วิ หนงั และเก็บสะสมพลังงานความรอนในรางกาย

ผม/ขน 20

• Hair shaft ปกปด ไมใหส่ิงสกปรกเขาสูผวิ หนงั • Hair root รากขนเปน ทยี่ ดึ เกาะของขน • Hair follicle รขู มุ ขนเปน ที่อยูข องขน

ชว ยปกปองสวนชนั้ ในของขนบรเิ วณ สว นปลายลกึ สุดจะมี dermis ยื่นลกึ เวาเขามาทำใหเกดิ เปนกระเปาะขึ้น เรยี กวา dermal papilla ซึ่งเปนท่ีอยูของ hair matrix ทำหนา ทเี่ ปน ตวั สรางเสนขน (hair shaft) • Hair follicle receptor ทำหนา ทีร่ บั สมั ผัส ทำใหเกิดขนลกุ • Arrector pili muscle เปนกลา มเนอ้ื เรยี บ เมอ่ื หดตัวจะทำใหเ กดิ ขนลกุ

ตอ มไขมนั

พบอยรู วมกบั hair follicle ท่ัวรา งกาย มีหนา ที่เคลอื บผวิ หนงั และเสน ผม ทำใหม คี วามชมุ ชน้ื

ตอมเหงอ่ื 21

• ECCRINE SWEAT GLAND พบตามรางกาย มีหนา ท่หี ลั่งเหงื่อ เพ่อื ระบายความ รอนออกจากรา งกาย ซง่ึ เปน วิธีทม่ี ปี ระสิทธิภาพทสี่ ดุ ของรางกาย ในการรกั ษา สมดุลของความรอน

• APOCRINE GLANDS พบเฉพาะรกั แร( axillae) และอวยั วะสืบพนั ธุ (genitalia) สารทีผ่ ลิตจากตอ มนจ้ี ะมลี กั ษณะคลายนา้ํ นม และไมม กี ลิ่น ตอมาเชื้อ bacteria ที่อยูบริเวณผวิ หนงั จะมายอ ยทำใหเกดิ กลน่ิ ข้ึน

• Sweat pore รูขบั ถา ยของเสยี (เหงอื่ )

เล็บ

• Nail plate คอื แผน เล็บประกอบ ดวยเซลลท ่ตี ายแลว (Dead keratinizedplate) เล็บจะยาวและ งอกใหมต ลอดเวลา • Nail matrix เปน เซลลเยอ่ื บทุ ่อี ยู ใตชั้น lanula ทำหนา ท่ีเปน ตัวสราง แผนเลบ็ (nail plate) • Nail bed คอื เน้ือเย่อื ทีอ่ ยูใ ต nail plateและยึดตดิ แนนกับ nail plate

22

23

อวัยวะสบื พนั ธภุ ายนอก

mons pubis สว นของเนื้อเยือ่ ลักษณะนนู เกิดจาก fatty tissue

ตงั้ อยูบ รเิ วณหนา pubic symphysis อยเู หนอื ตอกระดกู เชงิ กราน

ภายในมี loose connective tissue กบั adipose tissue ปนกัน และ

มี pubic hair ข้นึ ปกคลมุ ในระยะ puberty จำนวนขนและสีของขน

ขน้ึ อยูกบั เช้ือชาติและลกั ษณะแตละบคุ คล (ขนมปี ระโยชนช วยลดการ

เสยี ดสขี ณะรวมเพศ)

labia majora เปนรอยคดโคง ของผวิ หนัง ลักษณะนูนแยกเปน กลีบ 2 กลบี ตอ จากหัวหนา ว คอ ยๆเรียวลงมาทางดา นลา งบรรจบกันเหนอื ฝเ ยบ็ ดา นลา งที่ เช่อื มกันสว นท่ีนนู ขน้ึ เลก็ นอย เรยี กวา Fourchette มsี ubcutaneous adipose connective tissue มขี น ตอมเหงอื่ และตอมไขมนั เทียบไดกบั สว น ทเ่ี จริญเปนถงุ อณั ฑะในเพศชาย ยาวประมาณ 7-8 เซนตเิ มตร ลกึ ประมาณ 2- 3 เซนติเมตร หนาประมาณ 1-1.5 เซนตเิ มตร ผวิ หนังดา นในของlabia majora จะไมม เี สน ขนปกคลมุ เปนตำแหนง ทมี่ ีตอ มตา งๆ ไดแก apocrine, eccrine และ sebaceous glands ใตช้นั ผิวหนังลงไปเปน สว นประกอบของเนื้อเย่ืออลิ า สติก ไขมนั และมเี สน เลอื ดมาหลอเล้ียงจำนวนมาก ในขณะต้งั ครรภอ าจเกดิ ภาวะเสน เลือดขอดท่ี labia majora ได ซึ่งจะเหน็ เปน เสนเลือดดำโปง ออกมา ชดั เจน หรือเปนกลุมเล็กๆ ก็ได ซง่ึ มักไมแ สดงอาการและหายไปเองหลังคลอด

