เทศบัญญัติเป็นกฎหมายที่ใช้กับอะไร

 Department for Communities and Local Government, "Local government legislation: Byelaws,", September 18, 2012, accessed July 25, 2016, https://www.gov.uk/guidance/local-government-legislation-byelaws.

   อำนาจในการตราเทศบัญญัติ
   เทศบัญญัติ คือ กฎข้อบังคับของท้องถิ่น ซึ่งมีผลใช้บังคับได้เฉพาะในเขตเทศบาลนั้นๆ เท่านั้น โดยสภาเทศบาลเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตราเทศบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อ ตัวบทกฎหมาย ในกรณีต่อไปนี้
สนับสนุนส่งเสริมให้มีการศึกษา อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรท้องถิ่น นักเรียน เยาวชน ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนเพื่อรองรับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน AEC ในปี ๒๕๕๘
1. เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามหน้าที่ของเทศบาลที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล
2.เมื่อมีกฎหมายบัญญัติให้เทศบาลตราเทศบัญญัติ หรือให้อำนาจตราเทศบัญญัติเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมายฉบับนั้นๆ
สำหรับการพิจารณาตราเทศบัญญัติงบประมาณประจำปี ถือว่าเป็นการใช้อำนาจสูงสุดในการควบคุม ถ้าหากร่างดังกล่าวไม่ได้รับการเห็นชอบจากสภาเทศบาลแล้ว นั่นหมายถึงว่าคณะเทศมนตรีสิ้นสุดในหน้าที่ (เพราะการไม่เห็นด้วยของเทศบาลมีความหมายถึงการไม่ยอมรับของประชาชนในท้อง ถิ่นด้วย) โดยมีเงื่อนไขที่น่าสังเกตว่า ผู้ว่าราชการจังหวัดจะต้องเห็นชอบด้วย และในกรณีที่ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่เห็นด้วยนั้น การตัดสินใจขั้นสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยว่าจะ ดำเนินการอย่างไรส่วนในการตราข้อบัญญัติทั่วไปจะมีหลักการคล้ายกัน แต่ต่างกันตรงที่ว่าร่างดังกล่าวจะได้รับการวินิจฉัยขั้นสุดท้ายจากรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย ถ้าผู้ว่าราชการจังหวัดไม่เห็นด้วย

ข่าว ณ. วันที่ 15 ก.ค. 2558 เวลา 13.00 น. โดย คุณ ธนาพร พลายละหาร

ผู้เข้าชม 1257 ท่าน

ภารกิจอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และตามกฎหมายอื่น ดังต่อไปนี้

๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้

(๑) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกทางน้ำ และทางระบายน้ำ (มาตรา ๑๖ (๒) มาตรา ๕๐ (๒)
(๒) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ (มาตรา ๑๖ (๔))
(๓) การสาธารณูปการ (มาตรา ๑๖ (๕))
(๔) การควบคุมอาคาร (มาตรา ๑๖ (๒๘))
(๕) การผังเมือง (มาตรา ๑๖ (๒๕))
(๖) ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา (มาตรา ๕๑ (๑))
(๗) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (มาตรา ๕๑ (๗))
(๘) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร (มาตรา ๑๖ (๒๖))
(๙) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (มาตรา ๑๖(๓) (มาตรา ๕๑ (๓))

๒. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(๑) การจัดการศึกษา (มาตรา ๑๖ (๙) (มาตรา ๕๐ (๖) )
(๒) การส่งเสริมกีฬา (มาตรา ๑๖ (๑๔))
(๓) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (มาตรา ๑๖ (๑๙)(มาตรา ๕๐ (๔))
(๔) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (มาตรา๑๖)
(๕) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฆาตปนสถาน (มาตรา๑๖(๒๐) (มาตรา๕๑ (๔))
(๖) ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ (มาตรา ๕๑ (๖))
(๗) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (มาตรา ๑๖ (๒๑))
(๘) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (มาตรา ๑๖ (๒๒))

