เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2 ระบบการผลิตและจ่ายลม

32 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 1 หนา้ ที่ 1/2 วชิ า งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ สเ์ บื้องต้น เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนคร้ังที่ ทฤษฎี 2 คาบ ชอ่ื หน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2-3/18 ปฏบิ ัติ 6 คาบ คำชแ้ี จง : 1. แบบทดสอบชุดน้มี ที งั้ หมด 10 ข้อ เวลำ 10 นำที 2. ใหท้ ำเคร่อื งหมำย () ลงในข้อท่ีถูกต้องทีส่ ุด เกณฑก์ ำรประเมนิ : ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. หนา้ ทเ่ี ปล่ียนพลังงานกลให้อยใู่ นรปู พลังงานนิวแมติกส์คือขอ้ ใด ก. เครอื่ งอดั อากาศ ข. ถังเกบ็ ลม ค. เครือ่ งกาจดั ความช้นื ง. เกจวดั ความดนั 2. การกาหนดขนาดของเครอื่ งอดั อากาศท่จี ะพจิ ารณาอันดับแรกคอื ข้อใด ก. ชนดิ ของเครอื่ งอดั อากาศ ข. ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองอดั อากาศ ค. ปรมิ าตรการผลิตของเครือ่ งอดั อากาศ ง. อตั ราการจ่ายลมอัด 3. เคร่ืองอัดอากาศแบบใดให้ความดันมากท่ีสุด ข. แบบไดอะแฟรม ก. แบบลูกสูบ ง. แบบใบพดั ค. แบบสกรู 4. เครือ่ งระบายความรอ้ นแบบใช้นา้ หล่อเย็นเหมาะกบั สถานทใ่ี ด ก. ห้องทดลอง ข. อาคารขนาดใหญ่ ค. โรงงานอุตสาหกรรมเลก็ ง. โรงงานอตุ สาหกรรมใหญ่ 5. วธิ กี ารควบคมุ เคร่อื งอัดอากาศในงานอุตสาหกรรมควรใช้แบบใด ก. แบบ On-Off ข. แบบ Unloading Control ค. แบบ Alternating Control ง. แบบ Flow Control 6. การกาจดั ความชื้นด้วยสารเคมีคือหลักการของเครือ่ งกาจัดความชนื้ แบบใด ก. แบบใชค้ วามเย็น ข. แบบดูดความช้นื ค. แบบระบายลมออก ง. แบบระบายลมเขา้ 7. หนว่ ยวดั ของเกจวัดความดันนิยมใช้หนว่ ยใด ข. PSI ก. bar ง. bar และ PSI ค. bar หรอื PSI

33 งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองต้น (2100-1009) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนา้ ที่ 2/2 หนว่ ยท่ี 2 8. การติดตัง้ ท่อส่งจ่ายลม ควรตดิ ตั้งอย่างไร ข. ลาดเอียง 1 – 2 cm ของความยาวท่อ ก. ลาดเอยี ง 1 – 2 % ของความยาวท่อ ง. ลาดเอยี ง 10 – 20 cm ของความยาวท่อ ค. ลาดเอยี ง 10 – 20 % ของความยาวทอ่ 9. อปุ กรณ์ใดทาหน้าท่ีป้องกนั การไหลยอ้ นกลับของลม ก. วาล์วนริ ภัย ข. วาลว์ กันกลับ ค. กรองลม ง. เกจวดั ความดัน 10. สัญลกั ษณช์ ดุ ปรบั คณุ ภาพลมอดั คือข้อ ก. ข. ค. ง.

34 ใบเนือ้ หา หนว่ ยท่ี 2 หน้าท่ี 1/25 วิชา งานนิวแมติกส์และไฮดรอลกิ สเ์ บื้องต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครง้ั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอื่ หน่วย ระบบการผลติ และจา่ ยลม 2-3/18 ปฏบิ ัติ 6 คาบ หวั ข้อเรือ่ ง (Topics) 2.2 เครอ่ื งอัดอากาศ 2.4 มอเตอรไ์ ฟฟ้า 2.1 โครงสร้างระบบการผลติ และจา่ ยลม 2.6 เครือ่ งกาจดั ความช้นื 2.3 ถังเกบ็ ลม 2.8 อุปกรณก์ รองลมท่อลมหลัก 2.5 เครอื่ งระบายความรอ้ น 2.10 วาล์วนริ ภัย 2.7 เกจความดัน 2.12 ทอ่ ส่งจ่ายลม 2.9 อปุ กรณ์ระบายนา้ 2.11 วาลว์ กันกลับ 2.13 ชุดปรับคุณภาพลมอดั แนวคดิ สาคัญ (Main Idea) ระบบการผลิตและจ่ายลมจะมีสว่ นประกอบในระบบทีส่ าคญั คอื เคร่ืองอดั อากาศ มอเตอร์ไฟฟา้ ถังเก็บลม สวิตช์ความดัน อุปกรณ์ระบายน้า วาล์วนิรภัย อุปกรณ์กาจัดความช้ืนและอุปกรณ์กรอง ลม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความร้เู กีย่ วกบั ระบบการผลติ และจ่ายลม จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (Behavioral Objectives) 1. บอกส่วนประกอบของระบบการผลิตและใชล้ ม 2. บอกหนา้ ท่แี ละการทางานของเครอ่ื งอัดอากาศ 3. ระบชุ อ่ื และหนา้ ทีข่ องอปุ กรณใ์ นระบบผลติ และจา่ ยลม

35 งานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งต้น(2100–1009) ใบเน้อื หา หนว่ ยที่ 2 หน้าท่ี 2/25 เน้อื หาสาระ (Content) รูปที่ 2.1 ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2.1 โครงสร้างระบบการผลิตและจา่ ยลม ส่วนประกอบของระบบการผลิตและการใช้ลม ระบบการผลิตและส่งจ่ายลมอดั (Production System) 1. เคร่อื งอดั อากาศ (Air Compressor) 2. มอเตอร์ไฟฟา้ (Electric Motor) 3. สวติ ชค์ วามดนั (Pressure Switch) 4. วาล์วป้องกนั การไหลย้อนกลับ (Check Valve) 5. ถงั เก็บลม (Air Tank) 6. เกจวัดความดัน (Pressure Gauge) 7. อุปกรณ์ระบายนา้ (Water Drain)