24

labia minora ทำหนา ทป่ี กปอ งรเู ปด ของทอ ปสสาวะและชอ งคลอด ลักษณะเปน สนั นนู ตามยาวอยรู ะหวาง labia majora เปนกลีบแดงเล็ก และบางกวาแคมใหญ อยู 2 ขาง ขนาดและรูปรา งแตกตา งกัน ประกอบดวยตอมไขมนั หลอดเลอื ด ปลายประสาทรับความรูสึก จงึ มี ความไวตอ ส่ิงทมี่ ากระตนุ ไมม ีขน ไมม ีไขมนั สีคลํา้ า สวนบนเปนหนังหุม clitoris เรียกวา prepuce of clitoris และสว นในรวมกนั ยึดกบั ปลาย clitosis เรยี กวา frenulum of clitoris vestibulargland ภายใน labia minora ประกอบดว ยเนอื้ เย่อื เก่ยี วพนั และเน้ือเยอื่ อลิ าสติก มี กลามเนื้อเรียบอยูนอยมาก มีเสน ประสาทมาเลย้ี งมากและไวตอ การสัมผัส

clitoris เปนโครงสรางทคี่ ลา ยกับ glans penis ในผูช ายสามารถ แข็งตัวได มีขนาดไมเ กนิ 2 เซนตเิ มตร มเี สน ประสาทมาเลีย้ งมาก มี เน้ือเย่อื ลกั ษณะคลายฟองนาํ้ และมเี สนเลือดอยูจำนวนมาก ตำแหนงอยทู ่ี สวนบนสุดของvulva ใตแ ละตอ mons pubis

25

vestibule of vagina เปน แองอยรู ะหวา ง labia minora โดยมี ขอบเขตดานขางเร่ิมจาก hart line ขอบเขตดานในคอื เยือ่ พรหมจรรย ขอบเขตดา นหนา คอื clitoral frenulum และขอบเขต ดา นหลงั คือ fourchette ภายในมรี ูเปดของ 6 ส่งิ ไดแก ทอปสสาวะ ชองคลอด ตอ ม bartholine (greater vestibular gland) 2 ตอ ม และตอ Skene 2 ตอมโดยทีช่ อ งวา งระหวาง fourchetter กับรูเปด ของชอ งคลอด เรียกวา fossa navicularis (บริเวณระหวา ง hymen และ posterior fourchette) ของ greater vestibular gland epithelium

bartholine’s gland or greater vestibular gland อยูภายใตผ นัง vestibule ทั้งสองขาง ทีต่ ำแหนง 5 และ 7นากิ า มที อ มาเปดใน vestibule ใกล hymen สรา ง mucous secretion หลอ ล่ืน vestibule ในขณะรว มเพศ หากมกี ารตดิ เชอ้ื หรอื อดุ ตนั ตอ มนจ้ี ะมขี นาดโตขน้ึ จน สามารถคลํ้าพบไดจากภายนอกและทำใหมอี าการปวด ซงึ่ รกั ษาโดยการทำ marsupialization

hymen เยอ่ื พรหมจรรย เปน mucosal fold ที่บางๆ อยูขอบๆ vagina orifice ประกอบดวยชัน้ ของvascular connective tissue ท่คี ลุมดวย ดวย stratified aquamous epithelium ทง้ั สองดา น รเู ปดของเย่ือ พรหมจรรยในคนท่ไี มเ คยมเี พศสมั พนั ธมากอ นมขี นาดแตกตา งกันตัง้ แต ขนาดเทา รูเข็ม จนถึงประมาณ 1-2 fingertips

อวยั วะสบื พนั ธภุ ายใน 26

ชองคลอด (vagina)

ชอ งคลอดจะตอกบั ปากมดลูกและมดลกู ดานหนาคือทอ ปส สาวะและกระเพาะ ปส สาวะ ถกู แยกโดยเนอ้ื เย่ือเก่ยี วกนั ชอ่ื vesicouterine septum ดานหลัง ชองคลอดติดกบั ลำไสใ หญ ถูกแยกกนั โดยเน้อื เยื่อเกย่ี วพันชอ่ื rectovaginal septum โดย 1/4 ของชอ งคลอดดา นบนมที วี่ างค่ันระหวา งชอ งคลอดกับลำไส ใหญ เรยี กวา rectouterine pouch หรือ cul de sac หรือ pouch of Douglas

ความยาวชอ งคลอดมีความแตกตา งกนั ในแตล ะบุคคลและดานหลงั ยาวกวา ดานหนา โดยดานหนา ของชองคลอดยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร และ ดานหลงั ยาวประมาณ 7-10 เซนตเิ มตร โดยสว นบนของชอ งคลอดทีต่ อ กบั ปากมดลกู ถูกแบง ออกเปน 4 สวน เทียบกับปากมดลกู คือ anterior pornix,posterior pornix, lateral fornix ทง้ั 2 ขาง ซึง่ fornixes เหลาน้มี คี วามสำคญั ทางคลนิ กิ เพราะเปน ตำแหนง ทว่ี างน้ิวมอื ขณะทำการ ตรวจ bimanual palpation เพ่อื ตรวจขนาดและรูปรา งของมดลูกและตรวจ ความปกติและผดิ ปกติของปก มดลกู ทัง้ สองขาง และ posterior pornix ยงั เปนสวนทใ่ี ชในการเหนบ็ ยาทางชอ งคลอดอีกดว ย

