เฉลยใบงาน 3.6 ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัย

สรา้ งสรรค์ ภมู -ิ สรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญา สร้างสรรคภ์ มู ปิ ญั ญา ภมู ปิ ัญญาของมนษุ ย์ ปัญญาของมนุษยก์ ่อน

ปญั ญาของมนษุ ย์ ของมนุษย์กอ่ น ของมนุษยก์ ่อน ก่อนประวัติศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ใน

กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ในดินแดนไทยได้ ดินแดนไทยไดถ้ กู ต้องเปน็

ในดนิ แดนไทย ในดนิ แดนไทยได้ ในดินแดนไทยได้ ถูกต้อง ชดั เจน บางสว่ น แตไ่ มช่ ัดเจน

ถกู ต้อง ละเอียด ถูกตอ้ ง ชดั เจน เป็นบางส่วน

ชดั เจน ทุกประเด็น เป็นส่วนใหญ่

3. การอธิบาย อธิบายพฒั นาการ อธิบายพัฒนาการ อธบิ ายพัฒนาการของ อธิบายพฒั นาการของ

พัฒนาการของ ของอาณาจักร ของอาณาจักร อาณาจักรโบราณ อาณาจักรโบราณก่อน

อาณาจกั รโบราณ โบราณก่อนสมัย โบราณก่อนสมยั ก่อนสมัยสุโขทยั ได้ สมยั สุโขทยั ได้ถูกตอ้ ง

ก่อนสมยั สโุ ขทยั สโุ ขทัยไดถ้ กู ตอ้ ง สโุ ขทยั ได้ถูกต้อง ถูกตอ้ ง ละเอียด ละเอียด ชัดเจน 1-2
ละเอยี ด ชดั เจน 8- ละเอยี ด ชัดเจน 5-7 ชดั เจน 3-4อาณาจักร อาณาจักร
10 อาณาจกั ร อาณาจักร

4. การอธบิ ายการ อธิบายการ อธบิ ายการสรา้ งสรรค์ อธิบายการสร้างสรรค์ อธบิ ายการสร้างสรรคภ์ มู ิ
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญา ปญั ญาของอาณาจักร
ภูมปิ ญั ญาของ ของอาณาจกั ร ภูมปิ ญั ญาของ ภมู ิปัญญาของ โบราณ ก่อนสมยั
อาณาจักรโบราณ โบราณ ก่อนสมยั สโุ ขทยั ได้ถกู ตอ้ งเป็น
กอ่ นสมัยสโุ ขทัย สุโขทยั ได้ถูกตอ้ ง อาณาจักรโบราณ อาณาจักรโบราณ บางส่วน แต่ไม่ชดั เจน
ละเอยี ด ชดั เจน
ทกุ ประเดน็ ก่อนสมยั สโุ ขทยั ได้ ก่อนสมยั สโุ ขทัยได้

ถูกต้อง ชัดเจน ถกู ต้อง ชดั เจน

เปน็ ส่วนใหญ่ เป็นบางส่วน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ต่ำกวา่ 8
ระดบั คุณภาพ ดมี าก ปรับปรุง
ดี พอใช้

57

แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3

คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ส่งิ ที่ใช้เปน็ เกณฑใ์ นการแบง่ ยุคสมัยเปน็ ยคุ ก่อน 6. อาณาจักรตามพรลิงค์มีศูนย์กลางอย่ทู ่ีใด

และหลงั ประวตั ศิ าสตร์ คือสงิ่ ใด ก. ปตั ตานี

ก. เครอื่ งมือเคร่อื งใช้ ข. สุราษฎร์ธานี

ข. การประดิษฐต์ วั อักษร ค. นครศรีธรรมราช

ค. อายุของโครงกระดกู ท่พี บ ง. เมอื งปาเล็มบัง ประเทศอนิ โดนเี ซีย

ง. การเร่มิ รับวัฒนธรรมจากอนิ เดีย 7. อาณาจกั รใดที่มีหลักฐานและบนั ทกึ อันแน่นอนท่ี

