ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ 6 ขั้นตอน

��ػ�Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ��
�Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ��Ѻ����֡���˵ء�ó�ҧ����ѵ���ʵ��

��鹵͹�ͧ�Ըա�÷ҧ�����ѵ���ʵ�� 1. ��á�˹�����繻ѭ��
          �繨ش������鹢ͧ����֡������ͧ����ʹյ�����ʹ� �������Ƿҧ���й������ä鹤�������׺�鹢����ŵ�ҧ� 2. ����Ǻ�����ѡ�ҹ
          �繡���׺�鹢����Ũҡ���觵�ҧ� ������������ҧ��ҡ�������ᵡ��ҧ�ѹ ��������Һ����������ǡѺ����ͧ��Ƿ���ͧ����֡�Ҥ鹤��� 3. ����������� ��õդ�����С�û����Թ��ѡ�ҹ
          �繡�õ�Ǩ�ͺ��ѡ�ҹ ��������������еդ���������������稨�ԧ��������Ͷ��������Ѻ�������Ѻ�ҡ����ش 4. �����ػ���������§����稨�ԧ
�繡�û����Ţ����Ũҡ��ѡ�ҹ��ҧ� �������Ǣ�ͧ           �������������ŷ��ú��ǹ��������稨�ԧ�������ó� 5. ��ù��ʹԢ���稨�ԧ
���ʹ͢���稨�ԧ�����ҡ����֡�������º���§���͸Ժ�����ҧ���˵�����           �¨е�ͧ�͡����Ңͧ��ѡ�ҹ�������觢��������ҧ�١��ͧ����Դ�� �����������ö��Ǩ�ͺ��           �����ѵ���Թ��������·�����˵ء�ó������ͧ�Ҩҡʹյ�Ҷ֧�Ѩ�غѹ�˵ء�ó����Դ�������¡�͹˹�ҹ�� �����觼š�з��Ҩ��֧�Ѩ�غѹ ����֡���˵ء�ó��Ӥѭ ����ö�֡�Ҩҡ��ѡ�ҹ������͡��õ�ҧ� �ӹǹ�ҡ����������㨢����������ҧ�١��ͧ�Ѵਹ
           เป็นการเรียบเรียงข้อมูลที่ได้ค้นคว้า  วิเคราะห์ และสังเคราะห์มาแล้ว เพื่อนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้  ข้อสงสัย  ตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้น ในรูปแบบการเขียนรายงานอย่างมีเหตุผล

วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ และตีความจากร่องรอยหลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักเหตุผลอธิบายเหตุการณ์ และความเป็นมาต่างๆ ในอดีต ให้มีความใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด 

การศึกษาประวัติศาสตร์ ช่วยให้เราเข้าใจปัจจุบันมากยิ่งขึ้น วิธีการทางประวัติศาสตร์ จึงถูกใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยภูมิหลังในอดีต เพื่อให้ผู้ศึกษาพิจารณาหลักฐานอย่างรอบด้านก่อนสรุปผล อีกทั้งยังเป็นกระบวนการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับชุดข้อมูลด้วย สำหรับวิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้นตอน มีดังนี้

1. การกำหนดหัวข้อ
ถือเป็นขั้นตอนแรกที่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะต้องกำหนดเป้าหมาย และขอบเขตที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน ว่าต้องการศึกษาเรื่องอะไร เพราะเหตุใด อยู่ในความสนใจหรือไม่ แล้วจึงตั้งคำถามต่อสิ่งที่ต้องการศึกษา รวมถึงการประเมินเรื่องเวลา และทุนสำหรับวิจัย 

ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ 6 ขั้นตอน

2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ตั้งสมมติฐานไว้สำหรับหัวข้อที่ต้องการศึกษา แล้วเริ่มค้นคว้าข้อมูล ความแตกต่างของการสืบค้นทางประวัติศาสตร์ ไม่สามารถใช้ชุดแบบสอบถามได้ แต่ต้องลงมือศึกษาหลักฐานต่างๆ ทั้งหลักฐานชั้นต้น และชั้นรอง เพื่อรวบรวมข้อมูลให้รอบด้าน และตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

3. ประเมินคุณค่าหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์จะใช้วิธีการประเมินคุณค่าของหลักฐานที่เรียกว่า การวิพากษ์ โดยพิจารณาว่าหลักฐานแต่ละชิ้นน่าเชื่อถือหรือไม่ สามารถนำมาใช้อ้างอิงได้หรือไม่ ตรวจสอบความแท้-เทียม อายุความเก่าแก่ ซึ่งบางครั้งอาจต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญทางโบราณคดี หรือใช้การพิสูจน์หลักฐานด้วยวิทยาศาสตร์

ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ 6 ขั้นตอน

4. การตีความวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อคัดเลือกหลักฐานได้แล้ว ขั้นตอนต่อมาคือการตีความเจตนาที่แท้จริงของหลักฐาน ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ ขนาด รูปร่าง ลักษณะทางศิลปะ สภาพสังคม ฯลฯ วิเคราะห์ว่าหลักฐานและข้อมูลที่ได้รับแฝงคติความเชื่ออย่างไรบ้าง

5. การเรียบเรียงนำเสนอ
ขั้นตอนสุดท้ายของวิธีทางประวัติศาสตร์ เมื่อสรุปผลการศึกษาวิจัยได้แล้ว แบ่งออกเป็นการนำเสนอระดับพื้นฐาน เชิงบรรยาย งานเขียน และการนำเสนอระดับวิเคราะห์ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่ได้รับการฝึกฝนมาอย่างดี

ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ 6 ขั้นตอน

ประวัติศาสตร์ทั้งกระแสหลักและกระแสรอง สามารถถูกปรับเปลี่ยนหรือถูกหักล้างลงได้ หากมีหลักฐานหรือชุดข้อมูลที่ใหม่กว่า น่าเชื่อถือกว่าปรากฏขึ้นมาสนับสนุน 

ทุกเรื่องราวประวัติศาสตร์ย่อมมีความเป็นมา และนัยที่ซ่อนไว้ในแต่ละยุคสมัย ทำให้การเขียนประวัติศาสตร์แต่ละฉบับ ย่อมมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์จึงเป็นการศึกษาวิจัยที่ช่วยให้เราเข้าสู่กระบวนการที่ "เข้าใกล้" ความจริงที่เคยเกิดขึ้นในอดีตมากที่สุดนั่นเอง