สว นกลางของชอ งคลอดจะยึดเกี่ยวกับองุ เชงิ กรานดว ยกลา มเน้อื levator ani ปกติจะแฟบผนังดา นหนา-หลงั ชนกนั บริเวณชอ งเปดมี hymen อยู ใน vagina สวนลกึ สุดจะมปี ากมดลูก (cervix) อยู ซึ่ง cervix นับเปนสวน ลา งสุดของ uterus รเู ปดของ cervical canal ท่เี ขา สโู พรงมดลูกเรยี กวา internal os สวนดานทีอ่ ยตู ิดกับชอ งคลอดเรียก external os ซง่ึ cervix มีเยื่อบชุ นิด simple columnar epithelium และมี cilia เปนบางเซลล สวน cervix ทย่ี ่นื เขา ชอ งคลอดบดุ ว ย stratified aquamous nonkeratinized epithelium ในสตรที ยี่ งั ไมม ีเพศสมั พันธจ ะมี external os ทกี่ ลมและปด จะเปดเวลามรี อบเดอื น สว นสตรีทีผ่ านการคลอดบุตร external os จะมี ลกั ษณะเปน แฉก

27

เยอื่ บุของชอ งคลอดหญงิ วยั เจรญิ พนั ธเ ปนรอยพบั ไปมา เรียก rugae ซึ่งเม่อื ถึงวยั หมดประจำเดือนรอยพบั เหลา นจี้ ะนอ ยลงจนแทบไมม เี ลย ชอ ง คลอดไมมตี อ มสรางสารหลอลนื่ แตไ ดรับสารหลอลนื่ มาจาก vaginal epithelium โดยขณะตงั้ ครรภชอ งคลอดจะผลติ สารหลอ ลื่นเพม่ิ ขน้ึ จาก ฮอรโ มน estrogen

ชอ งคลอดสวนบนไดร บั เลือดมาจากเสน เลือด cervical branch ของ เสนเลือด uterine และเสน เลอื ด vaginal artery ชอ งคลอดดา นหลัง ไดร ับเลอื ดมาจากเสนเลือด middle rectal และชองคลอดสวนลา งไดร ับ เลอื ดมาจากเสน เลือด internal pudendal ซง่ึ ในระยะคลอด cervix จะ เปด ขยายออก เพ่ือใหท ารกผา นออกมา

นํ้าเหลอื งจาก 1/3 ของชอ งคลอดสว นลา ง และอวัยวะเพศภายนอกจะ ไหลกลับสูต อ มนา้ํ เหลอื ง inguinal lymph nodes ในขณะทส่ี ว นกลางของ ชองคลอดจะไหลกลบั สูต อมนาํ้ เหลอื ง internal iliac lymph nodes และ ชองคลอดสวนบนไหลกลบั สู external, internal and common iliac lymph nodes

28

มดลกู (uterus)

Uterus จะมีขนาดประมาณ 5 เซนตเิ มตร ยาว 7.5 เซนตเิ มตร หนา 1.75 เซนติเมตร อยใู นองุ เชิงกราน อยตู อ จาก rectum และหลงั urinary bladder แบง เปน 4 สวน

สว นยอดมดลกู (fundus) คอื สว นบนที่อยเู หนอื ทอ นำไข cornu หรือระดบั ทอ รังไขท งั้ 2 ขา ง เปนตำแหนงหลอดมดลูกตดิ กับโพรงมดลกู จะมลี ักษณะ นูนและอยูสวนบนสุดของมดลูก ถอื เปน สวนทกี่ วางทสี่ ดุ

สว นตวั มดลกู (corpus or body of uterus) คอื สวนทถ่ี ดั จากยอดมดลูกลง มา อยูต ่าํ กวาทอ นไขเ รียวลงไปมรี ูปรา งเปนทรงกระบอก คอยๆเรยี วเขา สูป าก มดลูก ในขณะตัง้ ครรภมดลูกจะขยายตัวมากเพอ่ื เปน ทอี่ ยูข องทารกในครรภ ชว ยปกปอ งทารกในครรภ ภายหลงั คลอดแลว ประมาณ 45 วัน มดลกู จะหด ตวั เล็กลงเกือบเทาเดมิ แตก ็ใหญก วา กอ นต้ังครรภเ ล็กนอ ย ภายหลังวยั หมด ประจำเดอื นแลว มดลกู จะเหี่ยวและเลก็ ลง

สวนคอมดลกู (isthmus) คอื สว นท่แี คบจะอยูระหวา งตวั มดลกู และปาก มดลกู สว นนีจ้ ะถกู ยืดขยายเปน มดลกู สวนลา ง ( lower uterine segment) ขณะทมี่ ีการคลอด

สว นของปากมดลกู ( cervix ) คอื สวนของมดลกู ท่ีตอ มาจากตวั มดลูก ลา งสุดท่ีอยตู ิดกับชอ งคลอด

29

ภายในมดลกู มโี พรงมดลูก ( uterine cavity) เปนชอ งวาง รูปสามเหล่ียม สวนชอ งใน cervix เปน รูปกระสวยเรียกวา cervical canal

ligament ท่ีทำหนาท่คี อยยดึ ตวั มดลกู ใหอ ยูภ ายในองุ เชิงกราน ไดแก - broad ligament เปนสวนของเย่อื บุชองทอ ง ( parietal peritoneum) 2 ชั้น คลุมมดลูกเอาไวด านขางจะแผออกเปน แผน กวา งยดึ ดา นขา งของมดลกู ท้ัง 2 ขา งใหตดิ กบั ผนังดานขาง ของ องุ เชงิ กราน - round ligament เปน กอนเนอ้ื เยือ่ เกี่ยวพนั อยูภายใน broad ligament จะเกาะที่ดา นขางของมดลูกบริเวณ