2. คำว่า “สวุ รรณภูม”ิ หมายถึงดินแดนใด แสดงถงึ การตั้งอาณาจกั รในแผ่นดินไทย

ก. ดินแดนทร่ี ่ำรวย ก. โยนกเชียงแสน ข. ทวารวดี

ข. ดนิ แดนท่ีมคี วามสงบ ค. อศี านปรุ ะ ง. ละโว้

ค. ดนิ แดนทมี่ ีประชากรมาก 8. จากบนั ทกึ ของจีนทเ่ี รียกอาณาจกั รหน่งึ ว่า “โถ-

ง. ดนิ แดนที่มีความอดุ มสมบรู ณ์ โล-โป-ต”ี้ หมายถงึ อาณาจกั รใด

3. เครอื่ งมือหนิ กะเทาะ เปน็ เครอื่ งมอื ของมนษุ ย์ยุค ก. ละโว้ ข. ลังกาสกุ ะ

ใด ค. ทวารวดี ง. โยนกเชยี งแสน

ก. ยคุ หนิ เกา่ ข. ยคุ หนิ กลาง 9. จากจดหมายเหตุจนี “เมอื งหลอหู” คอื อาณาจักร

ค. ยคุ หนิ ใหม่ ง. ยคุ สำริด ใด

4. ชุมชนโบราณของไทยแหง่ ใดที่ได้รบั การประกาศ ก. ละโว้ ข. ทวารวดี

ให้เปน็ “มรดกโลก” ค. โคตรบูรณ์ ง. โยนกเชียงแสน

ก. ถำ้ ผี จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 10. หลกั ฐานสำคญั ท่ีแสดงวา่ อาณาจกั รโบราณใน

ข. คลองท่อม จงั หวดั กระบี่ ดนิ แดนภาคใต้ของประเทศไทยนับถือ

ค. บ้านเชียง จงั หวัดอุดรธานี พระพุทธศาสนานิกายมหายาน คือสง่ิ ใด

ง. บ้านเกา่ จงั หวัดกาญจนบรุ ี ก. เสมาหิน

5. เรือ่ งราวของอาณาจกั รหรภิ ุญชยั สว่ นใหญ่ ข. ธรรมจักร

เกีย่ วข้อง กับใคร ค. ปราสาทหิน

ก. ฤๅษวี าสเุ ทพ ข. พระนางจามเทวี ง. พระโพธสิ ัตว์อวโลกิเตศวร

ค. พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 7 ง. พ่อขุนศรอี ินทรา

ทติ ย์

58

แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. จากบนั ทึกของจีนทีเ่ รยี กอาณาจกั รหน่ึงว่า “โถ- 6. อาณาจกั รใดท่ีมหี ลักฐานและบนั ทึกอนั แนน่ อนที่

โล-โป-ตี”้ หมายถึงอาณาจักรใด แสดงถงึ การตง้ั อาณาจักรในแผน่ ดนิ ไทย

ก. ลงั กาสกุ ะ ข. ละโว้ ก. ละโว้ ข. อีศานปรุ ะ

ค. ทวารวดี ง. โยนกเชยี งแสน ค. ทวารวดี ง. โยนกเชียงแสน

2. อาณาจกั รตามพรลิงค์มีศนู ยก์ ลางอยู่ท่ใี ด 7. ชมุ ชนโบราณของไทยแห่งใดท่ีได้รับการประกาศ

ก. เมืองปาเล็มบงั ประเทศอนิ โดนีเซยี ใหเ้ ปน็ “มรดกโลก”

ข. นครศรธี รรมราช ก. บา้ นเกา่ จงั หวดั กาญจนบุรี

ค. สุราษฎร์ธานี ข. บา้ นเชียง จังหวัดอดุ รธานี

ง. ปตั ตานี ค. ถำ้ ผี จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน

3. เร่ืองราวของอาณาจกั รหรภิ ุญชัยส่วนใหญ่ ง. คลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี

เกย่ี วขอ้ งกับใคร 8. สง่ิ ทใี่ ชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการแบ่งยคุ สมยั เปน็ ยคุ ก่อน

ก. พ่อขุนศรอี ินทราทิตย์ และหลังประวัติศาสตร์ คือสิ่งใด

ข. พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 7 ก. การเรม่ิ รบั วัฒนธรรมจากอินเดีย

ค. พระนางจามเทวี ข. อายขุ องโครงกระดกู ทพี่ บ

ง. ฤๅษีวาสุเทพ ค. การประดิษฐ์ตัวอกั ษร

4. จากจดหมายเหตุจนี “เมอื งหลอหู” คอื อาณาจักร ง. เครอื่ งมือเคร่อื งใช้

ใด 9. เคร่อื งมือหินกะเทาะ เปน็ เคร่ืองมอื ของมนษุ ยย์ คุ

ก. โยนกเชียงแสน ข. ทวารวดี ใด

ค. โคตรบูรณ์ ง. ละโว้ ก. ยุคสำรดิ ข. ยุคหินใหม่

5. หลกั ฐานสำคัญทแี่ สดงวา่ อาณาจกั รโบราณใน ค. ยุคหนิ เก่า ง. ยุคหินกลาง

ดนิ แดนภาคใต้ของประเทศไทยนับถอื 10. คำวา่ “สวุ รรณภมู ิ” หมายถึงดนิ แดนใด

พระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน คือสงิ่ ใด ก. ดินแดนที่มคี วามอุดมสมบรู ณ์

ก. พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกิเตศวร ข. ดนิ แดนทีม่ ปี ระชากรมาก

ข. ปราสาทหนิ ค. ดินแดนท่ีมคี วามสงบ

ค. ธรรมจักร ง. ดนิ แดนท่ีรำ่ รวย

ง. เสมาหิน

59

ใบความรู้

สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ในประเทศไทย

นักโบราณคดีชาวตะวันตกและชาวไทย ดังเช่น ดร.แวน ฮิกเกอเรน นายแพทย์สุด แสงวิเชียร และ
ศาสตราจารย์ชิน อย่ดู ี ไดแ้ บ่งสมัยประวัตศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทยไว้ 4 ยุค
1. ยคุ หินเก่า

ร่องรอยของมนุษย์หินเก่าในประเทศไทยพบค่อนข้างน้อย โดยหลังสงครามโลกร้ังที่ 2 พบเครื่องมือหิน
ที่สถานีบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี โดยดร. แวน ฮิกเกอเรน นักโบราณคดีชาวฮอลันดาซ่ึงขณะน้ันเป็นเชลย
ศึกของญ่ีปุ่น ถูกเกณฑ์มาสร้างทางรถไฟสายกาญจนบุรี-มะละแหม่ง เมื่อสงครามสงบลงเขาได้ส่งเคร่ืองมือ
หินเหล่าน้ันไปตรวจสอบ ที่พิพิธภัณฑ์พีบอด้ี มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด พบว่าเป็นเครื่องมือกรวดกะเทาะหน้า
เดียว 6 ก้อน และขวานหินขัดสมัยใหม่ 2 ก้อน จึงเป็นหลักฐานยืนยันว่ามีมนุษย์ท่ีใช้เครื่องมือหินเก่าอาศัย
อยูใ่ นดนิ แดนทเี่ ป็นประเทศไทยปัจจุบนั และยังพบเครื่องมือหนิ เกา่ ทีอ่ ำเภอเชียงแสน จงั หวดั เชียงรายด้วย
2. ยุคหนิ กลาง

จากการขุดค้นทางโบราณคดีของคณะสำรวจก่อนประวัติศาสตร์ไทย-เดนมาร์ก ที่ถ้ำพระ ตำบลไทร
โยค อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เม่ือ พ.ศ. 2504 ได้พบร่องรอยของมนุษย์โบราณยุคหินกลางใน
ประเทศไทย ดังพบ โครงกระดูกมนษุ ย์ เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะทำด้วยหินกรวดท่ีมีความประณีต (นอกจาก
ทก่ี าญจนบุรแี ล้ว ยังพบเครื่องมอื หินกะเทาะที่จงั หวัดอื่นๆ อีก เชน่ แมฮ่ ่องสอน เชียงใหม่ สระบุรี) กระดูก
สตั ว์ เปลือกหอยกาบ เศษเครอื่ งปนั้ ดนิ เผา เป็นตน้ สำหรับชีวิตความเปน็ อยขู่ องมนุษยย์ ุคนีม้ กั อาศยั อยูใ่ น
ถำ้ หรือตามเพิงผา ยงั คงลา่ สตั วแ์ ละเกบ็ ผลไมเ้ หมือนกบั มนุษย์ยคุ หนิ เก่า เม่ือพจิ ารณาอายุโดยประมาณของ
ยคุ หนิ กลางในประเทศไทยนา่ จะอยรู่ ะหว่าง 10,000 ถงึ 30,000 ปีก่อน ค.ศ.
3. ยุคหินใหม่

จากการขุดค้นของคณะสำรวจก่อนประวัติศาสตร์ไทย-เดนมาร์กท่ีบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี ได้พบ
โครงกระดูกมนุษย์ยคุ หนิ ใหม่กวา่ 50 โครง (นอกจากทีก่ าญจนบุรีแลว้ ยังมีการพบโครงกระดกู มนษุ ย์ยุคหิน
ใหม่ท่จี งั หวัดอ่นื ด้วย เช่น ราชบุรี นครสวรรค์ ลพบุรี) เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำดว้ ยหิน ท่ีเรียกวา่ ขวานหินขัด
หรอื ขวานฟา้ ชาวบ้านเชื่อวา่ เป็นขวานศักด์ิสิทธิ์ ท่ีตกลงมาจากฟา้ ขณะทีฟ่ ้าแลบหรือฟา้ ผา่ มีอายุประมาณ
4,000 ปี นอกจากนี้ยังพบเคร่อื งมือ ทท่ี ำด้วยกระดูก เปลอื กหอย

นักโบราณคดีสันนิษฐานว่ามนุษย์ยุคหินใหม่ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก รู้จักทำเครื่องประดับจาก
เปลอื กหอย ลกู ปัด กำไลหิน-กระดกู มีการฝงั ศพผตู้ ายในทา่ นอนหงาย แขนแนบลำตัว วางเครื่องปั้นดินเผา
ไว้เหนือศรี ษะ ปลายเทา้ และบริเวณเขา่ นอกจากนัน้ ยังใส่สิง่ ของเครือ่ งใช้ และเคร่ืองประดบั ในหลมุ ฝัง
ศพด้วย

60

4. ยุคโลหะ
นกั โบราณคดขี ุดพบโครงกระดกู มนษุ ยแ์ ละเครื่องมอื ที่ทำด้วยสำริดทบ่ี า้ นนาดี ตำบลโนนนกทา อำเภอ

ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น มีอายุประมาณ 4,475 – 4,075 ปีมาแล้ว เก่ากว่ายุคสำริดท่ีพบที่ดองซอน
ประเทศเวยี ดนาม

แหล่งท่ีพบเครื่องมือสำริดอีกแห่งหน่ึง คือ ท่ีตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี นัก
โบราณคดี พบทั้งเคร่อื งมือสำรดิ เครื่องมอื เหลก็ เครื่องประดับสำริด เคร่ืองป้ันดินเผารูปทรงแปลกตา และ
มีลายเขียนด้วยสีแดงเปน็ ลายต่างๆ เครอ่ื งประดบั ทำด้วยแกว้ สีเขียว นกั โบราณคดีสนั นิษฐานว่า วัฒนธรรม
บ้านเชยี งมีอายปุ ระมาณ 5,000 - 7,000 ปมี าแล้ว

นอกจากน้ีนักวิชาการยังได้แบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตามลักษณะเศรษฐกิจและสังคมโดยแบ่ง
ออกเปน็ 3 กลุม่ คอื

1. สงั คมนายพราน เปน็ ยุคที่มนษุ ยด์ ำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ จบั สัตวน์ ำ้ เกบ็ อาหารที่ไดจ้ ากธรรมชาติ
ยงั ไม่ได้ตั้งบา้ นเรือนทีอ่ ยู่อาศัยถาวร มักอพยพตามฝูงสตั ว์

2. สังคมเกษตรกรรม เป็นยุคทมี่ นษุ ย์รู้จักการเพราะปลูกและเล้ียงสัตว์ ยังคงมีการล่าสัตว์ จับสัตว์น้ำ
และเก็บอาหารที่ได้จากธรรมชาติ มักจะตั้งบ้านเรือนถาวรบนพื้นท่ีท่ีเหมาะสมแก่การเกษตรกรรม มีการ
รวมกลุม่ เปน็ หมู่บา้ น เป็นเมอื ง มกี ารแลกเปลย่ี นผลผลิต และมรี ะบบการปกครองในสังคม

3. สงั คมเมอื ง เป็นสงั คมที่มผี ้คู นอาศยั อยูร่ วมกันเป็นจำนวนมาก มีการสร้างระเบียบกฎเกณฑ์รว่ มกัน
มกี ารจดั ระเบยี บการปกครอง ประชากรมีการแบง่ งานกันทำตามอาชีพ ตามความสามารถและความถนัด

61

ใบงานที่ 3.1
สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ในดนิ แดนไทย

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามท่ีกำหนดให้ถูกต้อง

1. หลักฐานใดท่แี สดงว่า ดนิ แดนประเทศไทยในปจั จุบันมมี นุษย์อาศยั อยูม่ านาน
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. นกั โบราณคดีใชห้ ลักเกณฑ์ใดในการแบง่ ยคุ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนไทย
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. การดำรงชีวิตของมนษุ ย์สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นดินแดนไทยมีลักษณะอย่างไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ปจั จัยใดทท่ี ำให้เกิดชุมชนในสวุ รรณภูมิ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

5. เพราะเหตใุ ด เราจึงตอ้ งศกึ ษาพฒั นาการของชมุ ชนโบราณก่อนประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนไทย
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

62

บตั รภาพ

ภาพภาชนะดนิ เผาสามขา พบทบ่ี ้านเก่า ภาพโครงกระดกู มนุษย์ พบท่บี า้ นโคกพนมดี
จ. กาญจนบุรี จ. ชลบุรี

ภาพกำไลสำริด พบทบี่ า้ นยางทองใต้ ภาพเครือ่ งป้นั ดินเผาเขยี นสแี ดง
จ. เชยี งใหม่ พบที่บา้ นเชียง จ. อดุ รธานี

ภาพขวานสำริด พบท่ีบา้ นเชียง จ. อุดรธานี ภาพกลองมโหระทึก
พบท่ีวัดตลง่ิ พงั (ครี ีวงการาม) จ. สุราษฎร์ธานี

ทีม่ า : ณรงค์ พ่วงพิศ และวุฒิชยั มูลศลิ ป์. 2552. หนังสือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม.1. พิมพ์คร้ังท่ี 9.
กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น์.

63

ใบงานท่ี 3.2
พัฒนาการของชมุ ชนโบราณในภาคต่างๆ ของไทย

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนยกตวั อย่างหลกั ฐานทางโบราณคดีทแ่ี สดงให้เห็นพัฒนาการของชุมชนโบราณในภาค
ต่างๆ ของไทย พร้อมระบแุ หลง่ ที่พบ

หลักฐานทางโบราณคดที ่ีแสดงใหเ้ ห็นพฒั นาการของชมุ ชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย

ชมุ ชนยคุ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคใต้
ยุคหนิ เก่า
ยุคหินกลาง เครือ่ งมือหนิ ขุด สบั ตดั เครื่องมอื หินกะเทาะ เครื่องมือหินกะเทาะ เครอ่ื งขดุ
ยคุ หินใหม่ ขวานหิน พบที่ พบทีถ่ ้าผแี มน เครอ่ื งขดุ สบั ตัด เครอ่ื งมอื สบั ตัด และ
ยุคสำรดิ ขวานหิน พบท่ี จ.แม่ฮ่องสอน พบท่ี อ.เชียงคาน จ.เลย ที่พำนักอาศยั ของมนษุ ย์
ยคุ เหลก็ ถ้ำเขาทะลุ ถำ้ เมน่ อ.ดอนตาล จ.มกุ ดาหาร พบท่ถี ้ำหลงั โรงเรยี น

อ.บ้านเกา่ จ.กาญจนบุรี เครอ่ื งมอื หินกะเทาะ เครอ่ื งขดุ
เครอ่ื งมอื หนิ ขดุ สับ ตัด เครื่องมือหินกะเทาะ

ขวานหิน พบที่ พบทถ่ี ้าผแี มน เครื่องขดุ สบั ตดั เคร่ืองมือสบั ตดั และ
ขวานหิน พบที่ จ.แมฮ่ อ่ งสอน
ถ้ำเขาทะลุ ถ้ำเมน่ พบที่ อ.เชียงคาน จ.เลย ที่พำนักอาศยั ของมนษุ ย์
อ.บา้ นเกา่ จ.กาญจนบุรี
อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบทถ่ี ำ้ หลังโรงเรยี น

เครื่องมือหินขุด สับ ตัด เครื่องมอื หินกะเทาะ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ เครอ่ื งขดุ
ขวานหิน พบท่ี พบทถ่ี า้ ผีแมน เครอ่ื งขดุ สับ ตัด เคร่ืองมอื สบั ตัด และ
ขวานหิน พบที่ จ.แมฮ่ ่องสอน พบที่ อ.เชยี งคาน จ.เลย ทีพ่ ำนกั อาศัยของมนุษย์
ถ้ำเขาทะลุ ถำ้ เม่น อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบที่ถ้ำหลังโรงเรียน
อ.บา้ นเกา่ จ.กาญจนบุรี

เครอ่ื งมือหินขุด สบั ตดั เคร่ืองมอื หินกะเทาะ เครอื่ งมือหนิ กะเทาะ เคร่อื งขุด
ขวานหิน พบที่ พบท่ีถ้าผีแมน เครอื่ งขุด สบั ตดั เครื่องมอื สบั ตดั และ
ขวานหิน พบที่ จ.แม่ฮ่องสอน พบที่ อ.เชียงคาน จ.เลย ท่ีพำนักอาศยั ของมนุษย์
ถำ้ เขาทะลุ ถ้ำเม่น อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบที่ถ้ำหลังโรงเรียน
อ.บา้ นเก่า จ.กาญจนบุรี

