เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

มาเป็นคนแรกที่วิจารณ์ “วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ”

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

การให้คะแนนของคุณ *

บทวิจารณ์ของคุณ *

ชื่อ *

อีเมล *

บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป

หนังสือเล่มนี้ เหมาะสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนและการปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์รายวิชาและมาตรฐานรายวิชาที่กำหนดไว้ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) พ.ศ. 2556 ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ครั้งที่ 2 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง ลำดับที่ 12 เนื้อหาประกอบด้วย 
บทที่ 1 การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 
บทที่ 2 จำนวนเชิงซ้อน 
บทที่ 3 ความต้านทาน ความเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 4 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
แต่ละบทจะมีเนื้อหาสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน มีตัวอย่างการคำนวนวงจรไฟฟ้ากระแสสลับหลากหลายรูปแบบ

ท้ายบทแต่ละบทมีแบบฝึกหัดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับและเฉลยคำตอบท้ายเล่ม
รวมถึงใบงานภาคปฏิบัติ ประกอบความเข้าใจจำนวน 14 ใบงาน

 

1ต้องใช้กระแสตรงกี่แอมแปร์  จึงจะทำให้เกิดความร้อนบนตัวต้านทานเท่ากับที่เกิดจากกระแสสลับซึ่งมีแอมพลิจูด (Im) เท่ากับ 2.0 แอมปร์ 

2. จงหาความต้านทานเชิงการเหนี่ยวนำของตัวเหนี่ยวนำ 10 มิลลิเฮนรี  และความต้านทานเชิงความจุของตัวเก็บประจุ 0.1 ไมโครฟารัดที่ความถี่  200/p   เฮิรตซ์  เป็นโอห์ม 

  1. 4 : 25000
  2. 40000 : 2.5
  3. 2.5 : 25000
  4. 4 : 40000

เฉลย   

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

   3.  จงหาความต่างศักย์คร่อม R, L และ C ในวงจร RLC  อนุกรมเป็นโวลต์

 ถ้า             V        =        100

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
   sin 1,000t   โวลต์

กำหนด       R       =        1,000  โอห์ม,   L   =  2 เฮนรี

และ             C        =        1m

  1. 0.71 , 0.71 , 0.71
  2.  71 , 142 , 71
  3.  1000 , 2000 , 1000
  4.  141 , 1414, 0.71

เฉลย    

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

4. 

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

L  = 0.14    H  R  = 12W   จากรูป  จงคำนวณหาความต้านทานเชิงซ้อน   (Z)  ของวงจรเป็นโอห์ม 

  1. 12
  2.  14
  3.  25
  4.  11

เฉลย   

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

5.    ความต้านทานรวมของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เรียกว่าอะไร

  1. ความต้านทานรวม

  2.  ความต้านทานเชิงซ้อน

  3.  ความต้านเชิงความจุ

  4. ความต้านเชิงความเหนี่ยวนำ  

เฉลย ข้อ.2

6. ในวงจร ค่ากระแสและความต่างศักย์ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
   1.      มีเฟสตรงกัน
   2.      เฟสกระแสนำเฟสความต่างศักย์
   3.      เฟสความต่างศักย์นำเฟสกระแส
   4.      เฟสกระแสกับความต่างศักย์มีเฟสตรงข้ามกัน

เฉลย ข้อ 1.

7. วงจรอนุกรมวงจรหนึ่งประกอบไปด้วย  ตัวต้านทานขนาด 25 โอห์ม  ตัวเก็บประจุขนาด 10 ไมโครฟารัด และตัวเหนี่ยวนำซึ่งมีค่าเหนี่ยวนำ  0.1 เฮนรี  มีความต้านทานของขดลวด 12 โอห์ม  ที่ความถี่ของไฟฟ้าเป็น 1 กิโลเฮิรตซ์

  1. 64
  2.  103
  3.  613
  4.  628

เฉลย 

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

8. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก.ค่ากระแสและค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระแสสลับที่เรียกว่าค่ายังผลเป็นค่าเดียวกับค่ามิเตอร์อ่านได้

ข. ค่ากระแสสลับที่อานได้จากมิเตอร์หมายถึงค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยของกำลังสองของกระแสสลับ

ค.  ค่ายังผลของค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้าในบ้าน  คือ  220  โวลต์

     ข้อความที่ถูกต้องคือ

  1. ก  ข   และ  ค
  2.  ก  และ ค
  3.  ค เท่านั้น
  4.  คำตอบเป็นอย่างอื่น

เฉลย 

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

9. ตัวต้านทานและขดลวดเหนี่ยวนำต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่มีความต่างศักย์ขณะใดขณะหนึ่งเป็น  V = 100 sin  1000 t โวลต์   เมื่อใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานอ่านได้ 70 โวลต์   ถ้านำไปวัดคร่อมขดลวดเหนี่ยวนำจะอ่านได้กี่โวลต์ 

  1. 10 V
  2.  30 V
  3.  42.4 V
  4.  71.4 V

 เฉลย    

เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