อวยั วะอน่ื มาชว ยยดึ มดลกู เอาไว

1. กลา มเนอ้ื levator ani เปน กลา มเน้ือที่ยึดจากกระดูก pubis, ischium และ ilium ไปเกาะที่กระดกู coccyx กลา มเน้อื น้ีทำ หนาท่ีเปนพ้ืนรองรบั อวยั วะภายในชองทองทุกชนิด ไมใ หร วงหลน ออกมาจากชองทอง กลา มเน้ือนย้ี ังใหเสน ใยบางสวนไปเกาะตดิ กับปากมดลกู ดงั น้นั จงึ ทำหนาทย่ี ดึ มดลูกใหอยูภายในองุ เชิงกราน และใหเ สน ใยไปเกาะติดกบั perineal body จึงทำให perineal body เปน อวยั วะอีกอนั หนงึ่ ทมี่ ผี ลชวยในการรองรบั มดลกู และ ชองคลอดไวดว ย

30

2. ligament ทที่ ำหนาที่ยดึ มดลกู ท่ีสำคัญมี 3 ligament คือ - transverse cervical ligament (Cardinal หรอื Mackenrodt's หรอื lateral cervical ligament) ตง้ั อยูใต broad ligament ยดึ จากปากมดลกู ไปตดิ กบั ดานขางขององุ เชิง กรานทั้ง 2 ดา น - pubocervical ligament ยึดจากปากมดลูกไปเกาะท่ีขอบของ กระดกู pubis - sacrocervical ligament (uterosacral ligament) ยดึ จาก ปากมดลกู และขอบบนของชองคลอดไปเกาะที่กระดกู sacrum

ถา หาก ligament หยอ นยาน หรอื กลามเนอื้ levator ani และ perineal body ฉกี ขาดก็จะทำใหม ดลูกเคลือ่ นตวั ลงมาอยใู นชอง คลอด หรือโผลอ อกมาทางรเู ปดของชองคลอดเรียกลกั ษณะเชนน้ี วา prolapse of uterus

โครงสรา งของผนงั มดลกู แบง ออกเปน 3 ช้นั ใหญ ๆ คือ 31

1. ชัน้ นอกสดุ เรยี กวา perimetrium หรอื serosa จะเปนเยอื่ บางๆ คลุม มดลูกอยู

2. ช้ันกลางเรียกวา myometrium ประกอบดว ยชัน้ ของกลา มเนอ้ื เรียบ ท่หี นาประมาณ 12-15 มลิ ลิเมตรซง่ึ มกี ารเรยี งตวั ทง้ั แบบตามยาว วงกลม และแบบเฉยี ง ในชวงตัง้ ครรภเ สนใยกลา มเนอ้ื สามารถท่จี ะ ขยายใหใหญข ึ้นและยืดยาวออกไดถงึ 10 เทา ตวั

3. ชัน้ ในสุดเรยี กวา endometrium ชัน้ นีจ้ ะมีเยอ่ื บผุ วิ ชนดิ simple columnar epithlium มีcilia ปะปนอยภู ายในมตี อมชนดิ simple coiled tubular gland ทเ่ี รียกวา uterine gland นอกจากนย้ี งั มเี นอื้ เยอ่ื เกยี่ วพัน อยูกันอยา งหลวม ๆ เรยี กวา stroma และหลอดเลอื ดทีม่ ีลักษณะขดไปมา เรยี กวา spiral (coiled) artery ผนังชั้นนี้แบง ออกเปน 2 ชั้นคอื

3.1 functional layer หรือ functionalis เปน ชน้ั ที่มกี ารเปลยี่ นแปลง ตลอดระยะเวลาของรอบประจำเดอื น และจะหลุดลอกออกไปขณะทม่ี ี ประจำเดอื น

3.2 basal layer หรอื basalis ชน้ั นจ้ี ะแบง เซลลใหเ นื้อเย่อื เจริญขึน้ ไป แทนทชี่ ้นั functionalis หลงั จากท่ีมกี ารหลุดลอกออกไปเปนเลือด ประจำเดอื นแลว

หนา ทขี่ องมดลกู

1. เปน แหลง สำรองอาหาร รอรบั การฝง ตวั ของตัวออ น 2. เปน ที่เจริญเตบิ โตของทารกจนครบกำหนดคลอด 3. เปน อวัยวะทดี่ นั ใหท ารกคลอดออกมาได

รังไข (ovary) 32

Ovary มี 2 ขา ง ทำหนา ทีส่ รางฮอรโ มนเพศหญิงและผลติ ไข (ovum) คลา ยเมลด็ อลั มอลด อยูใ นองุ เชิงกรานตอนบน ท้ัง 2 ขางของมดลูก อยู หลัง broad ligament ยดึ ติดกบั broad ligament โดย mesovarium ซ่ึงเปนทางผานของหลอดเลอื ดและเสน ประสาททีเ่ ลย้ี ง ovary (เรยี ก บริเวณนี้วา hilum) และยังยดึ ติดกบั ดา นขา งของมดลูก (ovarian ligament) และ ผนังอุง เชงิ กราน (suspensory ligament)โดยมีชนั้ นอก สดุ คือ germinal epithelium ชน้ั ถดั ไป คอื lunica albuginea

เนอ้ื ภายในรังไขม ี 2 ช้ัน คือ cortexและ medulla -ชัน้ cortex เปนบริเวณรอบๆ ใตช ้นั tunica albuginea ประกอบดวย ovarian follicles อยรู วมกนั ในconnective tissue cells และ fibers -ชน้ั medulla อยูบริเวณทีอ่ ยูตอนกลาง มี stroma ที่เปน elastic fibers และหลอดเลอื ด หลอดนาํ้ เหลอื ง และเสน ประสาท

ทำหนา ทสี่ รา งฮอรโ มนเพศหญงิ และผลติ ไข (ovum)

ทอ นำไข( uterine tube or fallopian tube) 33

ทอ นำไข มี 2 ขา ง อยขู อบบนของ broad ligament ยาว 10 เซนติเมตร ทำหนาทน่ี ำ ovum จาก ovary ไปยงั uterus มี ปลาย 2 ขา ง ขา งหนง่ึ รปู รางคลายกรวย โดยปลายดา นท่ีเปน ปากกรวยจะยื่นไปแตะกบั ovary ปลายอกี ดานจะตดิ ตอกับ uterus ทางดา นบน

fallopian tube แบง เปน 4 สว น ไดแ ก

  1. Infundibulum ลกั ษณะรูปกรวย ลกั ษณะคลา ยน้ิวมอื
  2. Ampulla จะกวา งที่สุด ผนังจะบาง sperm จะผสมกบั ovum บรเิ วณน้ี
  3. Isthmus ขนาดจะเลก็ ผนังหนา
  4. Intramural segment หรอื uterine segment อยใู นผนังมดลกู

การทำงานของ fallopian tube โดยแบง ผนงั เปน 3 ช้นั - ชัน้ ในเรยี ก mucosa ทำหนาท่ีให mucoid secretion เปน อาหารแก ovum - ช้นั กลางเรยี ก lamina propria ประกอบดวยเซลลจำนวนมาก และกลามเน้ือ เรียบการหดรัดตัวของกลามเนอื้ เรยี บจงึ ทำให ovum เคลอ่ื นตวั ลงสู uterus - ชน้ั นอกสดุ เรยี ก serosa

เตา นม 34

ตอ มนา้ํ นม (mammary glands)

mammary glands ทำหนาทข่ี บั นา้ํ นมเล้ยี งทารก มีขนาดโตขน้ึ เมอื่ เขา สูวยั puberty เพราะ connective tissueและ fat เพมิ่ มากขึ้น แตย ังไมส ามารถ สรางน้าํ นมจนกวา จะตั้งครรภ ตำแหนง อยูใ นเตา นมทัง้ 2 เตา วางบนพังผดื ชั้น ลึกที่คลมุ กลามเน้อื pectoralis major และ minor อยรู ะหวางกระดกู ซโี่ ครงท่ี 2 ถึง 6 และจากขอบของกระดูก sternum ถงึ ขอบของรักแร

สว นประกอบ ของตอมนา้ํ นม ไดแก compound aveolar glands 15-20 lobes แตละ lobes มี lactiferousduct นา้ํ นมมาเปดท่ี nipple กอนทีจ่ ะเปด ออกจะขยายตวั เปน ampulae เรยี ก lactiferous duct เน้อื ของตอ ม (glandular tissue) ประกอบดวย parenchyma และ stromamammary glands ในระยะไมต งั้ ครรภจ ะพบภาวะ resting or inactive พบ duct เปน จำนวนมาก alveoli มีขนาดเล็ก ในระยะปลาย menstrual cycle พบมเี ลอื ด เขามาหลอ เลย้ี งมาก ทำใหเ ตา นมมขี นาดโตข้นึ

ระยะตง้ั ครรภ มaี lveoli เพ่มิ ข้นึ glandular tissue มากขึ้นและขยายใหญขึ้น ระยะปลายของการตง้ั ครรภพ บ secretion เรยี ก colostrumประกอบดวย โปรตีน และ lactose ไมม ไี ขมนั ปนอยู และยังมี antibodies ท่ีชว ยตานทาน โรค ระยะใหนมบตุ ร mammary

ขนาดไมแ นนอนขนึ้ อยกู บั ปรมิ าณไขมนั แตจำนวน นา้ํ นมไมต างกนั ตรงกลางของ เตานมจะมหี วั นม(nipple) รอบๆ จะมี areola มีสีคลาํ้ เพราะมี pigment มาก และ ผวิ ขรุขระเลก็ นอย

ฝเ ยบ็ และกน (perineum) 35

perineum คลา ยกับรูปเพชร หรือสามเหล่ยี ม 2 อัน ทเ่ี อาฐานประกบกัน ท่ตี ำแหนงของเสน เชอื่ มตอ ระหวา ง ischial tuberosities ทงั้ สองขา งหรอื บริเวณ perineal body โดยขอบเขตของฝเ ยบ็ กค็ ือขอบเขตของ pelvic outlet นัน่ เอง ประกอบดวย pubic symphysis ทางดานหนา ischiopubic rami and ischial tuberosities ทางดา น anterolateral, sacrotuberous ligaments ทางดาน posterolateral และ coccyx ทาง ดานหลัง ซึง่ สามเหลย่ี มดานหนาเรยี กวา urogenital triangle และ สามเหล่ียมดา นหลังเรยี กวา anal triangle

perineal body เปนกลา มเน้อื มดั เลก็ ๆ ทอี่ ยตู รงกลาง เปน สวนทีจ่ ะตองถูก ตัดในขณะทำการตดั ฝเย็บเพื่อชว ยคลอด และฉีกขาดใน second, third และ fourth degree lacerations

Superficial space of the anterior triangle บริเวณดา นหนา ของของ perineum ถกู แบงออกเปน สว นตนื่ และสว นลึกโดย กลา มเนือ้ ท่ีอยใู น urogenital triangle ไดแ ก ischiocarvernosus อยูดา นขางของ สามเหลยี่ ม ดานลางยดึ เกาะกับ ischial tuberosity ดานหนา ตอ เนื่องไป กับ clitoris มีสวนชวยในการแข็งตวั ของ clitoris กลา มเน้อื bulbocarvernosus ซง่ึ เกาะจาก body ของ clitoris ไปยัง perineal body ทำหนา ทใ่ี นการหดรัดตัวของชอ งลอดและชวยใหส ารหลอ ล่นื ขับ ออกมาจากตอม bartholin ได และมีสว นชวยในการแข็งตวั ของ clitoris เชนกัน กลามเนือ้ มดั สุดทายคอื กลามเนื้อ superficial transverse perineal muscle ซ่งึ เปนกลามเน้อื มดั เล็กๆ ทเี่ กาะจาก ischial tuberositiesดานขา งมายัง perineal body ทอี่ ยตู รงกลาง กลา มเนอื้ นี้เปน สวนหนึง่ ของ perineal body ดวย ในบางคนกลามเนอื้ มดั นอี้ าจจะเลก็ มา หรอื ไมม เี ลยก็ได

36

Deep space of the anterior triangle อยเู หนอื ตอ perineal membrane ตอเน่ืองไปกับองุ เชิงกราน มีอวัยวะท่ีสำคญั ประกอบดวยทอ ปส สาวะ ชอ งคลอด เสนเลือด internal pudendal และเสนเลือดแขนง กลามเนอื้ compressor urethrae และ urethrovaginal sphincter muscles

Pelvic diaphragm อยลู ึกไปจาก perineum ท้ังดานหนา และดานหลงั โดยใน ชน้ั น้ปี ระกอบไปดวยกลามเนือ้ ที่ทำหนาที่สรางความแขง็ แรงใหกับอวยั วะภายใน อุง เชิงกราน ไดแ ก กลามเนื้อ levator ani และ coccygeus muscles กลา มเนือ้ levator ani เปนกลามเนือ้ มดั ใหญท่ีประกอบไปดว ยกลา มเนอ้ื มดั ยอ ยๆ 3 มัด ดวยกัน คือ pubococcygeus puborectalis และ iliococcygeus ซงึ่ กลามเน้อื pubococcygeus ยงั ประกอบไปดว ยกลา มเนอื้ มัดยอ ยๆ อีก 3 มนั คอื pubovaginalis puboperitonealis และ puboanalis ในกระบวนการคลอดทางชองคลอดมีโอกาสเกิดความเสยี หายตอ กลามเน้ือ levator ani สูงมาก โดยกลามเนอ้ื มดั ท่ีไดรบั ความเสยี หายบอย ทสี่ ดุ คือ กลา มเนอ้ื pubococcygeus

Posterior triangle หรอื anal triangle ประกอบไปดวย ischioanal fossa หรอื ischiorectal fossa, analcanal และ anal sphincter complex โดย ที่ ischioanal fossa คือบรเิ วณท่เี ตม็ ไปดว ยไขมันอยูดา นหลงั และเชอ่ื มตอ กนั ท้งั ซายและขวาทางดานหลงั ตอ ทวารหนกั ดังนัน้ หากมกี ารตดิ เชือ้ หรือ เลือดออกใน ischioanal fossa ขางใดขางหนึ่งกส็ ามารถลกุ ลามไปอีกขา งได

Pudendal nerve เปนเสนประสาทสำคัญของ perineum ออกมาจาก เสนประสาทไขสนั หลังสวน sacrum

กระดกู เชงิ กราน (pelvic bone) 37

อุงเชิงกราน ประกอบไปดวยกระดกู 4 ชน้ั ไดแก sacrum, coccyx และ innominate bone 2 ชิ้น และทุกช้นิ ประกอบไปดวยกระดกู ilium, ischium และ pubis โดยกระดูก innominate เชอ่ื มตอกบั กระดูก sacrum โดย sacroiliacsynchondrosis และเชือ่ มตอกนั เองโดย symphysis pubis

อุงเชิงกรานประกอบดวย false pelvis และ true pelvis ซ่ึงแบง กันท่ี lamina ternimalis โดย fale pelvis จะอยเู หนือตอ เสน น้ี และ true pelvis จะอยูใตตอเสน นี้ True pelvis คลา ยกับ รปู ถวยน้าํ ทด่ี า นหลงั สูง กวาดา นหนา มีขอบเขตดา นบนคอื lamina terminalis และขอบเขตดานลา ง คอื ทางเปด ของอุงเชิงกราน (pelvic outlet) ซึง่ สวนของ true pelvis เอง ไดแ บงออกเปน pelvis inlet,mid pelvis และ pelvic outlet

38 การแบง เซลลแ บบ MITOSIS (MITOTIC DIVISION)

39

การแบง เซลลแ บบไมโอซสิ (MEIOTIC DIVISION)

-การแบง เซลลข อง primitive germ cell ซงึ่ เปนเซลลตงั้ ตนของการ สรา ง germ cell ในเพศหญงิ คือ primary oocyte ในเพศชายคือ primary spermatocyte เพ่อื ใหไดเ ซลลสำหรับใชใ นการสืบพันธุ การแบงเซลลแบงเปน 2 ระยะ meiosis I และ meiosis II

-เมอื่ ส้ินสุดระยะ Meiosis I จะมี daughter cell แตมีโครโมโซม เหลือเพียง 23 แทง แตล ะแทง มีปรมิ าณ DNA เปน 2 เทา ของเซลล ปกติ (มี 2 โครมาตดิ )

-เมือ่ ส้ินสดุ ระยะ Meiosis II จะได 4 daughter cell ขนาดเทากนั โดย 2 เซลล มโี ครโมโซมเปน 22+Y และอีก 2 เซลลเ ปน 22+X ทั้ง 4 เซลลเ จรญิ ไปเปน spermatid เพ่อื จะเปลีย่ นเปน mature gamete คือspermatozoa ทัง้ หมด

40

การกำเนดิ ไข

1. ตอมใตส มองจะใหฮ อรโมนกระตนุ ไข (Follicular stimulating hormone) รังไขกจ็ ะสรา งไขใหส ุกเปนเวลา 12-14 วัน พรอมทง้ั ใหฮ อรโมน เอสโตรเจน (estrogen) ซงึ่ จะบงั คับใหเยื่อบุมดลกู เจรญิ เตบิ โต

2. เม่อื ถึงเวลาไขตกคอื ไขห ลดุ ออกจากถึงไขหรือเปลอื กไข (Corpus luteum) ระยะนไ้ี ขพ รอ มทจ่ี ะผสม และเดนิ ทางผานเขา ปากทอสงไข

3. ตอ มใตสมองจะใหฮอรโมน ลูเตียนไนซงิ่ (Luteinizing Hormone) ทำใหถ ุงไขเ จรญิ เตบิ โต (corpus luteum) และให ฮอรโมนโปรเจสเตอโรน ซ่ึงจะบังคับเยอ่ื บมุ ดลกู เปลยี่ น คอื สราง ความชมุ ช้นื เพอ่ื รองรับไขท ผ่ี สมแลว มาเกาะ

41

4. ถามไี ขม าเกาะถงุ ไขจะเจริญตอ ไปใหฮ อรโมนโปรเจสเตอโรนมากข้ึน เพอ่ื เลี้ยงไขใหเ จรญิ เติบโตในมดลกู

5. ถา ไมมไี ขมาเกาะถุงไขจ ะฝอไปเอง เยื่อบุมดลูกจะลอกตัวเปน ระดู (Menstruation)

6. ตอมใตส มองจะกำกับรังไขใ หเริ่มวงเวยี นวงตอๆ ไปจนอายุ 45-50 ป ประจำเดอื นจะหมด กห็ มดวัยเจรญิ พันธเุ ปนวัย Menopause

การปฏสิ นธิ 42

เปนกระบวนการรวมตวั กันระหวา งเซลลสืบพนั ธุเ พศชาย ( sperm ) เขา ไป ผสมในเซลลสบื พนั ธเุ พศหญงิ หรือไข (ovum ) โดย ovum ทำใหน วิ เคลยี ส ของท้งั สองรวมกันเปน เซลลเ ดยี ว (Single cell) เรียกวา ไซโกต (Zygote ) มี ขบวนการ ดงั นี้

1. การปฏิสนธิเร่มิ จากการมกี ารหล่งั Sperm ในชอ งคลอด ประมาณ 120 – 500 ลา นตัว มีการเคล่ือนท่ีเผา นชองคลอด มดลูก เขาสูทอ นำไข ภายในปก มดลูกโดยตองอาศัย การหดรัดตวั ของกลามเนอ้ื มดลกู และปกมดลกู การโบก พัดของขนออ น Cilia และปริมาณสารน้าํ (Fluid )

2. sperm และ ovum เดินทางมาถึงทอปกมดลกู บรเิ วณ แอมพลู า ( ampulla ) ของทอ นำไข การปฏิสนธิจะเกดิ ข้นึ (เนอื่ งจาก sperm มคี วามสามารถในการ ผสมพนั ธุไ ดไมเ กิน 48 ชัว่ โมง) โดยอสุจิจำนวนมากจะมาลอมบรเิ วณไข เพอื่ หลั่งเอนไซม ไฮยาลโู รไนเดส ( Enzyme hyaluronidase ) ใหยอยเย่อื หุมไข แตจ ะมีอสุจิเพยี งตัวเดียวท่สี ามารถผา นเขา ไปในไซโตพลาสซมึ (cytoplasm ) ของไข เพราะขณะท่ีอสุจิผานเขา ไปถึงผนงั เซลลของไขท ่ีเรยี กวา โซนา เพลลู ซิดา ( zona pellucida ) จะเกิดปฏิกิริยาสรา งผนังเซลลใ หแขง็ แรงทนั ทโี ดย เยื่อหมุ เซลลM embrane ที่อยรู อบ ovum จะเกดิ การเปลย่ี นแปลงใหเ หนียวข้ึน จน sperm ตวั อ่นื ไมส ามารถเจาะผา นเขา ไปผสมกบั ovum ได

43

3. สว นหัวของ sperm จะมีขนาดใหญข้ึนและแยกออกจากสว นหาง โดยสวนหัวจะเคลือ่ นตวั เขา ไปเพื่อผสมกับ ovum ไดห ลงั จากนั้น สว นหวั ของ sperm จะมขี นาดใหญขนึ้ และแยกออกจากสว นหาง โดยสว นหัวจะเคล่ือนตวั เขา ไปเพ่อื ผสมกบั Nucleus ของ ovum กลายเปน Zygote สว นหางของ sperm จะถกู Cytoplasm ของ ovum ดูดซึมจนหายไป

ลกั ษณะกระบวนการปฏสิ นธิ (fertilization) เปนขบวนการตงั้ แตอสุจเิ ขา ใกลแ ละเจาะไขจ นกระท่ังรวมตวั

กันไดไซโกต เรียงตามลำดบั ไดดังนคี้ อื

การปฏิสนธิ (FERTILIZATION) สรปุ 44

- oocyte เมอื่ ovulate จากรังไขม เี ปลอื กหมุ อยูคือ zona pellucida และ corona radiate - การปฏสิ นธเิ กิดข้นึ บรเิ วณ ampulla ของ uterine tube เกดิ หลงั ovulation ประมาณ 12-24 ชม. - หลังการปฏสิ นธผิ านไปประมาณ 30 ชม. First cleavage เสร็จสิน้ ลงได 2 cell stage มี 2 blastomere - วนั ท่ี 3 หลังปฎิสนธิ zygote มีประมาณ 8-12 blastomere เรยี ก morula - วนั ที่ 4 จำนวน blastomere เพม่ิ ข้ึน - เม่ือ morula เคล่อื นเขา สู uterine cavity zona pellucida เร่มิ สลาย ไปทำให fluid ซึมเขา ไปเปน ชอ งภายในเรียกวา blastocyst cavity ระยะนี้ เรียกวา blastocyst - วันท่ี 6 blastocyst เคลื่อนไปแตะทีผ่ วิ endometrium

45

การเจริญของมนษุ ย

คือการรวมตัวกันของอสุจกิ บั เซลลไ ขในรางกายของ สตรี เกิดเปน Zygoteจากน้นั Zygote จะเจริญเปน Embryo เม่ือเขาสูเ ดือนที่ 3 ของการต้ังครรภเรยี กวา Fetus เม่ือครบ 38-40 สัปดาห ทารกจะคลอดเปน Infant

46

47

ระบบตอมไรท อ

ลกั ษณะการทำงานทคี่ อ นขา งชา แตม ีผลการทำงานนาน เชน การ เจรญิ เติบโตของรางกาย การผลติ นํ้านม ตอ งอาศัยเวลาจึงจะเกิดผลใหเ หน็ ซึ่งอาศยั สารเคมี เรยี กวา ฮอรโ มน ที่ผลติ จากตอมไรท อ (endocrine gland)

เปน ตอ มเฉพาะท่ีผลติ และหล่งั สารเขา สรู ะบบไหลเวยี นโดยไมผ านทอ ชนิดใด เนือ่ งจากไมม ที อ ทตี่ ดิ ตอ กบั เย่ือบผุ ิว แตจะสมั ผสั กับหลอดเลอื ด ภายในตอม และมเี ซลลเรยี งตวั กนั หลายแบบ เชน เปนแถว (columns) เปนถงุ (vesicles) หรือเปนกลุมกอน (clusters) มหี ลอดเลอื ดมาเลย้ี ง มากมาย และมกี ารเช่ือมโยงกันระหวา งหลอดเลือดแดง และหลอดเลือด ดำขนาดเลก็ โดยตอมหน่งึ อาจเปน ทงั้ ตอ มมที อ และตอ มไรท อ กไ็ ด เชน ตับออน (pancreas) และตอ มเพศ (gonads) โดยสวนของตอ มไรทอจะ สรา งฮอรโ มนเขา สูก ระแสเลือด และตอมมที อ จะสรางน้าํ ยอ ยหรือเซลล เพศแลว หล่งั ไปตามทอโดยเฉพาะ

ตอมไรท อ แบง เปน 3 ชนดิ

1. ชนดิ ทเ่ี ปน ตอมอยู 3. ชนิดทเี่ ปนเซลลก ระจายอยูต าม เดี่ยวแยกตา งหาก ไดแ ก อวัยวะตาง ๆ เรียกวา diffuse Pituitary gland, neuroendocrine glands Thyroid gland, ประกอบดว ย เซลลท่สี รางฮอรโ มน Parathyroid glands, ท่ีเปน สารประกอบพวก peptides Adrenal gland, Pineal เชน เซลลใ นเน้อื ผิวที่อยใู น gland, Thymus gland ทางเดินอาหาร เนือ้ ผิวทบ่ี ใุ น ทางเดนิ หายใจ Carotid bodies 2. ชนิดพกอยูร ว มกับ ทค่ี อ และกลุมเซลลใ นสมอง สวน ตอ มมที อ ไดแ ก Islets hypothalamus of Langerhans ใน pancreas, Ovary และ testis, Kidney, Placenta