เครอ่ื งมอื หนิ ขดุ สับ ตัด เครอ่ื งมือหินกะเทาะ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ เครอ่ื งขดุ
ขวานหิน พบท่ี พบที่ถ้าผีแมน เครื่องขุด สบั ตัด เครือ่ งมอื สับ ตัด และ
ขวานหิน พบที่ จ.แม่ฮ่องสอน พบที่ อ.เชยี งคาน จ.เลย ทีพ่ ำนักอาศยั ของมนษุ ย์
ถำ้ เขาทะลุ ถ้ำเมน่ อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบทถี่ ้ำหลงั โรงเรยี น

อ.บา้ นเก่า จ.กาญจนบุรี

64

ใบงานท่ี 3.3
การสร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทย

คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

1. ปัจจยั ใดบา้ งท่ีมีอิทธิพลตอ่ การสรา้ งสรรค์ภูมิปัญญาของมนษุ ย์ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนประเทศ
ไทย
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ภูมิปัญญาของมนุษยก์ อ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทยมกั เกยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งใด
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. ภูมปิ ัญญาของมนุษยก์ ่อนประวัติศาสตรใ์ นดินแดนประเทศไทย สามารถเรียงลำดับไดอ้ ย่างไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ตัวอย่างพัฒนาการภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทยในด้านตา่ งๆ ได้แก่
อะไรบ้าง

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

5.ตวั อย่างภูมปิ ัญญาของมนษุ ยก์ อ่ นประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทยท่ยี งั คงมีอยู่ในปัจจบุ ัน ได้แก่ส่ิงใดบ้าง

ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้าง

ผลงานการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัย - การเกษตรกรรม การใช้แรงงานสัตว์ การใช้วัวควายผ่อนแรงงานคน - การเลือกทำเลในการสร้างบ้านแปงเมือง ตั้งเมืองในเขตลุ่มแม่น้ำ มีทางออกสู่ทะเล สามารถติดต่อกับดินแดนภายใน ที่มีพืชผลอุดมสมบูรณ์

ภูมิปัญญาในสมัยสุโขทัยที่สําคัญมีอะไรบ้าง

1. ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ในสมัยสุโขทัยได้พัฒนาสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบเฉพาะของตนเอง เช่น เจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ... .
2. ขนบธรรมเนียมประเพณี ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เช่น ประเพณีการบวช การทำบุญเข้าพรรษา ออกพรรษา และประเพณีทอดกฐิน.
3. อักษรไทย ... .
4. เครื่องสังคโลก ... .
5. การชลประทาน.

คนสุโขทัยใช้ภูมิปัญญาอย่างไรในการนําศิลาแลงมาใช้ในการ

1. คนสุโขทัยใช้ภูมิปัญญาอย่างไรในการนำศิลาแลงมาใช้ในงานสถาปัตยกรรม นำศิลาแลงมาสกัดเป็นแผ่น แล้วนำมาเรียงซ้อนกัน โดยใช้น้ำยาเป็นตัวประสานศิลาแลงแต่ละแผ่นให้ติดกัน

ผลงานการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้าง

การสร้างที่กักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในหน้าแล้ง เนื่องจากสภาพของดินในสุโขทัย ... .
การรู้จักใช้ศิลาแลง มาสร้างอาคารสถานที่ ศิลาแลงเป็นหินที่จะกลายสภาพ ... .
การรู้จักเคลือบเครื่องปั้นดินเผาให้มีความสวยงาม คนไทยรู้จักการใช้ดิน ... .
การประดิษฐ์โลหกรรมสำริด ชาวสุโขทัยได้ทดลองจนพบว่าการผสมตะกั่ว.

ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้าง ภูมิปัญญาในสมัยสุโขทัยที่สําคัญมีอะไรบ้าง คนสุโขทัยใช้ภูมิปัญญาอย่างไรในการนําศิลาแลงมาใช้ในการ ผลงานการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้าง mind map ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัย เฉลยใบงานที่ 3.3 การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทย อาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัย ประกอบด้วย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณ 3 ข้อ ภูมิปัญญาของมนุษย์สมัยก่อนสุโขทัย ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย ภูมิปัญญาในอาณาจักรละโว้