36 งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์เบอื้ งตน้ (2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยท่ี 2 หน้าที่ 3/25 8. วาลว์ นิรภยั (Safety Valve) 9. อุปกรณก์ าจดั ความชนื้ (Air Dryer) 10. อปุ กรณก์ รองลม (Air Filter) ระบบการใชล้ มอัด(Consumption System) 1. ท่อส่งจา่ ยลม (Ducting Work) 2. อปุ กรณ์ระบายน้า (Water Drain) 3. ชุดปรับคุณภาพลม (Service Unit) 4. วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง (Directional Control Valve) 5. อุปกรณท์ างาน (Working Element) 6. อุปกรณค์ วบคุมความเร็ว (Speed Control) 2.2 เครอ่ื งอัดอากาศ เครือ่ งอดั อากาศ คอื เครื่องจักรกลท่ีทาหน้าท่ีอัดอากาศท่ีดดู เขา้ มาที่มีความดันปกติใหม้ คี วาม ดนั สูงข้ึนแลว้ เก็บไว้ในถังเก็บลมอัด เพื่อนาไปใช้งานโดยการจา่ ยไปตามทอ่ ลมให้กับเครือ่ งจักรหรือ อุปกรณ์ทางานต่างๆต่อไป ชนิดของเคร่อื งอัดอากาศสามารถแบง่ ออกเปน็ 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1.เครอื่ งอัดอากาศชนดิ ลกู สูบ (piston compressor) 2.เครอ่ื งอดั อากาศชนดิ ไดอะแฟรม (diaphragm compressor) 3.เครอ่ื งอัดอากาศชนิดสกรู (screw compressor) 4.เครอ่ื งอัดอากาศชนิดใบพัดเลือ่ น(sliding vane rotary compressor) 5.เครื่องอดั อากาศชนดิ ใบพัดหมนุ (root compressor) 6.เคร่ืองอดั อากาศชนดิ กงั หันหรอื กระแสอากาศ (turbo compressor or flow compressor)

37 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบ้อื งต้น(2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 4/25 สญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 2.2 เครื่องอัดอากาศ

38 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์เบือ้ งต้น(2100–1009) ใบเนอื้ หา หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ท่ี 5/25 ตารางท่ี 2.1 การทางานและคุณสมบตั ิของเครอื่ งอดั อากาศ ประเภทเคร่ืองอดั อากาศ ความดัน อัตราการส่งลม 1. แบบลูกสบู แบบอดั ช้นั เดยี ว 4–10 บาร์ แบบอดั 2 ชน้ั 15–30 บาร์ แบบอดั 3 ชน้ั 150 บาร์ 150 ถงึ 250,000 m3/h 2. แบบไดอะแฟรม หลักการทางานเหมือนกบั แบบลูกสูบ เพียงแต่มีแผน่ ไดอะแฟรมเป็นตัวกนั ไม่ให้ อากาศสัมผสั กับลูกสูบ อากาศทไ่ี ด้จึงสะอาด ปราศจากการปนเปื้อนของ นา้ มนั หล่อลื่น เครือ่ งอดั อากาศแบบน้ีนยิ มใช้ใน อตุ สาหกรรมอาหาร ยา และ เคมี

39 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งตน้ (2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยท่ี 2 หน้าท่ี 6/25 ประเภทเคร่อื งอดั อากาศ ความดนั อตั ราการส่งลม 3. แบบสกรู 1–25 บาร์ 800 ถงึ 500,000 m3/h เมือ่ เกลียวสกรูท้ังคหู่ มุนเขา้ หากัน ลมจะถกู ดูดเขา้ ทางลมเขา้ และถูกอัด ให้ไหลไปตามร่องสกรูออกทางช่องลมออก 4. แบบใบพัดเลื่อน 0.2-8 บาร์ 250 ถงึ 15,000 m3/h เมื่อโรเตอร์ที่วางเยือ้ งศนู ย์อย่กู ับช่องอัดอากาศ หมนุ ไปรอบ ๆ ใบพัดจะเลือ่ นสน้ั เข้า และยาวออก ตามลักษณะการเย้ืองศูนย์จึงเกิดการดดู และอัดลม จากทางเขา้ ไปยังทางออก

40 งานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้อื งต้น(2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2 หนา้ ที่ 7/25 ประเภทเครอื่ งอัดอากาศ ความดัน อตั ราการส่งลม 5. แบบกงั หนั 0.8–4 บาร์ 52,000 ถงึ 500,000 m3/h เมื่อใบพดั หมุน อากาศจะถกู ดูดทางดา้ นลมเขา้ ไหลออกไปเพิ่มปริมาณและแรงดนั ดา้ นลมออก 6. แบบใบพัด 0.6-300 บาร์ 300 ถงึ 200,000 m3/h

41 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บือ้ งต้น(2100–1009) ใบเนอื้ หา หนว่ ยท่ี 2 หน้าที่ 8/25 การพิจารณาเลอื กชนิดของเครอ่ื งอัดอากาศ มขี ้อพิจารณาดงั นี้ 1. อัตราการจา่ ยลม m3/h 2. แรงดันลม bar รูปท่ี 2.3 ตารางแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงดันลมกับอตั ราการจ่ายลม ตัวอย่างท่ี 2.1 ถ้าต้องการอัตราการจ่ายลม 10,000 m3/h ท่ีแรงดัน 100 บาร์ จะเลือกเคร่ือง อดั อากาศชนิดใด วิธีทา ให้ลากเส้นอัตราการจ่ายลม 10,000 m3/h ขึ้นไปบรรจบกับเส้นแรงดัน 100 บาร์ ใน แนวนอน จุดที่เส้นท้ังสองมาบรรจบกันอยู่ในกรอบของเคร่ืองอัดลมแบบลูกสูบ เคร่ืองอัดอากาศที่จะ เลือกจึงเปน็ แบบลูกสบู (Piston Compressor) ตอบ

42 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บ้ืองต้น(2100–1009) ใบเนื้อหา หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ที่ 9/25 2.3 ถงั เก็บลม 2.3.1 หน้าทขี่ องถงั เกบ็ ลม 1. เกบ็ รกั ษาแรงดนั ลมใหม้ คี ่าเหมาะสมตอ่ การใช้งาน 2. เก็บรักษาปริมาณลมให้เพยี งพอตอ่ การใช้งาน 3. แยกไอนา้ ที่ปะปนมากับลมอัดใหก้ ลนั่ ตัวเปน็ หยดน้า 4. ระบายความร้อนลมอัด 5. ติดต้ังอุปกรณ์ประกอบ เช่น เกจวัดความดัน วาล์วระบายน้า วาล์วนิรภัย วาล์ว ปิด- เปิด เปน็ ต้น รูปที่ 2.4 สัญลักษณ์ย่อ รูปที่ 2.5 สัญลกั ษณ์เตม็ รปู ท่ี 2.6 แบบตง้ั รูปที่ 2.7 แบบนอน

43 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบือ้ งตน้ (2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ท่ี 10/25 2.3.2 การพจิ ารณาเลอื กขนาดถงั เก็บลม มี 2 วธิ ี 1. วิธีที่ 1 หาขนาดจากตารางกราฟ โดยพจิ ารณาจาก (1) ปรมิ าณการใชล้ มในระบบ m3/min (2) คา่ ความดันแตกต่างในท่อ P (3) จานวนครง้ั ในการตดั ตอ่ /ชว่ั โมง Z รปู ท่ี 2.8 ตารางแสดงการหาค่าของถังเก็บลมอดั ตัวอย่างท่ี 2.2 การหาขนาดของถังเก็บลมจากกราฟ ปรมิ าณการจ่ายลมอัด V = 40 m3/min จานวนคร้ังการตัดตอ่ มอเตอร์ Z = 20 คร้ัง/ช่วั โมง คา่ ความดนั แตกต่างของแรงดนั ในทอ่ P = 0.25 x 102 kPa ขนาดของถังลมอดั = ? จากกราฟจะได้ขนาดของถัง VB = 100 m3

44 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งต้น(2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยท่ี 2 หน้าท่ี 11/25 2. วิธที ่ี 2 เลือกจากตาราง Engineering Toolbox ตารางท่ี 2.2 Engineering Toolbox ตัวอย่างที่ 2.3 การหาขนาดถงั เก็บลมจากตาราง Engineering Toolbox ตอบ ถ้าต้องการปริมาณ 170 m3/h จะได้ขนาดถังเกบ็ เทา่ กับ 0.4 m3 2.3.3 การควบคุมเครือ่ งอดั อากาศ 1. หนา้ ท่ี (1) หยดุ จา่ ยลมเมื่อความดนั สงู ถึงระดับที่ต้ังค่าเอาไว้ (2) สั่งจา่ ยลมเมือ่ ความดนั ต่าลงถึงระดบั ที่ตง้ั คา่ เอาไว้ 2. วธิ ีควบคมุ เคร่อื งอดั อากาศ มี 2 แบบ คอื (1) การควบคุมแบบ On–Off เป็นวิธีการควบคุมท่ีมอเตอร์ไฟฟ้า ทางานได้โดยจ่าย กระแสไฟฟ้าให้มอเตอร์เม่ือความดันในถังเก็บลมต่าลงถึงระดับที่กาหนด และตัดกระแสไฟฟ้าให้ มอเตอร์เม่ือความดนั ในถังเกบ็ ลมสงู ถงึ ระดับกาหนด

45 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบอื้ งตน้ (2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 12/25 (2) การควบคมุ แบบ Unloading Regulation วิธีการน้มี อเตอรไ์ ฟฟ้าจะไม่หยุดหมุน การควบคุมกระทาได้โดยการปิด–เปิดวาล์วจ่ายลม โดยวาล์วจะปิดการจ่ายลมเข้าถังเก็บลมเมื่อความ ดนั สงู มอเตอร์หมนุ โดยไมม่ โี หลด และเปิดจ่ายลมเม่ือความดนั ตา่ 2.4 มอเตอร์ไฟฟา้ มอเตอร์ไฟฟ้าในการผลติ ลม มีหน้าท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เพ่อื หมนุ ขบั เคร่ือง อัดอากาศใหเ้ ปลีย่ นเปน็ พลงั งานลมอัด ขนาดของกาลังขับ (HP) มอเตอร์ไฟฟา้ จะเปล่ยี นไป ตามความ จขุ องถังเก็บลมอัด เชน่ มอเตอรข์ นาด 10 HP จะใช้กบั ถงั ลมขนาด 0.2 m3 ดงั ตาราง ตารางที่ 2.3 Engineering Toolbox

46 งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บือ้ งต้น(2100–1009) ใบเนอื้ หา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 13/25 2.5 เครื่องระบายความรอ้ น เครอ่ื งทาอากาศแหง้ 2.5.1 หน้าที่ 1. ลดอุณหภูมลิ มอัด 2. ลดความช้นื 3. ลดฝุน่ ละออง 2.5.2 วิธีการติดต้ัง ติดตงั้ ได้ทงั้ กอ่ นหรือหลงั ลมเข้าถังเก็บลม เครื่องอัดอากาศ เครื่องระบายความรอ้ น มอเตอร์ไฟฟา้ ถงั เกบ็ ลม ชดุ ปรับคณุ ภาพลม เครือ่ งกรองในท่อหลัก รปู ที่ 2.9 วธิ กี ารตดิ ตั้งเครื่องระบายความร้อน 2.5.3 ชนิดของเคร่ืองระบายความร้อน 1. เคร่ืองระบายความร้อนแบบใช้ลมเป่าระบายความร้อน ลมจะไหลไปตามท่อ ความ ร้อนจะถา่ ยเทไปตามครีบ พดั ลมทีเ่ ปา่ จะช่วยระบายความร้อนให้อณุ หภูมิของลมอัดเย็นลง ไอน้าที่กล่ัน ตัวเปน็ หยดนา้ จะไหลไปทร่ี ะบบระบายนา้

47 งานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้ืองต้น(2100–1009) ใบเนื้อหา หนว่ ยท่ี 2 หน้าที่ 14/25 รปู ท่ี 2.10 เครื่องระบายความรอ้ นแบบใช้ลมเปา่ และสัญลกั ษณ์ 2. เคร่ืองระบายความร้อนแบบใช้น้าหล่อเย็น ลักษณะของเครื่องระบายความร้อนแบบน้ี ภายในประกอบด้วยท่อและครีบท่ีทาด้วยทองแดง เปน็ ลักษณะฟนิ คอยล์อยู่ภายในท่อใหญ่ดงั รูปท่ี 2.10 น้าที่จะทาการหล่อเย็น จะไหลอยู่ภายในท่อของคอยล์ ส่วนลมอัดน้ีจะไหลไปปะทะครีบของคอยล์น้า ท่ี ตัวเสื้อของเครื่องระบายความร้อนน้ีจะติดเทอร์โมมิเตอร์เพ่ือดูอุณหภูมิของลมอัดท่ีออกไปใช้งาน ถ้า อณุ หภูมิของลมอดั สงู เกินกวา่ ปกติ จะต้องเพ่มิ ปริมาณน้าทไ่ี หลหมนุ เวียนให้มากข้ึน เครื่องระบายความ ร้อนแบบน้เี หมาะกับโรงงานอุตสาหกรรมใหญเ่ พราะการตดิ ตง้ั เครื่องระบายความร้อนแบบน้จี ะต้องมี คู ลลง่ิ สาหรบั หลอ่ เย็นน้าทีร่ ะบายความร้อนจาก ลมอดั ออกไป รูปท่ี 2.11 เครื่องระบายความร้อนแบบใช้นา้ หล่อเย็นและสญั ลกั ษณ์

48 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บ้อื งตน้ (2100–1009) ใบเนื้อหา หนว่ ยที่ 2 หน้าที่ 15/25 2.6 เคร่ืองกาจัดความช้นื เคร่ืองกาจัดความชื้น (Air Dryer) มีหน้าที่กาจัดความช้ืนที่เหลือมาจากเครื่องระบายความร้อน และถงั เก็บลมอัดซ้าอีก รูปท่ี 2.12 สญั ลกั ษณ์เครอ่ื งกาจดั ความชื้น 2.6.1 เครอื่ งกาจัดความชน้ื ดว้ ยความเย็น (Refrigerated Air Dryer) รปู ท่ี 2.13 เคร่ืองกาจัดความช้ืนดว้ ยความเยน็

49 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบื้องต้น(2100–1009) ใบเน้อื หา หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 16/25 ลักษณะการทางานของเคร่ืองกาจัดความช้ืนชนิดนี้จะคล้ายกับเครื่องทาความเย็น ลมอัดที่ช้ืน และมีอุณหภูมิสูงจะไหลตามท่อเข้าไปในห้องทาความเย็น แล้วไหลผ่านออกไปทางท่อลมออก กระบวนการทางานของเครื่องคือ ทาให้อากาศที่ไหลเข้าเย็นลงเพ่ือกาจัดความชื้นแล้วทาให้อากาศที่ ไหลออก รอ้ นขน้ึ ถึงอุณหภมู ิทเ่ี หมาะสมตอ่ การใช้งาน 2.6.2 เครอ่ื งกาจดั ความชน้ื แบบดดู ความชืน้ รูปท่ี 2.14 เครือ่ งกาจัดความช้ืนแบบดดู ความชื้น หลักการทางานของเครื่องกาจัดความชื้นชนิดน้ีคือ ควบคุมลมอดั ใหไ้ หลเขา้ ไปผา่ นสารเคมี ไอนา้ ทป่ี ะปนมากับลมอัดจะถกู สารเคมดี ดู ซบั เอาไว้ ทาใหอ้ ากาศที่ไหลผ่านออกไป มคี วามชนื้ น้อยลง

50 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บอ้ื งต้น(2100–1009) ใบเนอื้ หา หนว่ ยท่ี 2 หน้าท่ี 17/25 2.7 เกจวัดความดัน (Pressure Gauge) เกจวัดความดัน มีหนา้ ทแี่ สดงระดับความดันลมอดั มีหนว่ ยเปน็ bar และ PSI เกจวดั ความดนั สัญลกั ษณ์ รูปที่ 2.15 เกจวัดความดนั และสัญลักษณ์ หลักการทางานของเกจวัดความดัน เมื่อมีแรงดันลมเข้ามา ท่อ Bourdon จะถูกยืดออก ปลายท่อท่ี ยึดติด กับกลไกการหมุนจะพาเฟืองและเข็มบอกระดับความดันหมุนตามไปด้วย เมื่อแรงดันลดลง ท่อ Bourdon จะงอกลับ เขม็ จะหมนุ กลับด้วย ดงั รปู ที่ 2.15 รูปที่ 2.16 โครงสร้างเกจวัดความดัน

51 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บื้องตน้ (2100–1009) ใบเนื้อหา หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ที่ 18/25 2.8 อุปกรณ์กรองลม (Air Filter) อุปกรณ์กรองลม มีหน้าทจี่ ับฝุ่นละออง นา้ และนา้ มัน ในท่อลมหลกั ก) ชนิดกรองอยา่ งเดียว ข) ชนดิ ระบายนา้ ดว้ ยมือ ค) ชนดิ ระบายน้าอัตโนมัติ รูปท่ี 2.17 สญั ลกั ษณอ์ ุปกรณก์ รองลม รปู ท่ี 2.18 โครงสร้างอุปกรณ์กรองลม หลกั การทางาน ลมอดั เม่อื ไหลเข้ามาปะทะเกลด็ เบนทิศทางจะทาให้ลมหมนุ วนเหว่ียงใหน้ ้าและ น้ามันตกลงดา้ นลา่ ง ส่วนฝนุ่ ละอองจะตกค้างอยู่ที่ไสก้ รอง ปล่อยให้อากาศที่สะอาดไหลผา่ นออกไปใช้ งาน ทางด้านล่างจะมีแผ่นกะบังป้องกนั ฝุ่นและน้า ลอยขน้ึ ด้านบน ดังรปู ท่ี 2.17

52 งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สเ์ บ้อื งต้น(2100–1009) ใบเนือ้ หา หนว่ ยที่ 2 หน้าที่ 19/25 2.9 อปุ กรณ์ระบายนา้ อุปกรณ์ระบายน้า มีหน้าที่ระบายน้าออกจากอุปกรณ์ที่เกิดจากการกลั่นตัวของไอน้าออกสู่ ภายนอก ก) การทางาน ข) สญั ลกั ษณ์ รปู ท่ี 2.19 การทางานของอุปกรณร์ ะบายน้าและสัญลักษณ์ 2.10 วาล์วนิรภัย (Safety Valve) วาลว์ นิรภัย มหี น้าท่ีกาจัดความดนั ในถังเก็บลมไมใ่ หเ้ กินคา่ ทก่ี าหนด 1. ถ้าความดนั ในถังเกบ็ ลมเกินคา่ กาหนด วาลว์ นริ ภัยจะเปดิ ระบายลมทิ้ง 2. วาลว์ จะปิดเม่อื ความดนั ภายในมีค่าตา่ กว่าคา่ กาหนด รปู ท่ี 2.20 วาล์วนริ ภัยและสัญลกั ษณ์

53 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บอื้ งตน้ (2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยที่ 2 หนา้ ที่ 20/25 2.11 วาลว์ กนั กลับ (Check Valve) วาล์วกันกลับ มีหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนกลับของลม ในระบบผลิตลมอัด วาล์วกันกลับ มีหน้าท่ี ดังน้ี 1. ปลอ่ ยให้ลมอัดไหลผา่ นในจังหวะเคร่อื งอดั อากาศอัดลมเขา้ ถงั เกบ็ ลม 2. ปิดไม่ให้ลมไหลย้อนกลับในจังหวะดูดอากาศเข้าลูกสูบ และเมื่อเครื่องอัดอากาศ หยุดทางาน ก) วาล์วกนั กลับ ข) สัญลักษณ์ รูปท่ี 2.21 วาลว์ กนั กลับและสัญลักษณ์ 2.12 ท่อจ่ายลม 2.12.1 การตดิ ตง้ั ท่อลม 1. การติดต้ังทอลมอัดไมควรจะยึดกับผนังอิฐหรือในจุดที่คับแคบ เพราะจะทาใหยุ งยากในการตรวจสอบรอยร่วั 2. การวางทอสงหลกั ตามแนวนอนควรจะวางใหมมี ุมลาดเอียงลงประมาณ 1- 2 เปอรเซน็ ตตามแนวความยาวของแนวทอลมอัด และจุดปลายต่าสดุ ของทอควรติดวาลวระบายนา้ ท้ิง 3. ทอแยกท่ีตอออกจากทอสงหลัก(main line) ควรตอออกดานบนของทอหลัก เพอื่ ปองกันนา้ ที่กล่นั ตัวไหลเขาสูอปุ กรณนวิ แมตกิ ส ควรทามุมเอยี งขึ้นดานบนประมาณ 30 องศากบั แนวระดับแลวงอโคงลงดวยรศั มดี านในอยางนอยที่สุดเทากับ 5 เทาของเสนผาศูนยกลางทอลมอัด ดงั รปู ที่ 2.21 ความลาดเอยี ง 1-2% ของความยาวท่อ ท่อส่งหลัก ท่อแยกไปใชง้ าน ถ้วยพักน้าก่อนปลอ่ ยท้งิ รปู ที่ 2.22 การติดตง้ั ทอ่ ลม

54 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบือ้ งตน้ (2100–1009) ใบเนอื้ หา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 21/25 2.12.2 วิธีการแยกท่อลม รปู ท่ี 2.23 วธิ กี ารแยกท่อลม 2.12.3 การเดินท่อเมนในโรงงานอตุ สาหกรรม สามารถแบง่ ไดด้ ังนี้ 1. การเดนิ ทอ่ เมนแบบแยกสาขา (Branch Line) รูปที่ 2.24 การเดนิ ท่อลมแบบแยกสาขา ข้อดี สิ้นเปลืองอปุ กรณไ์ ม่มาก ข้อเสยี 1) ถ้าเพิ่มอุปกรณ์นิวแมติกส์เข้าไปมาก ๆ อุปกรณ์ตัวสุดท้ายจะมีปริมาณลมอัด และความดันไม่เพยี งพอ 2) หากมีการซ่อมแซมท่อเมน ต้องหยุดจ่ายลมตลอดสาย ทาให้ต้องหยุดการทางาน ดว้ ย ข้อแนะนา เหมาะสาหรบั โรงงานอตุ สาหกรรมขนาดเล็กเท่าน้ัน

55 งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกสเ์ บอ้ื งตน้ (2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 22/25 2. การเดนิ ท่อเมนแบบวงแหวน (Ring Circuit) ก) แบบท่ี 1 ข) แบบที่ 2 รปู ที่ 2.25 การเดินทอ่ ลมแบบวงแหวน ขอ้ ดี สามารถเพิ่มอปุ กรณน์ วิ แมติกสไ์ ด้มาก โดยไม่สญู เสยี ความดนั ขอ้ เสยี หากสญู เสยี แรงดัน ณ จดุ ใดจุดหนง่ึ จุดอนื่ ๆ จะสูญเสียไปดว้ ย ข้อแนะนา เหมาะสาหรบั โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ 2.13 ชุดปรับคณุ ภาพลมอดั (Service Unit) ชุดปรับคุณภาพลมอัด เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการทาความสะอาด ปรับแต่งค่าความดัน รวมทั้งบาง กรณีอาจมีการผสมนา้ มันหล่อลน่ื เข้าไปในลมอัดด้วย เพื่อยืดอายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์นิวแมติกส์ แบบย่อ แบบละเอยี ด ก) ชดุ ปรับคณุ ภาพลมอดั ข) สัญลักษณ์ รปู ที่ 2.26 ชุดปรับคุณภาพลมอดั และสัญลักษณ์

56 งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์เบือ้ งตน้ (2100–1009) ใบเนอื้ หา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 23/25 ชุดปรับคุณภาพลมอัดประกอบด้วย ตัวกรอง (Filter) วาล์วปรับลดและควบคุมแรงดัน (Regulator) ตัวจ่ายน้ามนั หลอ่ ลืน่ (Lubricator) 2.13.1 ตวั กรอง (Filter) ตัวกรองจะทาหน้าท่ีกรองฝุ่นละอองและน้าที่ปะปนมากับลมอัด เพ่ือให้ได้ลมอัดท่ีมี ความสะอาดก่อนนาไปใชง้ าน ระบายนา้ ดว้ ยมือ ระบายนา้ อตั โนมัติ ก) ตัวกรอง ข) สัญลกั ษณ์ รปู ที่ 2.27 ตัวกรองและสัญลักษณ์ 2.13.2 วาลว์ ปรบั ลดและควบคมุ แรงดัน (Regulator) วาล์วปรับลดและควบคุมแรงดันจะทาหน้าที่ควบคุมความดัน ลมอัดทางด้านลมออก ให้ คงท่ี โดยปกติความดันด้านลมเขา้ จะมีคา่ ความดนั สูง และเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ดงั นนั้ วาล์วควบคุม แรงดนั จงึ ทาหน้าท่ปี รบั ความดันให้คา่ ความดนั ของลมอดั มคี วามดนั เทา่ กบั ความดัน ใชง้ านในระบบนิว แมติกส์ และรกั ษาแรงดนั ใหม้ ีค่าคงทต่ี ามท่ีตงั้ ค่าไว้ ก) วาล์วปรับลดและควบคมุ แรงดนั ข) สัญลกั ษณ์ 22 1 1 ชนดิ ทีม่ ีการระบายความดัน ชนดิ ไมร่ ะบายความดัน รปู ที่ 2.28 วาล์วปรบั ลดและควบคุมแรงดนั และสัญลักษณ์

57 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบื้องตน้ (2100–1009) ใบเนือ้ หา หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 24/25 2.13.3 ตัวจ่ายน้ามนั หลอ่ ลนื่ (Lubricator) ตัวจ่ายน้ามันหล่อลื่น มีหน้าที่จ่ายน้ามันหล่อลื่นให้กับอุปกรณ์นิวแมติกส์ โดยจะปะปน ไปกบั ลมอดั เพื่อหล่อล่นื อุปกรณต์ า่ ง ๆ ปัจจบุ นั อุปกรณ์นวิ แมติกส์มักจะผลิตจากวัสดุท่ีไมต่ ้องการ การ หลอ่ ลน่ื จากนา้ มัน ดงั นั้นจงึ ไม่จาเปน็ ต้องตดิ ตง้ั ตัวจ่ายนา้ มนั หลอ่ ลน่ื เข้ากบั ชดุ ปรบั คณุ ภาพลมอัดกไ็ ด้ ก) ตวั จา่ ยน้ามันหล่อลน่ื ข) สัญลกั ษณ์ รปู ท่ี 2.29 ตัวจา่ ยน้ามันหล่อลืน่ และสัญลักษณ์ หลักการทางาน ตัวจา่ ยนา้ มันหลอ่ ลืน่ จะอาศัยหลกั การของช่องแคบท่คี วามดนั แตกตา่ งกัน ความ ดันบริเวณชอ่ งแคบจะลดลง น้ามันจึงถกู ดูดขึ้นมาจากภาชนะผสมกับลมอดั ไหลเป็นละอองไปกับลมอดั รปู ที่ 2.30 หลกั การนา้ มันหลอ่ ล่นื

58 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้อื งต้น(2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยที่ 2 หน้าที่ 25/25 2.14.4 การบารุงรกั ษาชดุ บรกิ ารลมอดั กฎเกณฑท์ ี่จาเป็นจะตอ้ งปฏิบตั ิอยเู่ ปน็ ประจามีดงั ต่อไปนี้ 1. หมอ้ กรองลมอัด (1) ระดับน้าภายในกระเปาะพลาสติกจะต้องตรวจสอบทุก วัน ไม่ให้สูงเกิดขีด ทก่ี าหนดไว้ และต้องระบายนา้ ทิ้งเป็นประจา (2) ไสก้ รองอากาศ จะตอ้ งทาความสะอาดสมา่ เสมอตามระยะเวลาทผ่ี ผู้ ลติ กาหนด (3) กระเปาะและชิ้นส่วนภายในท่ีเป็นพลาสติก ห้ามล้างทาความสะอาดด้วย สารท่ี ทาลายพลาสตกิ เช่น Trichlorethylene เปน็ ตน้ 2. ตัวควบคุมความดนั อปุ กรณช์ น้ิ นไ้ี มจ่ าเปน็ ต้องบารุงรกั ษาหากตดิ ต้งั อยูต่ อ่ จากชุดกรองลมอัด 3. เกจวัดความดัน (1) ระวังอย่าต้งั ความดนั สงู เกินกวา่ ขีดกาหนด (2) ก่อนจ่ายลมผ่านเข้าในวงจร ควรคลายตัวตั้งความดันให้ต่าท่ีสุด แล้วค่อย ๆ ปรับเพ่มิ ขน้ึ จนถงึ คา่ ท่ตี อ้ งการ เพ่อื ป้องกนั การสะบัด กระแทกของเขม็ วดั และชุดกลไกภายใน 4. ตัวผสมละอองน้ามันหล่อลื่น (1) ต้องตรวจสอบระดับน้ามันภายในกระเปาะเป็นประจาและเติมให้ได้ระดับ ท่ตี อ้ งการอยู่เสมอ (2) น้ามันหล่อลื่นทใ่ี ช้มคี วามหนดื 2–4oC ที่ 20oC หรอื SAE 10 (3) เมื่อมีน้าผสมเข้ากับน้ามันหล่อล่ืนภายในกระเปาะ น้ามันจะเปล่ียนเป็นขุ่นขาว หรือเทา ให้รีบลา้ งและเปล่ียนน้ามนั ใหมท่ ันที

แบบฝกึ หัดท่ี 2.1 59 วชิ า งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบื้องต้น หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ท่ี 1/1 ช่ือหน่วย ระบบการผลติ และจ่ายลม ชือ่ เร่อื ง โครงสร้างระบบการผลติ และจ่ายลม เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ จงบอกช่อื ส่วนประกอบในระบบการผลิตลมและจา่ ยลม 2/18 ปฏิบัติ 3 คาบ 1. ระบบการผลติ ลม (Production System) 6. ............................................................. 1. ............................................................ 7. ............................................................ 2. ............................................................ 8. ............................................................ 3. ............................................................ 9. ............................................................ 4. ............................................................ 10. ............................................................ 5. ............................................................ 2. ระบบการใช้ลม (Consumption System) 4. ............................................................ 1. ............................................................ 5. ............................................................ 2. ............................................................ 6. ............................................................ 3. ............................................................

60 แบบประเมนิ ผลงานท่ี 2.1 หน่วยที่ 2 หนา้ ที่ 1/1 วิชา งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้งั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ ชอ่ื หน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ ช่ือเร่อื ง สว่ นประกอบของอุปกรณ์ในระบบผลิตและจ่ายลม คาชี้แจง ใหว้ งกลมลอ้ มรอบคะแนนทไ่ี ด้ รายการ คะแนน หมายเหตุ ขนั้ ก่อนการปฏิบตั งิ าน ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรุง 1. ความพร้อมของอปุ กรณ์การเรียน.............. กลาง ขน้ั การปฏบิ ัติงาน 5432 1 2. อธิบายส่วนประกอบของระบบการผลติ 10 8 6 4 2 ลม……………………………………………………………… 3. บอกชื่อของระบบจา่ ยลม........................ 10 8 6 4 2 ขั้นสรปุ ผล 4. เขียนสรุปผลหลงั การปฏิบตั งิ าน................ 5 4 3 2 1 ข้นั หลังการปฏบิ ตั ิงาน 5. ทาความสะอาดบริเวณห้องเรียน............... 5 4 3 2 1 6. สง่ งานตามกาหนดเวลา............................. 5 4 3 2 1 คะแนนทไี่ ด้ รวมคะแนน ผลการประเมิน (คะแนนเตม็ 60 คะแนน)  ดี (คะแนนอยู่ในชว่ ง 46–53 คะแนน)  ปรับปรงุ (คะแนนอยู่ในชว่ ง 30–37 คะแนน)  ดีมาก (คะแนนอยใู่ นช่วง 54–60 คะแนน)  พอใช้ (คะแนนอยู่ในชว่ ง 38–45 คะแนน) ลงชือ่  ไมผ่ ่าน (คะแนนต่ากว่า 30 คะแนน) (สามารถ สมบุตร) ผ้ปู ระเมนิ .........../.............../...............

61 แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ท่ี 1/1 วิชา งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอื่ หนว่ ย ระบบการผลิตและจ่ายลม สอนครั้งที่ ทฤษฎี 1 คาบ 2/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ คาชี้แจง 1. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สมาชิกในกลุ่มหนึ่งคนประเมินซ่ึงกันและกันในหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดและ แจ้งไว้ 2. การประเมนิ แตล่ ะขอ้ มคี ะแนนขอ้ ละ 5 คะแนน (5 หมายถึง ดมี าก, 4 หมายถึง ดี, 3 หมายถงึ ปานกลาง, 2 หมายถงึ พอใช้, 1 หมายถึง ตอ้ งปรบั ปรงุ ) 3. ผสู้ อนทาการประเมนิ และหาคะแนนเฉลี่ยของผเู้ รียนแต่ละคนตอ่ ไป คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ ผู้ประเมิน และคา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ ท่ี สงั เกตจากพฤตกิ รรม ตนเอง สมาชิก ู้ผสอน 1 ความมีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลาทัง้ การเข้าเรียนและการสง่ งาน ทางาน 2 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ ตามขั้นตอน คานงึ ถึงความปลอดภยั ฯลฯ 3 ความรบั ผิดชอบ ช่วยเหลือเพอ่ื นสมาชิกให้ความร่วมมือทางานกลมุ่ 4 ความเชื่อมั่นในตนเอง พูดจาสภุ าพ ฯลฯ 5 ความซอ่ื สัตยส์ จุ รติ กลา้ รบั ผดิ และรับชอบในส่ิงทต่ี นทา รักษาความ 6 ความประหยดั สะอาด ฯลฯ 7 ความสนใจใฝร่ ู้ กลา้ แสดงออกในการปฏิบตั ิงาน กล้าแสดงความ 8 ความรักสามคั คี คดิ เห็น ฯลฯ 9 ความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ ไมค่ ดั ลอกผลงานคนอน่ื ตรวจผลงานของตนเองและ 10 ความพงึ พอใจในผลงานที่ ของผู้อื่นด้วยความซือ่ สัตย์ ฯลฯ ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ เคร่ืองมือและใช้พลังงานไฟฟา้ ในการ ทา เรยี นอย่างประหยดั ฯลฯ กระตือรอื ร้น พึง่ ตนเองเปน็ หลกั ศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม ฯลฯ รับฟงั ความเหน็ ผูอ้ น่ื รว่ มใจกันทางาน รู้จักแบง่ บนั มี นา้ ใจ ฯลฯ ปรบั วิธกี ารเรียนของตนเองใหด้ ีขึน้ คดิ แกป้ ัญหาแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงานของตนเองทต่ี ้ังใจทางานอยา่ งดีที่สดุ ฯลฯ รวม เฉลยี่ รวม ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ได.้ ................คะแนน  ผ่าน (คะแนนอย่ใู นช่วง 12–20 คะแนน)  ไมผ่ า่ น (คะแนนต่ากว่า 12 คะแนน) ..................................ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน

62 แบบฝกึ หดั ที่ 2.2 หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ที่ 1/1 วชิ า งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบื้องตน้ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้ังที่ ทฤษฎี 1 คาบ ชื่อหน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 3/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ ชอ่ื เรือ่ ง การทางานชดุ ปรับคุณภาพลมอดั จงบอกหน้าท่ขี องส่วนประกอบต่อไปนี้ 1. ตวั กรองลม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตัวควบคมุ ความดัน ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 3. เกจ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 4. ตวั ผสมน้ามนั หล่อลืน่ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………

63 แบบประเมนิ ผลงานท่ี 2.2 หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 1/1 วชิ า งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครั้งที่ ทฤษฎี 1 คาบ ชอ่ื หน่วย ระบบการผลติ และจ่ายลม 3/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ ช่อื เร่อื ง การทางานชดุ ปรับคุณภาพลมอดั คาชแี้ จง ให้วงกลมล้อมรอบคะแนนทไี่ ด้ รายการ คะแนน หมายเหตุ ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรงุ กลาง ขัน้ ก่อนการปฏบิ ตั งิ าน 1. ความพร้อมของอุปกรณก์ ารเรียน......... 5 4 3 2 1 ขน้ั การปฏิบตั งิ าน 2. สว่ นประกอบการทางานชุดปรบั คณุ ภาพ 10 8 6 4 2 ลมอัด…………………………………………………………. 3. การทางานชุดปรบั คุณภาพลมอดั ........... 10 8 6 4 2 4. นาเสนอรายละเอียดท่คี วรปรับปรุง........ 10 8 6 4 2 5. นาเสนอเหตผุ ลทคี่ วรปรบั ปรงุ ............... 10 8 6 4 2 ข้นั สรปุ ผล 6. เขียนสรปุ ผลหลังการปฏบิ ัตงิ าน............. 5 4 3 2 1 ขั้นหลังการปฏบิ ตั ิงาน 7. ทาความสะอาดบรเิ วณหอ้ งเรยี น........... 5 4 3 2 1 8. ส่งงานตามกาหนดเวลา........................ 5 4 3 2 1 คะแนนทีไ่ ด้ รวมคะแนน ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 60 คะแนน)  ดี (คะแนนอย่ใู นชว่ ง 46–53 คะแนน)  ปรบั ปรุง (คะแนนอยูใ่ นชว่ ง 30–37 คะแนน)  ดีมาก (คะแนนอยู่ในช่วง 54–60 คะแนน)  พอใช้ (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 38–45 คะแนน) ลงช่ือ  ไมผ่ ่าน (คะแนนต่ากวา่ 30 คะแนน) (นายสามารถ สมบตุ ร) ผูป้ ระเมนิ .........../.............../...............

64 แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ท่ี 1/1 วชิ า งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้อื งตน้ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอื่ หน่วย ระบบการผลติ และจา่ ยลม สอนครัง้ ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ 3/18 ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ คาชี้แจง 1. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สมาชิกในกลุ่มหน่ึงคนประเมินซึ่งกันและกันในหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดและ แจง้ ไว้ 2. การประเมนิ แต่ละข้อมีคะแนนข้อละ 5 คะแนน (5 หมายถึง ดีมาก, 4 หมายถึง ดี, 3 หมายถึง ปานกลาง, 2 หมายถึง พอใช้, 1 หมายถงึ ตอ้ งปรับปรงุ ) 3. ผูส้ อนทาการประเมนิ และหาคะแนนเฉลีย่ ของผเู้ รียนแต่ละคนตอ่ ไป คณุ ธรรม จริยธรรม เจตคติ ผ้ปู ระเมนิ และค่านยิ มที่พึงประสงค์ ท่ี สังเกตจากพฤตกิ รรม ตนเอง สมาชิก ู้ผสอน 1 ความมวี ินยั ตรงต่อเวลาทง้ั การเขา้ เรยี นและการสง่ งาน ทางาน 2 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์ ตามขั้นตอน คานึงถึงความปลอดภยั ฯลฯ 3 ความรบั ผิดชอบ ช่วยเหลอื เพอ่ื นสมาชิกใหค้ วามร่วมมือทางานกลมุ่ 4 ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง พดู จาสุภาพ ฯลฯ 5 ความซื่อสัตย์สุจรติ กลา้ รับผิดและรับชอบในส่ิงทต่ี นทา รกั ษาความ 6 ความประหยัด สะอาด ฯลฯ 7 ความสนใจใฝร่ ู้ กลา้ แสดงออกในการปฏบิ ัตงิ าน กล้าแสดงความ 8 ความรกั สามคั คี คิดเหน็ ฯลฯ 9 ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์ ไม่คดั ลอกผลงานคนอน่ื ตรวจผลงานของตนเองและ 10 ความพึงพอใจในผลงานที่ ของผู้อน่ื ด้วยความซอ่ื สัตย์ ฯลฯ ใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ เคร่อื งมือและใช้พลงั งานไฟฟา้ ในการ ทา เรยี นอย่างประหยัด ฯลฯ กระตือรือร้น พึง่ ตนเองเป็นหลัก ศึกษาหาความรู้ เพิ่มเตมิ ฯลฯ รับฟงั ความเหน็ ผู้อื่น ร่วมใจกนั ทางาน รู้จกั แบง่ บัน มี น้าใจ ฯลฯ ปรบั วิธีการเรยี นของตนเองใหด้ ีขึ้น คิดแกป้ ญั หาแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงานของตนเองท่ตี ้ังใจทางานอย่างดีทสี่ ุด ฯลฯ รวม เฉล่ียรวม ผลการประเมิน (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ได้.................คะแนน  ผา่ น (คะแนนอยู่ในช่วง 12–20 คะแนน)  ไม่ผ่าน (คะแนนต่ากว่า 12 คะแนน) ..................................ลงชอ่ื ผปู้ ระเมนิ

65 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยที่ 2 หนา้ ท่ี 1/2 วิชา งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บื้องตน้ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครัง้ ที่ ทฤษฎี 1 คาบ ชอื่ หน่วย ระบบการผลติ และจา่ ยลม 2-3/18 ปฏิบัติ 3 คาบ คำช้ีแจง : 1. แบบทดสอบชุดนี้มที ั้งหมด 10 ขอ้ เวลำ 10 นำที 2. ใหท้ ำเครอ่ื งหมำย () ลงในข้อที่ถูกต้องที่สุด เกณฑ์กำรประเมิน : ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. การกาหนดขนาดของเครื่องอดั อากาศที่จะพิจารณาอนั ดับแรกคือข้อใด ก. ชนิดของเครอ่ื งอัดอากาศ ข. ประสทิ ธภิ าพของเครื่องอดั อากาศ ค. ปรมิ าตรการผลิตของเคร่ืองอดั อากาศ ง. อตั ราการจ่ายลมอดั 2. หน้าที่เปล่ียนพลังงานกลให้อยู่ในรูปพลังงานนวิ แมติกส์คอื ขอ้ ใด ก. เคร่ืองอัดอากาศ ข. ถังเกบ็ ลม ค. เครือ่ งกาจดั ความชน้ื ง. เกจวดั ความดนั 3. เครือ่ งอดั อากาศแบบใดใหค้ วามดันมากท่สี ดุ ข. แบบไดอะแฟรม ก. แบบลูกสูบ ง. แบบใบพัด ค. แบบสกรู 4. วธิ กี ารควบคุมเคร่อื งอัดอากาศในงานอุตสาหกรรมควรใช้แบบใด ก. แบบ On-Off ข. แบบ Unloading Control ค. แบบ Alternating Control ง. แบบ Flow Control 5. เครอ่ื งระบายความรอ้ นแบบใชน้ ้าหล่อเย็นเหมาะกบั สถานทใ่ี ด ก. ห้องทดลอง ข. อาคารขนาดใหญ่ ค. โรงงานอตุ สาหกรรมเล็ก ง. โรงงานอุตสาหกรรมใหญ่ 6. การกาจดั ความชื้นด้วยสารเคมีคือหลกั การของเครื่องกาจดั ความช้ืนแบบใด ก. แบบใชค้ วามเย็น ข. แบบดูดความชน้ื ค. แบบระบายลมออก ง. แบบระบายลมเข้า 7. หนว่ ยวัดของเกจวดั ความดันนิยมใช้หนว่ ยใด ข. PSI ก. bar ง. bar และ PSI ค. bar หรอื PSI

66 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกสเ์ บื้องตน้ (2100-1009) แบบทดสอบหลังเรยี น หนา้ ที่ 2/2 หนว่ ยท่ี 2 8. อปุ กรณใ์ ดทาหน้าท่ปี ้องกนั การไหลย้อนกลบั ของลม ก. วาล์วนิรภยั ข. วาล์วกนั กลับ ค. กรองลม ง. เกจวดั ความดัน 9. การตดิ ต้งั ทอ่ ส่งจ่ายลม ควรตดิ ต้ังอยา่ งไร ข. ลาดเอยี ง 1 – 2 cm ของความยาวท่อ ก. ลาดเอยี ง 1 – 2 % ของความยาวท่อ ง. ลาดเอียง 10 – 20 cm ของความยาวท่อ ค. ลาดเอยี ง 10 – 20 % ของความยาวท่อ 10. สัญลกั ษณ์ชุดปรับคุณภาพลมอัดคือขอ้ ก. ข. ค. ง.