๓. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อยมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(๑) การักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (มาตรา ๕๐ (๑))
(๒) การรักษาความปลอดภัย  ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพและสาธารณสถานอื่น ๆ (มาตรา ๑๖ (๒๓))
(๓) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (มาตรา๑๖ (๑๒))
(๔) การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (มาตรา ๑๖ (๑๗))
(๕) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (มาตรา ๑๖ (๓๐))
(๖) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา ๑๖ (๒๙))

๔. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชกรรม และการท่องเที่ยว  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(๑) บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากิจของราษฎร (มาตรา ๕๑ (๕))
(๒) การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ (มาตรา ๑๖ (๖))
(๓) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (มาตรา ๑๖ (๗) มาตรา ๕๑ (๙))
(๔) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (มาตรา ๑๖ (๘))
(๕) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (มาตรา ๑๖ (๑))

๕. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(๑) การจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มาตรา ๑๖ (๑๔))
(๒) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (มาตรา ๑๖ (๑๓))
(๓) การดูแลที่สาธารณะ (มาตรา ๑๖ (๒๗))
(๔) การกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย (มาตรา ๑๖ (๑๘) มาตรา ๕๐ (๓))

๖. ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(๑) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนะธรรมอันดีของท้องถิ่น (มาตรา ๑๖ (๑๑) มาตรา ๕๐ (๘))

๗. ด้านการบริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

เทศบัญญัติเป็นกฎหมายที่ใช้กับอะไร

ข้อบัญญัติที่องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)

  ข้อบัญญัติองค์การส่วนตำบล (อบต.) เป็นกฎหมายที่คณะผู้บริหารหรือนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และสภาองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นผู้ออกกฎหมายเพื่อบริหารและพัฒนาท้องถิ่นที่ตนเองรับผิดชอบตามอำนาจหน้าที่ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย

ข้อบัญญัติที่องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ออกกฎหมายบังคับใช้ในท้องถิ่นของตนเอง ได้แก่

(1) งบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล

(2) การกำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย

(3) การจำหน่ายสินค้าในที่สาธารณะ

(4) การจำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ข้อบัญญัติที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด(อบจ)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ) เป็นกฎหมายที่คณะผู้บริหาร หรือนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นผู้ออกกฎหมายเพื่อบริหารและพัฒนาท้องถิ่นที่ตนเองรับผิดชอบ ตามอำนาจหน้าที่ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย

ข้อบัญญัติอบจเป็นกฎหมายที่ใช้กับอะไร

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นกฎหมายที่คณะผู้บริหาร หรือนายกองการบริหารส่วนจังหวัด และสภาองคืการบริหารส่วนจังหวัด เป็นผู้ออกกฎหมายเพื่อบริหารเเละพัฒนาท้องถิ่นที่ตนเองรับผิดชอบ ตามอำนาจที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย

เทศบัญญัติ มีอะไรบ้าง

เทศบัญญัติที่เทศบาลได้ออกเป็นกฎหมายบังคับใช้ในท้องถิ่นของตนเอง ได้แก่.
(1) งบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล.
(2) การจัดเก็บภาษีในท้องถิ่นที่เทศบาลรับผิดชอบ.
(3) การควบคุมโฆษณา โดยใช้เครื่องขยายเสียง.
(4) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ และปล่อยสัตว์เลี้ยง.
(5) การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ.
(6) การกำจัดปฏิกูลและขยะมูลฝอย.

เทศบัญญัติอาศัยกฎหมายใด

-เทศบัญญัติ เป็นกฎหมายที่เทศบาลตราขึ้นเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามหน้าที่ของเทศบาล และมีผลบังคับแก่ประชาชนเฉพาะในเขตเทศบาล โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496.

เทศบัญญัติมีหน้าที่อะไร

เทศบัญญัติ คือ กฎข้อบังคับของท้องถิ่น ซึ่งมีผลใช้บังคับได้เฉพาะในเขตเทศบาลนั้นๆ เท่านั้น โดยสภาเทศบาลเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตราเทศบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อตัวบทกฎหมาย ในกรณีต่อไปนี้ 1. เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามหน้าที่ของเทศบาลที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล